The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by janjanbigjj, 2018-08-15 23:13:12

เอกสารสรุปโครงการMOU

จากนโยบายของรัฐบาลมีก าหนดให้มีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย จังหวัดฉะเชิงเทรา

จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง มีการสนับสนุนส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมให้ลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมโดยเน้น
ฐานการลุงทุนอยู่ใน 3 จังหวัดดังกล่าว โดยยกระดับพื้นที่ดังกล่าวให้เป็นเขตเศรษฐกิจชั้นน าของเอเชีย มีการ

พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงอย่างมีประสิทธิภาพ อ านวยความสะดวกและสิทธิประโยชน์แก่นักลงทุน
สนับสนุนอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงและการท่องเที่ยว


จากนโยบายดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการ โดยส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เกิดความ

ตระหนัก และเห็นความส าคัญของการผลิต ส่งเสริม และพัฒนาก าลังคน เพื่อให้เป็นแรงงานที่สอดคล้องกับ 10
อุตสาหกรรม สร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการในการผลิตก าลังแรงงาน และเพิ่มขีดความสามารถ

ของบุคลากรทางการศึกษา จึงได้ก าหนดยุทธศาสตร์พัฒนาก าลังคนสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

โดยยุทธศาสตร์ดังกล่าว ก าหนดให้จัดตั้งศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษา เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออกขึ้น (EEC TVET Career Center) ศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนาก าลังคน

อาชีวศึกษา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จังหวัดระยอง (EEC TVET Career Center : RAYONG) ถูกจัดตั้ง
ขึ้นเพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์พัฒนาก าลังคนสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยศูนย์ EEC จังหวัด

ระยอง ประกอบด้วย 1 ศูนย์ประสานงานหลัก ตั้งอยู่ ณ วิทยาลัยเทคนิคระยอง และศูนย์ประสานงานย่อยอีก

3 แห่ง ประกอบด้วยวิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด และวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี

เป้าหมายการพัฒนา


ผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้มีคุณภาพตามาตรฐานสากล

รองรับความต้องการก าลังคนในอุตสาหกรรม 4.0 และภาคบริการ โดยด าเนินการภายใต้ความร่วมมือกับสถาน

ประกอบการ และหน่วยงานในพื้นที่ทุกภาคส่วน

แนวคิดในการพัฒนา


- วิเคราะห์สภาพปัญหาการผลิตก าลังคนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและประเด็นท้าทาย

- ประเมินความต้องการของสถานประกอบการ ในการผลิตและพัฒนาก าลังคนเชิงปริมาณและคุณภาพ
โดยเปรียบเทียบอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) ก าลังคน รายกลุ่ม/สาขาการลงทุน
- วางแผนการผลิตและพัฒนาก าลังคนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้ตอบสนองความต้องการของ

สถานประกอบการ การค้าและการลงทุนในพื้นที่ครอบคลุมสาขาด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
- ก าหนด Road Map การท างาน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โดยจัดล าดับความส าคัญ 1) ระยะสั้น

เร่งด่วน 2) ระยะปานกลาง 3) ระยะยาว
- จัดอาชีวศึกษาแบบมีส่วนร่วมกับสถานประกอบการในพื้นที่

- ผลักดันกลไกลด้านมาตรฐานอาชีพในแต่ละกลุ่ม/สาขาอาชีพเพื่อก ากับคุณภาพผู้ส าเร็จอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงการมีงานท าและค่าตอบแทน

จากแนวคิด และเป้าหมายดังกล่าว วิทยาลัยเทคนิคระยอง เล็งเห็นความส าคัญในการอาชีวศึกษา
ระบบทวิภาคี (หมายถึง การจัดการเรียนการสอนทางด้านอาชีวศึกษา เป็นความร่วมมือกันระหว่าง

สถานศึกษากับสถานประกอบการ โดยสถานศึกษาจะสอนในภาคทฤษฎีและสถานประกอบการจะสอน
ภาคปฏิบัติ) จึงเกิด พิธีลงนามความร่วมมือ เพื่อสงเสริมและสนับสนุน ความร่วมมือด้านวิชาการและการ
แลกเปลี่ยนความรู้ด้านเทคนิค ระหว่าง บริษัท ต้าถุง (ประเทศไทย) จ ากัด และวิทยาลัยระยอง
เพื่อจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ดังนี้
1. เพื่อสร้างแนวทางในการจัดการท าความร่วมมือกับสถานประกอบดังกล่าว เรื่อง การรับนักศึกษา

จากวิทยาลัยเทคนิคระยองเข้าฝึกอาชีพต่อสถานประกอบการ
2. เพื่อให้ผู้บริหารและครูวิทยาลัยเทคนิคระยองที่เดินทางไปศึกษาดูงานได้ประสบการณ์ใน
การศึกษาดูงานจากสถานประกอบการและน ามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน


ความเป็นมาของ บริษัท ต้าถุง ส านักงานใหญ่อยู่ที่เมืองไทเป ประเทศไต้หวัน ท าการผลิตสินค้าและให้
การบริการด้วยมาตรฐานระดับโลก กลุ่มสินค้าหลักได้แก่ ผลิตภัณฑ์ส าหรับครัวเรือน เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์

อิเล็กทรอนิกส์ และพลังงานต่างๆ บริษัทฯ ก่อตั้งและเริ่มด าเนินงานเมื่อ พ.ศ. 2461 บริษัท ต้าถุง ได้ขยาย
กิจการออกไปอย่างต่อเนื่อง และมีที่ตั้งอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดย บริษัท ต้าถุง (ประเทศไทย) จ ากัด ซึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของการขยายตัวดังกล่าว ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในจังหวัดชลบุรี เพื่อท าการผลิตโทรทัศน์สี
และจอภาพ บริษัทฯ ตั้งอยู่บนพื้นที่ขนาด 128,000 ตารางเมตร พร้อมด้วยโรงงานผลิตโทรทัศน์สีและจอภาพ

ส าหรับตลาดภายในประเทศและส่งออกไปยังต่างประเทศ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาก บริษัทฯ ได้ท าการขยาย
ประเภทสินค้าที่ท าการผลิตออกมาไปอย่างต่อเนื่อง จนในปัจจุบัน บริษัทฯ มิได้เพียงแค่ผลิตโทรทัศน์เท่านั้น
แต่ยังท าการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ PCBA อุปกรณ์สื่อสารและเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดพกพา คอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคลและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องและล่าสุดคือ ผลิตภัณฑ์ด้านยานยนต์


โดยโครงการท าความร่วมมือดังกล่าว เป็นส่วนหนึ่งที่จะตอบสนองความต้องการของการผลิตและ
พัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลรองรับความ

ต้องการก าลังคนในอุตสาหกรรม 4.0 และภาคบริการ โดยด าเนินการภายใต้ความร่วมมือของสถาน
ประกอบการ และหน่วยงานในพื้นที่ทุกภาคส่วน


Click to View FlipBook Version