วิชาเขียนแบบ
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
30102-2002
ครูผู้สอน
นายเฉลิมพล นามปัดถา
แผนกเทคนิคการผลิต
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
เขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจหลักการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบเครื่องมือกล
2. มีทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สร้างรูปชิ้นส่วนเครื่องมือกลสามมิติ
3. มีทักษะในการเขียนแบบและพิมพ์แบบสั่งงาน แบบภาพประกอบ และแบบขั้น
ตอนการประกอบชิ้นส่วนเครื่องมือกล
4. มีเจตคติและกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ มีความประณีต
รอบคอบ ปลอดภัยโดยตระหนักถึงคุณภาพงาน
เขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เขียนแบบ
2. ติดตั้งโปรแกรม ใช้โปรแกรมเขียนรูปชิ้นส่วนเครื่องมือกลสามมิติภาพถอด
ประกอบชิ้นส่วนสามมิติ (EXPLODE VIEW)
3. กำหนดขนาด (DIMENSION) พิกัดความเผื่อ พิกัดงานสวม สัญลักษณ์ผิว
งาน กำหนดสัญลักษณ์ GD&T ตารางรายการแบบ (LIST OF PART)
4. พิมพ์แบบสั่งงาน
เขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เขียนแบบ
การติดตั้งโปรแกรมการใช้โปรแกรมเขียนรูปชิ้นส่วนเครื่องมือกลสามมิติแสดง
ขั้นตอนการประกอบชิ้นส่วน แบบสั่งงาน ภาพฉายมุมที่ 1ภาพฉายมุมที่ 3 ภาพ
ตัดเต็ม ภาพตัดครึ่ง ภาพตัดเลื่อนแนว (OFFSET SECTION) ภาพตัดเฉพาะ
ส่วน (BROKEN OUT SECTION) ภาพตัดหมุน (REVOLVE SECTION) ภาพตัด
ย่อส่วนความยาว ภาพช่วย (AUXILIARY VIEW) ภาพขยายเฉพาะส่วน
(DETAIL VIEW) การกำหนดขนาด (DIMENSION) พิกัดความเผื่อ พิกัดงาน
สวม สัญลักษณ์ผิวงานกำหนดสัญลักษณ์ GD&T ตารางรายการแบบ (LIST
OF PART) ภาพ ประกอบสามมิติ ภาพถอดประกอบชิ้นส่วนสามมิติ (EXPLODE
VIEW) พิมพ์แบบสั่งงาน ปฏิบัติงานอย่างมีระเบียบแบบแผน
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 1
1.คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและเขียนแบบ
1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและเขียนแบบ
1.2 จุดมุ่งหมายของการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบและ
เขียนแบบ
1.3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและเขียนแบบ
1.4 ชนิดของการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและเขียนแบบ
1.5 ประโยชน์ของการนำคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและเขียนแบบ
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 2
2.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ AutoCAD 2002
2.1ชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์ประกอบในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
2.2ชื่อส่วนประกอบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
2.3ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
2.4คุณสมบัติของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่จำเป็นสำหรับโปรแกรม
Auto CAD 2002
2.5 ความต้องการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
2.6 วิธีการติดตั้งโปรแกรม AutoCAD
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 2 (ต่อ)
2.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ AutoCAD 2002
2.7 การปรับสภาพแวดล้อมใน Windows
2.8 การเรียกใช้โปรแกรม AutoCAD
2.9 วิธีการปรับสภาพแวดล้อมใน AutoCAD
2.10 ส่วนประกอบบนหน้าจอของโปรแกรม AutoCAD
2.11 ลักษณะการใช้งานของปุ่ม Function Key ต่างๆ
2.12 ลักษณะการใช้งานของเมาส์(Mouse)ในโปแกรม AutoCAD
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 3
3.การจัดการเกี่ยวกับไฟล์
3.1 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง New
3.2 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Open
3.3 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Save
3.4 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Save As
3.5 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Exit
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 4
4.คำสั่งทั่วไปเกี่ยวกับ AutoCAD 2002
4.1 ระบบคอร์ออร์ดิเนท
4.2 การกำหนดขอบเขตในการเขียนภาพ
4.3 การตั้งค่าระยะห่างของจุดกริด (Grid)และสแน๊ป(Snap)
4.4 การเรียกใช้คำสั่ง Command
4.5 การแก้ไขข้อผิดพลาดในขณะใช้คำสั่ง
4.6 การเลือกวัตถุ
4.7 การเลือกใช้ออฟเจกท์สแน๊ป(Object snap) และออโต้สแน๊ป
(Auto snap)
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 5-7
5.การเขียนภาพ 2 มิติ
5.1 ความหมายและเรียกของคำสั่ง line
5.2 ความหมายและเรียกของคำสั่ง circle
5.3 ความหมายและเรียกของคำสั่ง Arc
5.4 ความหมายและเรียกของคำสั่ง Rectangle
5.5 ความหมายและเรียกของคำสั่ง Polygon
5.6 ความหมายและเรียกของคำสั่ง Ellipse 5.7 ความหมายและเรียก
ของคำสั่ง Polyline
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 5-7 (ต่อ)
5.การเขียนภาพ 2 มิติ
5.8 ความหมายและเรียกของคำสั่ง Point
5.9 ความหมายและเรียกของคำสั่งBhatch
5.10 การเลือกใช้คำสั่งในการเขียนวัตถุกับงานเขียนแบบ
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 8
6.คำสั่งควบคุมการแสดงผล
6.1 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Zoom
6.2 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Pan
6.3 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Vprots
6.4 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Viewres
6.5 การเลือกใช้คำสั่งในการแสดงภาพกับงานเขียนแบบ
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 9-11
7.คำสั่งสำหรับการแก้ไขปรับปรุงวัตถุ
7.1 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Erase
7.2 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Rotate
7.3 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Move
7.4 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Scale
7.5 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Stretch
7.6 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Chamfer
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 9-11 (ต่อ)
7.คำสั่งสำหรับการแก้ไขปรับปรุงวัตถุ
7.7 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Fillet
7.8 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Trim
7.9 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Break
7.10 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Extend
7.11 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Copy
7.12 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Offset
7.13 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Mirror
7.14 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Array
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 12
8.การควบคุมคุณสมบัติของวัตถุ
8.1 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Linetype
8.2 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง DDP Type
8.3 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Layer
8.4 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Object Properties Toolbar
8.5 การเปลี่ยนคุณสมบัติของเส้นแบบงาน (DDCHIPROP)
8.6 การประยุกต์ใช้ชุดคำสั่งควบคุมคุณสมบัติของวัตถุสำหรับงาน
เขียนแบบ
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 13
9.การเขียนตัวอักษร
9.1 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
9.2 เขียนตัวอักษรด้วยคำสั่ง Multiline Text
9.3 เขียนตัวอักษรด้วยคำสั่ง Dtext
9.4 เขียนตัวอักษรด้วยคำสั่ง Text
9.5 การแก้ไขตัวอักษรด้วยคำสั่ง Ddedit
9.6 แก้ไขตัวอักษรด้วยคำสั่ง Properties
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 14
10.การกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ
10.1 องค์ประกอบของการกำหนดขนาด
10.2 การใช้คำสั่งในการกำหนดขนาด
10.3 การกำหนดรูปแบบของการกำหนดขนาด(DDIM)
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 15-16
11.การเขียนภาพ ISO (ภาพฉายไอโซเมติก)
11.1 การใช้คำสั่ง Views ในการเขียนแบบภาพ ISO
11.2 การเลือกใช้คำสั่ง Views ในการเขียนแบบภาพ ISO
11.3 การใช้คำสั่ง UCS ในการเขียนแบบภาพ ISO
11.4 การเลือกใช้คำสั่ง UCS ในการเขียนแบบภาพ ISO
11.5 การเลือกใช้คำสั่งต่าง ๆ เขียนแบบภาพ ISO
11.6 การเลือกใช้คำสั่งต่าง ๆ เขียนแบบภาพประกอบ
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 17-18
12.การสร้างเขียนแบบ 3D
12.1 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Box
12.2 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Cylinder
12.3 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Cone
12.4 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Wedge
12.5 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Torus
12.6 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Extrude
12.7 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Revolve
12.8 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Union
หัวข้อเนื้อหา
การเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 17-18 (ต่อ)
12.การสร้างเขียนแบบ 3D
12.9 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Subtract
12.20 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Intresect
12.22 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง 3D Array
12.23 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Mirror 3D
12.24 ความหมายและเรียกใช้คำสั่ง Rotate 3D
12.23 การประยุกต์ใช้คำสั่งในการสร้างเขียนแบบ 3D
เขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิธีการจัดการเรียนการสอน
เป็นการสอนแบบบรรยายพร้อมสาธิต
โดยเน้นทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ คุณธรรม
และจริยธรรม
กิจกรรมการเรียนรู้
1.ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 2.ขั้นการสอน
3.ขั้นการปฏิบัติ 4.ขั้นการสรุปและประเมินผล
เขียนแบบด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
สื่อการสอนที่ใช้
สื่อสิ่งพิมพ์
- เอกสารประกอบการเรียน
- ใบงาน
สื่อ-โสpตoทwัศeน์rpoint
สื่อของจริง
- เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อม
โปรแกรมเขียนแบบ
เขียนแบบด้วยโปรแกรม 1.วิธีวัดผล
คอมพิวเตอร์ 1.1 ถามตอบในระหว่างเรียน
1.2 ตรวจงานตามใบงาน
การวัดผลการเรียน 1.3 ตรวจแบบทดสอบ
1.4 สังเกตพฤติกรรม
2. เครื่องมือวัดผล
2.1 ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน
2.2 แบบทดสอบ
2.3 แบบประเมินคุณธรรม
จริยธรรม
เขียนแบบด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
การวัดผลการเรียน (ต่อ)
3. เกณฑ์การประเมินผล
เขียนแบบด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
เอกสารประกอบการเรียน
- หนังสือเรียน
- แบบทดสอบ
- ใบงาน