The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iampooriamrich, 2022-07-10 00:35:44

เครื่องหมายเตือนสารเคมี

71F218B4-C10F-45BD-AE95-7801187B47EF

เครื่องหมายเตือนสารเคมี
อันตราย และประเภทของสาร

อันตรา

เขียนวันที่หรือคำบรรยาย

สมาชิก ด.ช.ธนาธิป ศรีวรารักษ์
เลขที่20 ม.1|1

วัตถุระเบิด

หมายถึง ของแข็งหรือของเหลว หรือสารผสมท่ีสามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีด้วย
ตัวมันเอง ทาให้ เกิดก๊าซท่ีมีความดัน และความร้อนอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการ
ระเบิดสร้างความเสียหายแก่บริเวณโดยรอบได้ ซึ่งรวมถึงสารท่ีใช้ทาดอกไม้เพลิง
และสิ่งของท่ีระเบิดได้ด้วย
วัตถุระเบิด : ระเบิดได้เมื่อถูกกระแทก เสียดสี หรือความร้อน เช่น ทีเอ็นที ดินปืน
พลุไฟ ดอกไม้ไฟ

ก๊าซไวไฟ

ก๊าซท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสและมีความดัน 101.3 กิโลปาสกาล สามารถติดไฟ
ได้เม่ือผสมกับ อากาศ 13 เปอร์เซ็นต์ หรือต่ากว่าโดยปริมาตร หรือมีช่วงกว้างท่ี

สามารถติดไฟได้ 12 เปอร์เซ็นต์ ข้ึนไป เมื่อผสมกับอากาศโดยไม่คานึงถึง ความเข้ม
ข้นต่าสุดของการผสม โดย ปกติก๊าซไวไฟ หนักกว่าอากาศ ตัวอย่างของก๊าซกลุ่มน้ี

เช่น อะเซทิลีน ก๊าซหุงต้มหรือก๊าซแอลพีจี เป็นต้น

ก๊าซไวไฟและไม่เป็นพิษ

หมายถึง ก๊าซท่ีมีความดันไม่ น้อยกว่า 280 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 20 องศา

เซลเซียส หรืออยู่ ในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่า ส่วนใหญ่เป็น ก๊าซหนักกว่าอากาศ
ไม่ติดไฟและ ไม่เป็นพิษหรือแทนท่ีออกซิเจนในอากาศและทาให้เกิด สภาวะ

ขาดแคลน ออกซิเจนได้ ตัวอย่างของก๊าซกลุ่มนี้ เช่น ไนโตรเจน

คาร์บอนไดออกไซด์ อาร์กอน เป็นต้น

ก๊าซพิษ

ก๊าซท่ีมีคุณสมบัติเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือถึงแก่ชีวิตได้ จาก การหายใจ โดย
ส่วนใหญ่หนักกว่าอากาศ มีกลิ่นระคายเคือง ตัวอย่างของก๊าซในกลุ่มนี้ เช่น คลอรีน

เมทิล

ของเหลวไวไฟ

ของเหลวหรือของเหลวผสมท่ีมีจุดวาบไฟ (Flash Point) ไม่เกิน 60.5 องศา
เซลเซียส จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยปิด (Closed-cup Test) หรือไม่เกิน 65.6

องศาเซลเซียส จากการทดสอบ ด้วยวิธีถ้วยเปิด (Opened-cup Test) ไอ
ของเหลวไวไฟพร้อมลุกติดไฟเมื่อมีแหล่งประกายไฟ ตัวอย่างเช่น อะซี โตน น้ามัน

เชื้อเพลิง ทินเนอร์ เป็นต้น

ของแข็งไวไฟ

หมายถึง ของแข็งที่สามารถติดไฟได้ง่ายจากการได้รับความร้อน จากประกายไฟ/เปลว
ไฟ หรือเกิดการลุกไหม้ได้จากการเสียดสี ตัวอย่างเช่น กามะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไนโตร

เซลลูโลส เป็นต้น หรือเป็นสารที่มีแนวโน้มท่ีจะเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนที่รุนแรง
ตัวอย่างเช่น เกลือไดอะโซ เนียม เป็นต้น หรือเป็นสารระเบิดที่ถูกลดความไวต่อการเกิด

ระเบิด ตัวอย่างเช่น แอมโมเนียมพิเครต (เปียก) ได ไนโตรฟีนอล (เปียก) เป็นต้น

สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้ได้
เอง

หมายถงึ สารท่ีมีแนวโน้มจะเกิดความร้อนขึ้นได้เองในสภาวะการขนส่งตามปกติ
หรือเกิดความร้อนสูงข้ึนได้เม่ือ สัมผัสกับอากาศและ มีแนวโน้มจะลุกไหม้ได้

สารที่สัมผัสกับน้าแล้วทาให้เกิด
ก๊าซไวไฟ

หมายถึง สารท่ีทาปฏิกิริยากับน้าแล้ว มีแนวโน้มท่ีจะเกิดการติดไฟได้เองหรือทาให้

เกิด ก๊าซไวไฟในปริมาณที่เป็นอันตราย

สารออกซิไดส์

หมายถึง ของแข็ง ของเหลวท่ีตัวของสารเองไม่ติดไฟ แต่ให้
ออกซิเจนซึ่งช่วยให้วัตถุอื่นเกิดการลุกไหม้และอาจจะก่อให้เกิดไฟ เม่ือสัมผัสกับ
สารท่ีลุกไหม้และ เกิดการระเบิด อย่างรุนแรง ตัวอย่างเช่น แคลเซียมไฮโปคลอไรท์

โซเดียมเปอร์ออกไซด์ โซเดียมคลอเรต เป็นต้น

สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์

หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวท่ีมีโครงสร้าง ออกซิเจนสองอะตอม -O-O- และ
ช่วยในการเผาสารท่ีลุกไหม้ หรือทาปฏิกิริยากับสารอ่ืนแล้วก่อให้เกิดอันตราย ได้
หรือเม่ือได้รับความร้อนหรือลุกไหม้แล้วภาชนะบรรจุสารนี้อาจระเบิดได้ ตัวอย่างเช่น

อะซีโตนเปอร์ออกไซด

สารพิษ

หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวท่ีสามารถทาให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ
รุนแรงต่อสุขภาพของคน หากกลืน สูดดมหรือหายใจรับสารน้ีเข้าไป หรือเม่ือสารนี้

ได้รับความร้อนหรือลุกไหม้จะ ปล่อยก๊าซพิษ ตัวอย่างเช่น โซเดียมไซยาไนด์ กลุ่ม

สารกาจัดแมลงศัตรูพืชและสัตว์ เป็นต้น

สารติดเชื้อ

หมายถึง สารที่มีเชื้อโรคปนเปื้ อนหรือสารท่ีมีตัวอย่าง การ ตรวจสอบของพยาธิ
สภาพปนเป้ื อนท่ีเป็นสาเหตุของ การเกิดโรคในสัตว์และคน ตัวอย่างเช่น แบคทีเรีย

เพาะเช้ือ

วัตถกัมมันตรังสี

หมายถึง วัตถทุ ี่สามารถแผ่รังสีท่ีมองไม่เห็นอย่างต่อเน่ือง มากกว่า 0.002 ไมโคร
คูรีต่อกรัม ตัวอย่างเช่น โมนาไซด์ ยูเรเนียม โคบอลต์-60 เป็นต้น

สารกัดกร่อน

หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวซ่ึงโดย ปฏิกิริยาเคมีมีฤทธิ์กัด กร่อนทาความเสีย
หาย ต่อเนื้อเยื่อของส่ิงมีชีวิตอย่างรุนแรงหรือ ทาลายสินค้า/ยานพาหนะที่ทาการ
ขนส่ง เม่ือ เกิดการร่ัวไหลของสารไอระเหยของ สารประเภทน้ี บางชนิดก่อให้เกิด
การ ระคายเคืองต่อจมูกและตา ตัวอย่างเช่น กรดเกลือ กรดกามะถัน โซเดียมไฮดร

อกไซด์ เป็นต้น

วัตถุอันตรายเบ็ดเตล็ด

หมายถึง สารหรือ ส่ิงของท่ีในขณะขนส่งเป็นสารอันตรายซึ่งไม่จัดอยู่ในประเภทท่ี 1
ถึงประเภทที่ 8 ตัวอย่างเช่น ปุ๋ยแอมโมเนียม ไนเตรต เป็นต้น และให้รวมถึงสารท่ี

ต้อง ควบคุมให้มีอุณหภูมิไม่ต่ากว่า 100 องศาเซลเซียส ในสภาพของเหลว หรือมี

อุณหภูมิ ไม่ต่ากว่า 240 องศาเซลเซียสในสภาพของแข็งในระหว่างการขนส่ง


Click to View FlipBook Version