การใชค้ อมพวิ เตอร์และระบบสารสนเทศเพือ่ งานอาชพี
สาระสาคัญ
คอมพิวเตอรเ์ ป็นอุปกรณท์ างอเิ ล็กทรอนกิ สท์ ่มี นษุ ย์ใชเ้ ปน็
เครือ่ งมือชว่ ยในการจดั การ กับข้อมลู ส่วนระบบคอมพิวเตอร์หมายถงึ
องคป์ ระกอบทจ่ี ะทาให้คอมพิวเตอร์สามารถทางาน ได้อย่างสมบรู ณ์
ประกอบด้วยฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมลู และบุคลากร ระบบ
สารสนเทศเป็นระบบทีป่ ระกอบด้วยส่วนตา่ งๆ ได้แก่ ระบบคอมพวิ เตอร์
ท้ังฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ ระบบเครอื ข่าย ฐานขอ้ มลู ผพู้ ฒั นาระบบ ผใู้ ช้
ระบบ พนักงานท่เี กี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทกุ องค์ประกอบนี้
ทางานรว่ มกนั เพื่อสร้างสารสนเทศและสง่ ผลลพั ธห์ รือสารสนเทศทไ่ี ดใ้ ห้
ผู้ใชป้ ัจจุบนั คอมพวิ เตอร์ไดม้ ขี นาดเลก็ และราคาถกู ลง คนทว่ั ไปสามารถ
หามาใช้งานได้ ในหน่วยงานทงั้ ภาครฐั บาลและเอกชนไดม้ กี ารนา
คอมพิวเตอรม์ าใชใ้ นหนว่ ยงานมากข้ึนและ
มแี นวโนม้ การใช้งานทส่ี งู ขึน้ หลากหลายลกั ษณะ
สาระการเรียนรู้
1.ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์
2.ความรูเ้ รม่ิ ตน้ เกี่ยวกบั ระรบสารสนเทศ
3. การใช้คอมพวิ เตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชพี
สมรรถนะประจาหนว่ ย
1. แสดงความรู้เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ หลักการทางาน และองคป์ ระกอบของ
คอมพิวเตอร์
2. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การใช้คอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศเพื่องาน
อาชพี
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1.บอกความหมายของคอมพวิ เตอรไ์ ด้
2.อธิบายหลักการของคอมพวิ เตอร์ได้
3.บอกองคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์ได้
4.บอกความหมายของสารสนเทศได้
5.บอกความหมายของเทคโนโลยีของสารสนเทศได้
6.บอกถึงลักษณะของคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นงานอาชีพได้
ผังสาระการเรยี นรู้
ความรู้เบอ้ื งต้นเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์
การใช้คอมพิวเตอร์ ความรเู้ บ้ืองต้นเกีย่ วกบั ระบบสารสนเทศ
และระบบสารสนเทศ
เพอื่ งานอาชพี
การใชค้ อมพวิ เตอร์เกยี่ วกบั ระบบสารสนเทศเพ่อื งานอาชพี
1 ความรเู้ บื้องตน้ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์
1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพวิ เตอร์ หมายถึง อุปกรณท์ างอิเลก็ ทรอนิกส์ทม่ี นษุ ยใ์ ช้
เปน็ เครอ่ื งมอื ช่วยในการจัดการ กับขอ้ มลู ทีอ่ าจเป็นได้ทง้ั ตัวเลข
ตวั อักษร หรอื สญั ลักษณ์ท่ีใช้แทนความหมายในสง่ิ ตา่ งๆ
คอมพิวเตอร์ สามารถกาหนดชดุ คาสั่งหรอื โปรแกรมลว่ งหน้าได้
ทาใหส้ ามารถทางานได้หลากหลายรปู แบบ และสามารถ นา
คอมพิวเตอรไ์ ปประยกุ ต์ใช้งานไดอ้ ย่างกว้างขวางทัง้ ดา้ น
การแพทย์ การศกึ ษา อุตสาหกรรม การคา้ และความบันเทิง
คอมพิวเตอรจ์ าแนกตามความสามารถในการเกบ็ ขอ้ มลู และ
ความเร็วในการประมวลผล ไดแ้ ก่
ซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Super Computer)
เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe Computer)
มินิคอมพวิ เตอร์ (Mini Computer) และไมโครคอมพวิ เตอร์
(Micro Computer) ซ่งึ จะมีความสามารถ ในการประมวลผล
และการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ที่ลดหลน่ั กนั ลงมา โดยเฉพาะเครอื่ ง
ไมโครคอมพิวเตอรท์ ่สี ามารถ พบเห็นและใช้งานทว่ั ไปมีทัง้ แบบ
ติดตั้งใชง้ านอยู่กับท่ีบนโต๊ะทางาน (Desktop Computer) และ
แบบเคลื่อนย้าย (Portable Computer) ท่ีสามารถพกพาติดตัว
ได้ โดยอาศัยพลังงานไฟฟา้ จากแบตเตอร่ี
1.)คอมพิวเตอร์ตง้ั โต๊ะ (Desktop Computer)
เป็นคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคลทไ่ี ดร้ บั การออกแบบมาเพอื่ ใชต้ ามบา้ นหรอื
สานักงานท่วั ไป โดยท่ัวไปจะมีขนาดใหญ่กวา่ และมีประสทิ ธภิ าพมากกวา่
คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลชนิดอ่ืนๆ คอมพวิ เตอร์ตัง้ โตะ๊ ประกอบด้วยชิน้ สว่ นที่
แยกออกจากกันเชน่ จอภาพ เมาส์และคียบ์ อร์ด ซงึ่ จะเชือ่ มตอ่ กับตวั เครือ่ ง
สนเทศ
2) คอมพิวเตอร์แลป็ ท็อป(Laptop Computer)
เปน็ คอมพวิ เตอร์ สว่ นบคุ คลแบบเคลอ่ื นที่ได้ มนี ้าหนกั เบา และมี
หนา้ จอทบ่ี าง หรอื มกั จะเรยี กกันว่า คอมพวิ เตอรโ์ น้ตบุ๊ก (Notebook
Computer) เพราะมีขนาดเลก็ แล็ปท็อป ทางานได้โดยใช้แบตเตอรี่หรอื ไฟ
บ้าน จงึ สามารถทางานไดท้ ุกที่ โครงสรา้ งของ คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปจะเปน็
การรวม สว่ นประกอบต่างๆ ไว้ด้วยกัน และใช้ หนา้ จอในลักษณะเปน็ บานพับ
3) แทบ็ เลต็ (Tablet)
เป็นคอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คลทมี่ ขี นาดเล็กกวา่ คอมพวิ เตอร์โน้ตบุ๊ก พกพา
งา่ ย นา้ หนักเบา ไม่มีฝาพบั ไมม่ คี ีย์บอรด์ ส่ังงานดว้ ย การสัมผสั หนา้ จอและ
คยี บ์ อร์ดเสมอื น ปรบั หมนุ จอได้อตั โนมัติ แบตเตอรใี่ ชง้ าน ได้นานกวา่
คอมพวิ เตอร์พกพาท่ัวไป ระบบปฏิบตั กิ ารมีทง้ั ทเี่ ปน็ Android, iOS และ
Windows
1.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เปน็ เครอ่ื งอเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบอัตโนมตั ิ ทาหน้าทเี่ สมือน
สมองกล ใชส้ าหรบั แก้ปัญหาต่างๆ ทง้ั ทง่ี ่ายและซบั ซอ้ นดว้ ยวิธีทางคณติ ศาสตร์
ประกอบไปดว้ ยอปุ กรณ์ทท่ี างานตามหนา้ ท่ี 4 ส่วน คือ
1) ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) จะทาการรับข้อมลู จากหน่วยรบั ขอ้ มลู
หรอื อุปกรณอ์ นิ พุต เชน่ โดยข้อมลู ภายใน คีย์บอรด์ หรอื เมาส์
2) สว่ นประมวลผลกลางหรือซพี ียู (Central Processing Unit:
CPU) เป็นส่วนที่ทาหน้าท่ปี ฏิบตั ิ มา มาจากข้อมูล และควบคมุ การปฏิบตั งิ าน
ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์
3) ส่วนแสดงผล (Output Unit) จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผล
ออกมายัง หนว่ ยแสดงผลลัพธ์หรอื อุปกรณ์เอาต์พตุ เช่น เครื่องพมิ พ์หรือจอภาพ
4) หน่วยความจา (Memory Unit) เป็นหนว่ ยเกบ็ สถานะข้อมูลเพอ่ื ใช้
ในการประมวลผล ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แบง่ เป็นหนว่ ยความจาถาวร เช่น
หน่วยความจารอม (ROM) และหนว่ ยความจา ชว่ั คราว เช่น หนว่ ยความจาแรม
(RAM) คอมพิวเตอร์จะรับข้อมลู ผา่ นอปุ กรณ์อนิ พุตทีใ่ ชส้ าหรับในการสง่ั งาน
คอมพวิ เตอร์ สง่ ให้
หนว่ ยประมวลผลกลางทาการประมวลผลโดยเปรียบเทียบกบั ข้อมลู ทีอ่ ยใู่ น
หนว่ ยความจา
4) หนว่ ยความจา (Memory Unit)
เป็นหน่วยเก็บสถานะข้อมูลเพื่อใชใ้ นการประมวลผล ของเคร่ือง
คอมพวิ เตอร์ แบง่ เป็นหนว่ ยความจาถาวร เชน่ หน่วยความจารอม (ROM)
และหนว่ ยความจา ชวั่ คราว เช่น หนว่ ยความจาแรม (RAM) คอมพิวเตอร์จะ
รบั ข้อมลู ผา่ นอปุ กรณ์อนิ พตุ ท่ใี ชส้ าหรบั ในการสั่งงานคอมพวิ เตอร์ สง่ ให้
หน่วยประมวลผลกลางทาการประมวลผลโดยเปรยี บเทยี บกับขอ้ มลู ทอ่ี ย่ใู น
หนว่ ยความจา
หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Processing Unit) เปน็ ส่วนท่ใี ช้
คานวณ และควบคมุ การทางานตา่ งๆ ของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย หน่วย
คานวณทางคณิตศาสตร์ หรือเรียกวา่ ALU (Arithmetic and Logical Unit)
เปน็ การทางานโดยเลขฐาน 2 เปรยี บเสมอื นหวั ใจของคอมพิวเตอร์ และหนว่ ย
ควบคุมการทางาน หรอื CU (Control Unit) เปน็ ส่วนทใ่ี ชเ้ ชอ่ื มต่อแต่ละสว่ น
เข้าดว้ ยกัน มีหน้าทอ่ี า่ นขอ้ มลู คาสงั่ ทอ่ี ยภู่ ายในหน่วยความจาหรอื ทีไ่ ด้จาก
อปุ กรณ์ทุก การแปลความหมาย สมองกล ใชส้ าหรบั และสง่ ไปประมวลผลใน
ALU จากนั้นนาผลทีไ่ ดไ้ ปจัดเกบ็ ในหนว่ ยความจาหรืออุปกรณ์เอาตพ์ ุต มีที่
ทางานตามหน้าที่ และมัดท่คี วบคมุ ลาดบั การทางานของแตล่ ะขน้ั ตอนใหอ้ ยู่ใน
เวลาทเี่ หมาะสมดว้ ยหนว่ ยความจา หรอื Memory Unit ใชส้ าหรบั เก็บข้อมูล
(Data) และคาส่งั (Instructions) โดยภายในหน่วยความส่วนมอี ยู่ tree เพอ่ื
ถกู จดั ไว้
หนว่ ย หรือ Input Unit เปน็ สว่ นท่ีรบั ข้อมูลจากอุปกรณอ์ นิ พตุ ต่างๆ มาแปลง
ใหเ้ ปน็
สัญญาณ เหมาะสน แบง่ ให้หนว่ ยประมวลผล หน่วยเอาตพ์ ุต หรือ Output
Unit เปน็ ส่วนทีน่ าผลลพั ธท์ ไ่ี ด้จากการประมวลผลออกไปให้
1.3 องคป์ ระกอบระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง องคป์ ระกอบท่จี ะทาให้ คอมพิวเตอร์
สามารถทางานได้ ทเ่ี ขียนขึน้ มาเพอ่ื อย่างสมบูรณ์ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ
1.3.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมายถงึ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเปน็ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ทางคอมพิวเตอร์
มีลกั ษณะเปน็ โครงร่างสามารถมองเหน็ ด้วยตาและสัมผสั ได้ เชน่ จอภาพ คยี ์บอร์ด
เครื่องพมิ พ์ เมาส์112 ซอฟตแ์ วร์ (some) หลง จดุ ต้งั หรือโปรแกรมทีใ่ ช้ควบคุม
เครื่องคอมพวิ เตอร์
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื
1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถงึ ชดุ คาสงั่ หรือโปรแกรมท่ี
ควบคุม การทางานของคอมพวิ เตอร์ เป็นสื่อกลางระหวา่ งโปรแกรมประยกุ ตก์ ับ
เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เพ่ือชว่ ย ในการจัดการทรพั ยากรของคอมพวิ เตอร์ ประกอบด้วย
โปรแกรมท่ีแบง่ ตามหน้าที่การทางานดงั นี้ (1) OS (Operating System) คือ
โปรแกรมระบบทท่ี าหน้าท่ีควบคุมการใชง้ าน ส่วนต่าง ๆ ของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์
2) Translation Program คอื โปรแกรมทีท่ าหน้าท่ีในการแปลโปรแกรม หรอื
ค่าทีเ่ มษาทีไ่ ม่ใชภ่ าษาเคร่ือง ภาษาระดบั สูงต่างๆ ให้เป็นภาษาเคร่ืองสามารถเข้าใจ
3) Utility Program คือ โปรแกรมระบบท่ีทาหนา้ ทใ่ี นการอานวยความสะดวก
4) Diagnostic Program คอื โปรแกรมระบบทท่ี าหน้าที่ตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดใน
การทางานของอุปกรณ์ต่าง ของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์
2) ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ (Application Software)
หมายถงึ ชุดคาส่งั หรอื โปรแกรม ท่ีเขยี นขนึ้ มา เพ่ือให้เครือ่ ง
คอมพวิ เตอรท์ างานตามที่ผู้ใช้ตอ้ งการ ซึง่ แบ่งได้ดงั น้ี
(1) User Program คือ โปรแกรมทผี่ ใู้ ชเ้ ขยี นมาใชเ้ อง โดยใช้ภาษา
ระดบั สงู ทางคอมพิวเตอร์ เชน่ ภาษา C, COBOL, Java หรือ
FORTRAN เพ่ือให้ได้โปรแกรมทีส่ ามารถทางานได้ ตามทีต่ อ้ งการ เช่น
โปรแกรมระบบบญั ชี โปรแกรมควบคมุ สตอ็ กสินคา้ โปรแกรมแฟ้ม
ทะเบยี นประวัติ โปรแกรมคานวณภาษี โปรแกรมเงินเดือน
(2) Package Promo คอื โปรแกรมเขยี นขน้ึ มา บรษิ ทั ต่างๆ
เสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ พร้อมท่ีจะนาไปใชง้ านไดท้ นั ที ตวั อยา่ งเช่น
โปรแกรมทางดา้ นการประมวลผลคา สามารถจดั ทาเอกสาร
รายงาน จดหมาย หนงั สือตา่ งๆ โปรแกรมทางด้านตารางงานเปน็
โปรแกรมทใ่ี ช้ ในการคานวณ ณ มลี กั ษณะเปน็ ตาราง โปรแกรม
ทางดา้ นฐานข้อมูลเป็นโปรแกรม ท่างานทางานการจัดการ
ฐานขอ้ มูลช่วยทยอยแกข้ อ้ มลู แกไ้ ข ค้นหา เพ่มิ เตมิ รวมทั้งการ
จัดเรียงขอ้ มูล โปรแกรม หางานการจดั การรูปภาพ โปรแกรมเกม
และโปรแกรมทางการ
1.3.3 บุคลากร (People Ware)
หมายถงึ บคุ คลที่เกีย่ วข้องคอมพวิ เตอร์ดา้ นต่างๆ ทมี่ ี ความรู้
เกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ สามารถใช้งาน สง่ั งานเพ่ือใหค้ อมพิวเตอร์
ทางานตามท่ตี อ้ งการ แบง่ ออกได้ 4 ระดับ ดังน้ี
1) ผูจ้ ดั การระบบ (System Manager) เป็นผู้วางนโยบายการใช้
คอมพิวเตอรใ์ ห้เป็นไปตามเปา้ หมายของหน่วยงาน
2) นกั วิเคราะหร์ ะบบ (System Analyst) เป็นผู้ทศ่ี ึกษาระบบงาน
เดมิ หรอื งานใหม่และ ทาการวเิ คราะหค์ วามเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้
คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพ่อื ให้โปรแกรมเมอร์ เปน็ ผู้ที่เขียนโปรแกรมใหก้ ับ
ระบบงาน
3) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็นผู้เขียนโปรแกรมสั่งงาน
เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผูใ้ ช้ โดยเขียนตาม
แผนผังที่นกั วเิ คราะหร์ ะบบไดเ้ ขยี นไว้
4) ผใู้ ช้ (User) เป็นผู้ใชง้ านคอมพิวเตอรท์ ั่วไป ซึง่ ตอ้ งเรียนร้วู ิธกี ารใช้
เคร่อื งและวิธกี าร ใช้งานโปรแกรม เพอ่ื ให้โปรแกรมท่มี อี ยูส่ ามารถทางานได้
ตามที่ตอ้ งการ
2 ความร้เู บ้อื งตน้ เก่ยี วกบั ระบบสารสนเทศ
สารสนเทศ หมายถงึ ข้อมลู ทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ การดาเนนิ
ชีวิตของมนษุ ย์ หรอื อาจกล่าวได้วา่ สารสนเทศเกดิ จากการนาขอ้ มูลมา
ผา่ นการประมวลผลคานวณ วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมาย เป็นข้อมลู ท่ี
สามารถไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้
ขอ้ มลู หมายถงึ ขอ้ เท็จจรงิ หรอื เรื่องราวท่ีเกีย่ วข้องกบั ส่งิ ตา่ งๆ เช่น คน
สัตว์ สิ่งของสถานท่ี ทีอ่ ย่ใู นรูปแบบท่ีเหมาะสมต่อการส่อื สาร การแปล
ความหมาย และการประมวลผล ซ่งึ ขอ้ มลู อาจจะ ไดม้ าจากการสังเกต
การรวบรวม หรือการวดั ขอ้ มูลเปน็ ได้ท้งั ข้อมลู ตวั เลขหรือสญั ลักษณ์
การประมวลผลข้อมูลให้เปน็ สารสนเทศ ประกอบด้วย การจัดแบ่งกลมุ่
ขอ้ มูล การจัดเรยี ง ขอ้ มูลตามลาดับตวั เลขหรือตวั อกั ษร การสรุปผลหรือ
สร้างรายงานย่อ และการคานวณขอ้ มูลท่ีเป็น ขอ้ มลู ตวั เลขท่สี ามารถ
นาไปคานวณเพือ่ หาผลลพั ธบ์ างอยา่ งได้
นอกจากน้นั การดแู ลรกั ษาสารสนเทศเพอ่ื การใชง้ านจะตอ้ ง
ประกอบด้วยการเก็บรกั ษาข้อมูล โดยบนั ทึกไว้ในส่ือบนั ทกึ
ตา่ งๆ การค้นหาขอ้ มูลท่ีจดั เก็บไว้ การทาสาเนาขอ้ มูลเพอ่ื เกบ็
รักษาไว้หรือนาไป แจกจ่ายในภายหลัง และการสอ่ื สารขอ้ มลู
เพื่อกระจายหรือสง่ ตอ่ ไปยังผใู้ ชง้ าน
2.2 ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ระบบที่
ประกอบด้วยส่วนตา่ งๆ ได้แก่ ระบบคอมพวิ เตอร์ทงั้ ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ ระบบเครือข่าย ฐานขอ้ มูล ผพู้ ฒั นาระบบ ผู้ใชร้ ะบบ
พนักงาน ท่เี ก่ยี วข้อง และผู้เชีย่ วชาญในสาขา ทกุ องคป์ ระกอบน้ี
ทางานร่วมกนั เพือ่ สร้างสารสนเทศ และส่งผลลพั ธ์ หรือสารสนเทศท่ี
ได้ใหผ้ ูใ้ ชเ้ พ่อื ชว่ ยสนับสนนุ การทางานการตัดสนิ ใจ การวางแผนการ
บริหารการควบคุม การวเิ คราะห์และติดตามผลการดาเนินงานของ
องค์กร ซ่ึงมกี ารแบ่งระดบั ของผู้ใชร้ ะบบสารสนเทศ ตามลักษณะ
การบรหิ ารจัดการได้ 3 ระดับ ดงั นี้
1.) ระดบั สูง (Top Level Management) กลมุ่ ของผู้ใชร้ ะดบั น้ี
จะเก่ียวขอ้ งกบั ผบู้ รหิ าร ระดบั สงู มหี น้าท่กี าหนดและวางแผนกลยทุ ธ์
ขององคก์ ร เพอ่ื นาไปสู่เปา้ หมาย โดยมีทง้ั สารสนเทศภายใน และ
สารสนเทศภายนอก เพ่ือวิเคราะหแ์ นวโนม้ สถานการณ์โดยรวม
2.) ระดบั กลาง (Middle Level Management) เกี่ยวขอ้ งกับ
กลุม่ ผูใ้ ชง้ านระดบั การบริหาร และจัดการองค์กร ซ่ึงมีหน้าทรี่ บั
นโยบายมาจากผบู้ รหิ ารระดบั สงู นามาสานต่อให้บรรลุตามเปา้ หมาย
ทกี่ าหนดไว้ ดว้ ยการใช้หลักบรหิ ารและจัดการอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
ระบบสารสนเทศทใ่ี ชจ้ ึงมกั ได้มาจาก แหลง่ ข้อมลู ภายใน
3.) ระดบั ปฏิบัตกิ าร (Operation Level Management)
ผู้ใช้กลุม่ น้จี ะเก่ียวขอ้ งกบั การผลติ หรือการปฏิบตั งิ านหลกั ขององคก์ ร
2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มาจากการ
ผสมคาระหว่างคาว่าเทคโนโลยี (Technology) ทห่ี มายถึงการนาเอา
แนวความคดิ หลกั การ เทคนิค ความรู้ ระเบยี บวิธี กระบวนการ
ตลอดจนผลผลติ ทางวทิ ยาศาสตรท์ งั้ ในดา้ นส่ิงประดษิ ฐ์และวิธีปฏบิ ตั ิ
มาประยุกต์ใช้ในระบบงาน เพอ่ื ชว่ ยให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงในการ
ทางานใหด้ ยี ิง่ ขนึ้ เปน็ การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลของงาน
ให้มมี ากยิง่ ขึน้ กบั คาวา่ สารสนเทศ (Information) เพราะฉะนั้น
เทคโนโลยสี ารสนเทศจงึ หมายถงึ เทคโนโลยี ทีใ่ ช้จัดการสารสนเทศ
ด้วยการใชเ้ ทคโนโลยีท่เี กย่ี วข้องจดั หา วเิ คราะห์ ประมวล จัดการและ
จัดเก็บ การพมิ พ์ การสร้างรายงานการเรียกใชห้ รอื แลกเปลยี่ น และ
เผยแพรส่ ่ือสารข้อมลู ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ ไมว่ ่าจะอยู่ในรูปแบบ
ของรปู เสยี ง ตัวอกั ษร หรอื ภาพเคลอ่ื นไหว รวมไปถงึ การนา
สารสนเทศและข้อมูล ไปปฏิบัติตามเนือ้ หาของสารสนเทศนนั้ เพอ่ื ให้
บรรลเุ ปา้ หมายของผใู้ ช้
ภาพที 1.9 ความแตกต่างของระบบสารสนเทศท่ีใช้เทคโนโลยีกบั แบบไม่ใช้
เทคโนโลยเี ทคโนโลยีสารสนเทศจงึ เป็นเครอ่ื งมอื ท่ีทาให้สามารถพัฒนา
ขอ้ มูลต่างๆ ในระบบสารสนเทศ ใหอ้ ย่ใู นรปู ของสารสนเทศท่ีสามารถ
นาไปใชง้ านได้ทนั ที สว่ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เกดิ จากการ
ทางานสว่ นหน่งึ ของเทคโนโลยีสารสนเทศทมี่ กี ารใช้เทคโนโลยีการสอื่ สาร
เพ่ือใหไ้ ด้ข้อมูล สารสนเทศทส่ี มบรู ณ์ ถกู ตอ้ ง รวดเรว็ ตามความต้องการ
ของผใู้ ชง้ าน
3 การใช้คอมพวิ เตอร์และระบบสารสนเทศเพอ่ื งานอาชีพ
ในการปฏบิ ัติงานอาชีพสว่ นมากจะนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในงานน้ันๆ เพ่อื
การเก็บบันทกึ วิเคราะหป์ ระมวลข้อมลู คน้ หาขอ้ มลู หรือใชเ้ พ่อื การสอ่ื สาร
ขอ้ มลู ซ่งึ มีรปู แบบการใช้งานที่หลากหลาย จงึ สรุป ตวั อยา่ งการใช้
คอมพวิ เตอรแ์ ละระบบสารสนเทศได้ดังนี้
1) การใชค้ อมพวิ เตอร์เพ่ืองานสานักงาน โดยท่ัวไปการนาคอมพวิ เตอรม์ า
ใชง้ านจะเก่ียวข้องกบั งานสานักงานเปน็ ส่วนใหญ่ ซง่ึ จะเก่ยี วขอ้ งกับการนาขอ้ มลู เขา้
การประมวลผลขอ้ มลู การเก็บบนั ทึกข้อมลู และการส่งออกผลลัพธ์ของขอ้ มลู
2) การใชค้ อมพวิ เตอร์เรยี กดูข้อมลู ผ่านบรกิ ารเว็บไซต์บนเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ การเรียกดูข้อมูล บนเวบ็ ไซตท์ เ่ี ป็นเครือข่ายแหลง่ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ท่ี
เชอื่ มโยงกนั ทัว่ โลก เป็นบริการหนง่ึ บนอินเทอรเ์ นต็ ใช้งานไดด้ ้วยโปรแกรม Web
Browser เป็นแหล่งข้อมลู ท่ีมีผใู้ ชง้ านมาก เนอื่ งจากเน้อื หาขอ้ มูลเปน็ ลักษณะ สอ่ื ผสม
ทัง้ ขอ้ ความ ภาพนง่ิ และภาพเคล่อื นไหว อกี ท้ังปจั จบุ ันเวบ็ ไซต์มจี านวนมากมาย
มหาศาล มีเวบ็ ไซต์ทุกเน้อื หาสาระ ทุกความสนใจ และสว่ นใหญ่สามารถมปี ฏสิ ัมพันธ์
โต้ตอบได้ ทาให้การใชง้ าน ทูนา่ สนใจมากข้นึ
3) การใช้คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การสอ่ื สารขอ้ มูลในลักษณะจดหมาย
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรือ E-Mail เป็นการสง่ จดหมายเพื่อตดิ ตอ่ ผู้อืน่ ในรูปแบบข้อมลู
อิเลก็ ทรอนิกสผ์ ่านทางเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ หรืออินเทอร์เน็ตทส่ี ะดวก สามารถส่ง
ถงึ ผรู้ ับทันที และยงั สามารถส่ง E-Mail ไปยังผรู้ บั หลายคนได้ ในเวลาเดยี วกนั การส่ง
E-Mail สามารถแนบไฟลเ์ อกสารรปู ภาพ และเสียงไปกับ E-Mail นน้ั ได้ และผูร้ บั
สามารถบนั ทึก พิมพห์ รอื สง่ ตอ่ E-Mail ไปให้ผู้อืน่ ได้ตอ่ ไป นบั ว่าเปน็ การ
ติดต่อสือ่ สารทสี่ ะดวก รวดเร็วและประหยดั ค่าใช้จา่ ยมาก
4) การใชค้ อมพวิ เตอรเ์ พือ่ การสนทนาออนไลน์ หรอื Chat เปน็ การสือ่ สารใน
ลักษณะของขอ้ ความ ภาพ หรือเสียง ท่ที าให้คูส่ นทนาสามารถโตต้ อบได้ทันทแี ม้
ไมไ่ ดอ้ ยู่ในสถานทเี่ ดยี วกนั โดยผู้เข้ารว่ ม การสนทนาทุกคนจะมองเห็นข้อความ
นน้ั ได้ทนั ที เป็นรูปแบบของการส่ือสารบนอินเทอรเ์ น็ตท่ีไดร้ ับ ความนยิ ม การ
สนทนาออนไลน์จะแตกต่างกับ E-Mail ทีก่ ารสนทนาออนไลน์ไมต่ อ้ งทราบที่อยู่
ของผสู้ นทนา แต่จะตอ้ งอยูใ่ นห้องสนทนาเดยี วกัน สามารถสนทนากบั ค่สู นทนา
พร้อมกันไดห้ ลายๆ คนในคราวเดียว
5) การใชค้ อมพิวเตอร์เพ่อื การติดต่อส่ือสารในเครือข่ายสังคมออนไลน์ หรอื
Social Network เปน็ พืน้ ท่ีสาธารณะท่ีคนจากทั่วโลกสามารถมาติดต่อสื่อสาร
และแบ่งปนั ข้อมลู ให้กบั ผอู้ นื่ ที่อยู่ในเครือข่าย ผ่านทางอนิ เทอร์เน็ตและสอ่ื สังคม
ออนไลน์โดยสมาชกิ ในกลุ่มไม่จาเปน็ ตอ้ งมีความสมั พันธอ์ ย่างแน่น แต่มีหวั
ขอ้ ความสนใจรว่ มกนั มีบทสนทนาทแี่ สดงถึงแนวทางความคดิ ในเรอื่ งใดเรอ่ื ง
หนง่ึ รว่ มกัน
6) การใช้คอมพวิ เตอรเ์ พ่อื การจดั การภาพ เสียงและวดี โี อ การใชไ้ ฟล์ประเภท
นจ้ี ะเกยี่ วขอ้ งกบั งานแทบทุกงานในคอมพวิ เตอร์ ทั้งการแทรกลงในเอกสาร
แนบไฟลไ์ ปกบั E-Mail หรอื นาเสนอไฟลน์ ้นั ๆ เช่น การถ่ายภาพดว้ ยกลอ้ งดจิ ิทัล
แลว้ นาเขา้ มายงั เคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ พือ่ นาเสนอ พมิ พ์ เผยแพร่ บนอินเทอร์เน็ต
หรอื แนบไฟล์ไปกบั E-Mail การใช้คอมพวิ เตอร์เปดิ ไฟลเ์ สียงท่เี ปน็ เพลง หรือ
บทความใดๆ ไดจ้ ากแผน่ บนั ทกึ ไฟล์เสยี งนน้ั ๆ หรอื นาเข้าไฟลเ์ สยี งมาจากสอ่ื
อ่นื ๆ และอนิ เทอร์เนต็ รวมทัง้ วดี โี อ หรอื ภาพยนต์ทีส่ ามารถเปิดจากแผ่น CD,
DVD และหาชมได้ทางอนิ เทอร์เน็ต
7) การใชค้ อมพวิ เตอรเ์ ล่นเกมคอมพวิ เตอร์ ในคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบ
เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ มีเกมในรปู แบบตา่ งๆ ใหเ้ ลน่ เพ่ือการพักผอ่ นหรอื ความ
บนั เทงิ รวมถงึ ยังมีหลายเกมท่อี นุญาตให้แข่ง สรปุ กับผูเ้ ลน่ คนอนื่ ๆ รอบโลก
ผา่ นทางอินเทอรเ์ นต็ อีกดว้ ย
3.1 การนาคอมพวิ เตอรไ์ ปใช้งาน
กอ่ นหน้าน้คี อมพิวเตอรจ์ ะถูกนามาใชก้ ับงานเฉพาะอย่างหรอื งานท่ีมี
ลักษณะเฉพาะ เช่น มูล การประมวลผลทางคณติ ศาสตร์ท่ซี บั ซอ้ น อัน
เน่อื งมาจากคอมพิวเตอรใ์ นสมยั ก่อนจะมขี นาดใหญ่ ราคาแพง การนา
คอมพวิ เตอรม์ าใช้งานจงึ ไม่เกีย่ วข้องกบั ชีวิตประจาวนั มากนัก กระทงั่ พฒั นาการ
ของคอมพวิ เตอรท์ ด่ี ีข้นึ จงึ ทาให้ปัจจุบันคอมพวิ เตอร์มีขนาดเลก็ ลง
ประสิทธภิ าพสูงขน้ึ และราคาถกู ลง บุคคลทว่ั ไปจงึ สามารถซอื้ หามาใชง้ านได้ ทา
ใหก้ ารใชง้ านคอมพิวเตอร์แพร่หลาย และถูกนาเข้ามาใชง้ าน แทบทกุ งาน
หน่วยงานท้ังภาครัฐบาลและเอกชนไดน้ าคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในหน่วยงานมากขน้ึ
และ มีแนวโนม้ การใช้งานท่ีสงู ข้นึ ดังจะสรุปลักษณะการนาคอมพิวเตอรม์ าใช้
งานได้ดังนี้
1)การนาคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นสถานศกึ ษา มีการนาคอมพวิ เตอรม์ าประยกุ ตใ์ ช้ใน
การเรยี น การสอนและการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา เช่น การจัดทาประวตั ิ
นักเรยี น ประวตั คิ รอู าจารย์ การลงทะเบียนเรยี น การใช้โปรแกรมตรวจข้อสอบ
การรายงานผลการเรียน ใช้คอมพวิ เตอรใ์ น งานห้องสมุด
2) การนาคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ นงานวศิ วกรรม สามารถนามาใชง้ านในดา้ น
วศิ วกรรมได้ตงั้ แต่ขัน้ ตอนการออกแบบโครงสรา้ งสถาปัตยกรรมตา่ งๆ การเขียน
แบบ ตลอดจนการนามาใชใ้ นการคานวณ โครงสรา้ ง ช่วยในการวางแผน และ
ควบคมุ
3) การนาคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในงานวทิ ยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์
สามารถทางานรว่ มกับ เครือ่ งมอื ทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เช่น เครื่องมอื
วเิ คราะห์สารเคมี เครือ่ งมือการทดลองตา่ งๆ แม้กระทัง่ การเดินทาง
ของยานอวกาศต่างๆ การถ่ายพืน้ ผิวโลกบนดาวอังคาร
4) การนาคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในงานธรุ กจิ คอมพิวเตอร์สามารถ
นามาใชใ้ นการจัดเก็บข้อมูล ไดม้ าก มคี วามรวดเร็วและถกู ต้อง
สามารถนามาใช้ในงานดา้ นเอกสารสานกั งาน การสรปุ รวบรวมข้อมูล
เพื่อสนับสนุนการตัดสนิ ใจในการดาเนนิ ธุรกจิ
5) การนาคอมพิวเตอรม์ าใช้ในงานธนาคาร การดาเนินงานของ
ธนาคารสว่ นใหญเ่ ป็น กระบวนการทางานเก่ยี วขอ้ งกับธรุ กรรมที่
จะตอ้ งมีการบันทกึ รายการดาเนนิ งาน การคานวณและการสรุป ข้อมูล
ซง่ึ รปู แบบงานต่างๆ น้ีไดม้ กี ารนาคอมพวิ เตอรเ์ ข้ามาประยุกต์ใชแ้ ทบ
ทกุ ขัน้ ตอน เชน่ เครอื่ ง ATM คอมพวิ เตอร์บนั ทึกรายการ ระบบ
เครอื ข่ายเชอ่ื มโยงการทางานของสาขา และคอมพวิ เตอรท์ ่ีใชเ้ ก็บ
ข้อมูล ลกู คา้ ทท่ี าใหก้ ารบริการสะดวก รวดเรว็ และเปน็ ทน่ี ยิ ม
แพรห่ ลายในปจั จุบัน
6) การนาคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นร้านค้าปลีก เปน็ การนาคอมพิวเตอร์
มาประยกุ ต์ใชต้ ง้ั แต่ ขนั้ ตอนของการจัดทารายการสินคา้ คงคลงั การ
จาหนา่ ยสินค้าหนา้ ร้าน หรือแม้กระทง่ั การใชบ้ ริการ ในการชาระ
ค่าบรกิ ารต่างๆ ท่สี ามารถเชือ่ มโยงข้อมลู ได้กบั เจ้าของบริการน้ันๆ
7) การนาคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ นวงการแพทย์ คอมพวิ เตอรถ์ ูกนามาใชใ้ นการ
เก็บประวตั ิ ของคนไข้ ควบคมุ การรบั และจา่ ยยา ตลอดจนเป็นส่วนหนง่ึ ทอี่ ยู่
ในอปุ กรณ์หรอื เครื่องมอื ทางการแพทย์ เช่น เครอ่ื งบันทกึ การเต้นของหวั ใจ
ตรวจคลน่ื สมอง และดา้ นการหาตาแหนง่ ของอวัยวะกอ่ นการผ่าตดั
8) การนาคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ นการคมนาคมและการสือ่ สาร คอมพวิ เตอร์มี
บทบาทอยา่ งมากในการคมนาคมและการสอ่ื สาร จนเรยี กกันวา่ เป็นยคุ การ
สอื่ สารแบบไรพ้ รมแดน เชน่ การใช้ เครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ตดิ ตอ่ สือ่ สารกันได้
ท่วั โลกผ่านโปรแกรมและบรกิ ารตา่ งๆ ท่สี ะดวก รวดเร็ว และประหยัด
คา่ ใช้จา่ ย ส่วนการนาคอมพิวเตอรม์ าประยกุ ตใ์ ช้กับการคมนาคม เช่น การ
ตรวจสอบ สภาพการจราจร การควบคุมการบนิ หรือการจองตวั๋ เดนิ ทางต่างๆ
ผา่ นเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็
9) การนาคอมพิวเตอร์มาใชใ้ นงานด้านอตุ สาหกรรม คอมพวิ เตอรไ์ ด้เข้ามา
มีบทบาท เป็นอย่างมากในวงการอตุ สาหกรรม ตง้ั แต่การวางแผนการผลติ
กาหนดเวลาการผลิต จนกระทั่ง ถึงการผลิตสินค้า ในส่วนการควบคุมระบบ
การผลิตไดม้ กี ารนาคอมพิวเตอรม์ าใชใ้ นการควบคุมการทางาน ของ
เครื่องจักร เชน่ การเจาะ ตดั ไส กลงึ ตลอดจนการใชห้ ่นุ ยนต์คอมพวิ เตอร์ใน
การทาสี พน่ สี รวมถึงการประกอบรถยนต์มากมายท้งั งานเอกสารสานักงาน
การเกบ็ รวบรวมสรุปข้อมูล โดยเฉพาะงานทะเบียนราษฎรก์ ารนบั คะแนน
และประกาศผลเลอื กตั้ง การคิดภาษีอากร การเกบ็ ขอ้ มลู สถิตสิ ามะโน
ประชากร การเกบ็ เงนิ ค่าไฟฟา้ นา้ ประปา คา่ ใช้โทรศัพท์
10) มากมายท้งั งานเอกสารสานักงานการเก็บรวบรวมสรปุ
ข้อมลู
โดยเฉพาะงานทะเบียนราษฎร์การนบั คะแนน และประกาศ
ผลเลือกตงั้ การคดิ ภาษอี ากร การเกบ็ ขอ้ มูล สถิติสามะโน
ประชากร การเกบ็ เงินคา่ ไฟฟ้า นา้ ประปา ค่าใชโ้ ทรศพั ท์
11) คอมพิวเตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเพ่อื งานอาชีพ การใช้
งานคอมพวิ เตอรเ์ พ่อื งานอาชีพ
ต้องเรยี นรูก้ ารใชง้ านคอมพวิ เตอร์ทถ่ี กู ต้อง การใชโ้ ปรแกรม
ประยกุ ตด์ ้านสานักงานเพ่ือการปฏิบตั ิงาน ประจาวนั ซง่ึ โปรแกรม
สานักงานส่วนใหญป่ ระกอบดว้ ยโปรแกรมประมวลคา โปรแกรม
ตารางการทาการ และโปรแกรมนาเสนอผลงาน รวมไปถึงการใช้
อินเทอร์เน็ตเพอื่ คน้ หาขอ้ มูลหรือการตดิ ต่อส่อื สาร
สรุป
คอมพวิ เตอร์ หมายถงึ อปุ กรณ์ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์
(Electronic Device) ทมี่ นุษย์ใช้เปน็ เครอ่ื งมอื ช่วยในการจัดการกบั ขอ้ มลู ที่
อาจเปน็ ไดท้ งั้ ตวั เลข ตวั อักษร หรอื สัญลักษณ์ทใ่ี ชแ้ ทน ความหมายในสงิ่
ตา่ งๆ โดยคณุ สมบตั ิท่สี าคัญของคอมพวิ เตอร์คอื การท่ีสามารถกาหนด
ชดุ คาส่ัง ลว่ งหนา้ หรอื โปรแกรมได้ (Programmable) นนั่ คือคอมพิวเตอร์
สามารถทางานไดห้ ลากหลายรปู แบบ ข้นึ อยกู่ บั ชดุ คาสัง่ ทเี่ ลือกมาใชง้ าน ทา
ให้สามารถนาคอมพิวเตอรไ์ ปประยุกต์ใชง้ านได้อย่างกว้างขวางระบบ
สารสนเทศ หมายถงึ ระบบทมี่ ีการนาขอ้ มลู ดบิ ไปประมวลผลใหอ้ ยู่ในรูป
สารสนเทศ ทพ่ี ร้อมใช้งานเป็นระบบท่ีประกอบดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ได้แก่ระบบ
คอมพวิ เตอรท์ ้ังฮารด์ แวร์และซอฟตแ์ วร์ ระบบเครอื ขา่ ย ฐานขอ้ มูล ผูพ้ ัฒนา
ระบบ ผใู้ ชร้ ะบบ พนักงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง และผู้เชีย่ วชาญในสาขา ทกุ
องค์ประกอบทางานรว่ มกนั เพอื่ กาหนด รวบรวม จดั เกบ็ ข้อมลู ประมวลผล
ข้อมลู เพอื่ สรา้ งสารสนเทศ และส่งผลลพั ธห์ รอื สารสนเทศทไ่ี ด้ให้ผู้ใช้เพอ่ื
ชว่ ยสนับสนุนการทางาน การตดั สนิ ใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม
การวเิ คราะหแ์ ละติดตามผลการดาเนินงานขององคก์ รการใชค้ อมพวิ เตอร์
และระบบสารสนเทศเพ่อื งานอาชพี เป็นการใช้อุปกรณ์ หรอื เคร่ืองมอื ช่วย
ในการจดั การกบั ข้อมลู ท่สี ามารถโปรแกรมได้ร่วมกบั องค์ประกอบทที่ างาน
ร่วมกันเพือ่ สรา้ งสารสนเทศ เพอื่ งานอาชพี ซึ่งส่วนมากจะเป็นการใชเ้ ครือ่ ง
คอมพิวเตอร์ การส่อื สาร ฐานขอ้ มลู และซอฟตแ์ วร์ เช่น โปรแกรมสานกั งาน
ตา่ งๆ เพอ่ื สร้างและจดั การสารสนเทศการใช้คอมพวิ เตอร์และระบบ
สารสนเทศเพอ่ื งานอาชีพมีหลากหลายลักษณะ ไดแ้ ก่ การใช้คอมพิวเตอร์
และระบบสารสนเทศในสถานศึกษา ในงานวศิ วกรรม ในงานวทิ ยาศาสตร์
ในงานธรุ กิจ ในงานธนาคารในร้านคา้ ในวงการแพทย์ในการคมนาคมและ
การสื่อสาร และในวงราชการ