The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปี3 เทอม 2 เสน่ห์แห่งแดนดิน ถิ่นเมืองเขาชัยสน2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prang_taniya, 2021-03-31 11:18:40

เสน่ห์แห่งแดนดิน...ถิ่นเมืองเขาชัยสน

ปี3 เทอม 2 เสน่ห์แห่งแดนดิน ถิ่นเมืองเขาชัยสน2

๔๐

ภาษาใตน้ า่ รู้

คา ความหมาย
โก้ ตะโกน
ไซร่ ทาไม
นายหัว หัวหนา้
พนั นี้ แบบนี้
มุ๊งมิง๊ พลบคา่ , โพลเ้ พล้
เริน บา้ น
แล ดู
ลุย เยอะแยะ
หิด นดิ หน่อย
หลบ กลบั
หวนั ทอ้ งฟ้า, ไม่รเู้ รือ่ ง
หวิบ โกรธ

๔๑

หลกั วิชาการน่ารู้

ภาษาพูด ภาษาเขียน
กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๕ : หน้าท่ี ๔๖-๔๙) ได้กล่าวว่า การพูด และ
การเขียนมีความสาคัญต่อการส่ือสารในชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก เพราะ
เราจะภาษาในการใช้แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และถ่ายทอดความรู้แก่
ผู้อ่ืน สามารถใช้ส่ือสารกันได้ท้ังวิธีพูด และวิธีเขียนข้ึนอยู่กับสถานการณ์
ความประสงค์ของผู้ใช้ภาษา และความสัมพันธ์กับผู้ฟังหรือผู้อ่าน ดังน้ัน การ
ใช้ภาษาจึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีผู้พูด และผู้เขียนต้องพิจารณา และเลือกสรร
ถ้อยคา สานวนท่สี ภุ าพให้เหมาะสมกบั บคุ คล โอกาส และสถานท่ี
ภาษาพูด
ภาษาพูด คือ ภาษาท่ีใช้พูดจากัน ไม่มีความพิถีพิถันในการใช้หลักภาษา
มาก แต่จะสร้างความรู้สึกเป็นกันเองขณะพูด เพราะเป็นการส่ือสารโดยตรง
จะมีสีหน้าท่าทาง น้าเสียงประกอบในการพูด ใช้ในการสนทนาในหมู่เพ่ือนฝูง
ในครอบครัว ในการเขียนนวนิยาย สัมภาษณ์ อภิปราย พูดรายงาน โต้วาที
การซื้อขายและการติดต่อส่ือสารกันอย่างไม่เป็นทางการ ภาษาพูด เรียกอีก
อย่างหน่งึ ว่า ภาษาปาก

๔๒

ภาษาเขียน
ภาษาเขียน คือ ภาษาที่มีแบบแผนหรือระดับทางการ กล่าวคือ มี

ลกั ษณะทีเ่ ครง่ ครดั ในหลักทางภาษา เมื่อใช้ถ้อยคาใดจะต้องคานึงถึง
หลักภาษา เพ่ือใช้ในการส่ือสารอย่างถูกต้อง ซึ่งใช้ในการเขียน
มากกว่าการพดู จะต้องใช้ความสามารถในการใช้ภาษา เพ่ือถ่ายทอด
ให้ได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ภาษา และจะต้องใช้ถ้อยคาท่ีสุภาพ
เลือกใช้ถ้อยคาเหมาะกับบุคคล และกาลเทศะ ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย หรือ
การเล่นคาจนกลายเป็นการพูดหรือการเขียนเล่น ๆ การเขียนใช้ใน
โอกาสท่ีมีการบันทึกข้อความจากการฟัง การอ่าน การแสดงความ
คิดเห็น การวิพากษ์วิจารณ์ การเสนอความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
การบันทึกรายงานการประชุม การเขียนบทความ สารคดี จดหมาย
เรียงความ การกลา่ วรายงาน กลา่ วคาปราศรยั

๔๓

ความแตกตา่ งระหว่างภาษาพูดกบั ภาษาเขียน
การใช้ภาษาพูด และภาษาเขียนนั้นเป็นส่ิงท่ียากท่ีจะตัดสินว่า คา

ใดเป็นภาษาพูด คาใดเป็นภาษาเขียน ทั้งน้ีการใช้ภาษาพูด และภาษา
เขียนจะข้ึนอยู่กับกาลเทศะในการใช้คาน้ัน ๆ บางคาก็จะใช้เป็นภาษา
เขียนอย่างเดียว บางคาก็จะใช้เป็นภาษาพูดอย่างเดียว และบางคาจะ
อยู่ตรงกลาง คือ อาจจะเป็นได้ทั้งภาษาพูด และภาษาเขียนก็ได้
ดังนนั้ ผู้เรียนจงึ จาเป็นที่จะต้องศึกษาความแตกต่างระหว่างภาษาพูด
กับภาษาเขียน ซึง่ สามารถพจิ ารณาได้ดงั น้ี

๑. คาบางคาไม่ใช้ในภาษาเขียน แต่จะมีการใช้ในภาษาพูดเท่าน้ัน
เชน่ เยอะแยะ โอโ้ ฮ เป็นตน้

๒. ภาษาเขียนจะไม่มีสานวนเปรียบเทียบหรือคาสแลงท่ียังไม่เป็นท่ี
ยอมรบั ในภาษา เชน่ ชักดาบ โดดรม่ พลกิ ลอ็ ค เปน็ ตน้

๓. ภาษาเขียนมีการเรียบเรียงถ้อยคาภาษาอย่างสละสลวย ชัดเจน
ไม่ซ้าคาหรือซ้าความโดยไม่มีความจาเป็น จะมีความแตกต่างกับ
ภาษาพูดท่ีอาจจะใช้การซ้าคาหรือซ้าความได้ เช่น การพูดกลับไป
กลบั มา เปน็ การย้าคาหรอื เนน้ ข้อความน้ัน ๆ เป็นต้น

๔๔

๔. ภาษาเขียน เมื่อเขียนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้เขียนไม่มีโอกาสท่ีจะ

แก้ไขหรอื เปล่ยี นแปลงได้ แตถ่ ้าหากเป็นภาษาพูด ผู้เขียนกจ็ ะมีโอกาสท่ีจะ

แก้ไขหรือชี้แจงตอนท้ายได้ นอกจากน้ียังมีข้อแตกต่างระหว่างภาษาพูด

และภาษาเขยี นอีกหลายประการ คอื

๑. ภาษาเขียนใช้คาภาษามาตรฐานหรือภาษาแบบแผน ซึ่งนิยมใช้

เฉพาะในวงราชการหรือในข้อเขียนท่ีเป็นวิชาการท้ังหลายมากกว่าภาษา

พูด เชน่

ภาษาเขียน ภาษาพูด

สนุ ัข หมา

รบั ประทาน ทาน, กิน

แพทย์ หมอ

ถึงแก่กรรม ตาย, เสีย

๔๕

๒. ภาษาพดู มักจะออกเสียงไม่ตรงกันกับภาษาเขียน คือ เขียนอย่าง

หน่ึงเวลาออกเสียงจะเพี้ยนเสียงไปเล็กน้อย โดยส่วนมากเสียงท่ีเพี้ยนจะ

เปน็ เสยี งสระ เชน่ ภาษาพดู
ภาษาเขียน เค้า

เขา

ฉัน ช้ัน
หรือ หรอ

น่ี เนีย่ ะ

๓. ภาษาพูด สามารถแสดงให้เห็นถึงอารมณ์ ความรู้สึกของผู้พูดได้

ดกี ว่าภาษาเขียน คือ มีการเน้นระดับเสียงของคาให้มีความ สูง-ต่า-ส้ัน-

ยาว ได้ตามตอ้ งการของผู้พูด เชน่ ภาษาพูด
ภาษาเขียน ตา๊ ย
ตาย

บา้ บา๊
ใช่ ช่าย

หรือ รึ

๔๖

๔. ภาษาพูดนิยมใช้คาช่วยพูดหรือคาลงท้าย เพื่อช่วยให้การพูดน้ันฟัง

สุภาพ และไพเราะยิง่ ข้นึ เชน่ ไปไหนคะ ไปตลาดค่ะ ไม่เป็นไรหรอก นั่งน่ิง ๆ

ซิจ๊ะ

๕. ภาษาพูดนิยมใช้คาซ้า และคาซ้อนบางชนิด เพ่ือเน้นความหมายของ

คาให้ชดั เจนยิ่งข้นึ เชน่

คาซ้า ดด๊ี ี เกา๊ เกา่ อ่านเอิ่น ผ้าห่มผ้าเหิม่ กระจกกระเจิก อาหงอาหาร เป็น

ตน้

คาซ้อน มือไม้ ขาวจั้วะ ดามิดหมี แข็งเป็ก เดินเหิน ทองหยอง เป็นตน้

ตวั อย่างภาษาพดู และภาษาเขียน ภาษาพูด
ภาษาเขียน

เปน็ ไง เป็นอย่างไร

ปวดหวั ปวดศีรษะ

หมอ แพทย์

ตัง เงิน

ไฟไหม้ เพลิงไหม้

เขามาต้ังแตไ่ ก่โห่ เขามาตั้งแตเ่ ชา้ ตรู่

๔๗

กิจกรรมทา้ ยบท

๑. ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี

๑.๑ จากบทอ่านเร่ือง สืบสานแห่ผ้าวัดเขียน นักเรียนคิดว่า

ประเพณีมีความสาคญั อย่างไร

………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………

๑.๒ ให้นักเรียนเลือกประเพณี ๑ ประเพณี เขียนบอกเล่าความ

เป็นมา องค์ประกอบ ความสาคัญของประเพณีนั้น และนามาสนทนา

แลกเปลี่ยนในห้องเรยี น

๒. ให้นักเรียนเปล่ียนคาท่ีขีดเส้นใต้ในประโยคให้เป็นภาษาเขียนให้

ถูกตอ้ ง

ตวั อยา่ ง ภาษาพดู ภาษาเขียน

กิน รบั ประทาน

๒.๑ กลา้ ขับรถเคร่อื งเร็วมาก (……………………………………….)

๒.๒ มะลิถบี รถถีบมาโรงเรยี น (……………………………………….)

๔๘

๒.๓ เราไม่ควรดทู วี ีตลอดทั้งวัน (…………………………..………….)
๒.๔ ขงิ กาลงั เดินทางไปทีม่ หาลัย (…………………………..………….)
๒.๕ บา้ นของสีดาหลงั เบ้อเริม่ เทิ่ม (…………………………………..….)

๓. ให้นกั เรียนทาแผนผังความคิดสรปุ ความรู้ทีไ่ ดร้ บั จากเร่ืองภาษาพูด
และภาษาเขยี น

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓

จากเพ่อื น…พาเยือนสวนศิลปถ์ ิ่นโนรา

ตัวชีว้ ัด
ท ๒.๑ ม.๑/๗ เขียนจดหมายส่วนตวั และจดหมายกิจธรุ ะ

มโนทัศน์
เรือ่ งราวเกี่ยวกบั ประวัตคิ วามเป็นมาของสถานทีส่ วนศิลป์ ถิ่นโนรา และ

อธบิ ายถึงตน้ กาเนิด และองค์ประกอบของมโนราห์ ทงั้ ในเรื่องของการแต่ง
กาย และการแสดง โดยนาเสนอเรื่องราวผ่านการเลา่ แบบนิทาน

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจเก่ยี วกับประวตั ิความเปน็ มาของมโนราห์
2. เห็นคุณค่าและความสาคัญของมโนราห์ท่ีเป็นศิลปะการแสดงของ

ภาคใต้
๓. สามารถเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาถกู ตอ้ ง ชัดเจน เหมาะสมได้
๔. เพ่อื ให้นกั เรยี นเขียนจดหมายส่วนตัว และจดหมายกิจธรุ ะได้

๕๐

จากเพ่อื น…พาเยือนสวนศิลป์ถิ่นโนรา

๘๙/๒ หมู่ ๒ ตาบลควนขนนุ
อาเภอเขาชยั สน จังหวัดพทั ลงุ

๙๓๑๓๐
๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔
ถึง แก้วเกา้ เพือ่ นรกั
สวัสดีแก้วเก้าเพื่อนรัก ฉันได้รับจดหมายจากเธอแล้วเมื่อวานน้ี เธอ
เป็นอย่างไรบ้าง ตั้งแต่เธอไปเรียนท่ีเชียงใหม่ เราก็ไม่ได้เจอกันอีกเลย
ฉันคิดถึงเธอมาก
ปิดเทอมคราวน้ีฉันกลับมาท่ีบ้าน อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ฉันอยากให้เธอได้มาเทย่ี วทีบ่ า้ นฉนั อยากให้เธอได้มาเห็นหมู่บ้านแสนสุข
แห่งน้ี ท่ีเต็มไปด้วยธรรมชาติท่ีร่มร่ืน อุดมสมบูรณ์ ผู้คนท่ีน่ีก็น่ารัก ใจดี
และหมู่บ้านของฉันก็ยังมีจุดเชค็ อนิ ใหม่ทีน่ ่าสนใจอีกด้วยนะ

๕๑

แก้วเก้า ฉันจะเล่าเร่ืองราวของวันน้ีท่ีฉันได้เดินทางไปเท่ียวตาม
สถานท่ตี า่ ง ๆ ในอาเภอเขาชยั สนของฉนั ให้เธอได้อ่านนะ ฉันจะพาเธอ
เดินทางไปกบั ฉันเอง พร้อมหรอื ยัง… ถ้าพร้อมแล้วก็ไปกนั เลย

สถานท่ีแรก คือ ถ้าเขาชัยสน เป็นถ้าท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ของ
ธรรมชาติ อีกท้ังยังมีบ่อน้าร้อนสุขภาพ เป็นบ่อน้าร้อนท่ีเกิดข้ึนเอง
ตามธรรมชาติให้นักท่องเท่ียวได้ลงไปแช่ เพ่ือความผ่อนคลาย และ
รักษาโรคปวดเมื่อย ฉันได้ลองลงไปแช่แล้ว น้าร้อนมาก ๆ แต่ก็สบาย
สุด ๆ เลย ไว้เธอมาฉันจะพาเธอไปแช่น้าร้อนด้วยกันนะ และบริเวณ
ถ้ากย็ ังมีชาวบา้ นมาขายของที่ระลึกท่เี ปน็ ภูมิปัญญาของคนในอาเภอน้ี
อีกด้วย ทั้งพวงกุญแจ ยาสมุนไพร อาหาร ฉันจะส่งไปให้เธอด้วยนะ
เราไปสถานท่ถี ดั ไปกันเลยดกี ว่า

สถานท่ที ส่ี อง วัดพระบรมธาตุเจดีย์เขียนบางแก้วหรือท่ีชาวบ้าน
ท่นี เ่ี รียกสน้ั ๆ ว่า วัดเขียนบางแก้ว เป็นวดั ที่เก่าแก่ และมีชื่อเสียง อยู่

คู่กบั ชาวอาเภอเขาชยั สน และจังหวดั พทั ลงุ มาอย่างยาวนาน

๕๒

ภายในวัดก็จะมีสถานท่ีสาคัญต่าง ๆ มีความสงบ ร่มร่ืน และมี
ความงดงามมาก ทั้งพระบรมธาตุเจดีย์ สถาปัตยกรรม โบสถ์ และยังมี
ประเพณีที่ดีงาม มีการอนุรักษ์ สบื สานมาจนถึงทุกวันน้ี เป็นประเพณีท่ี
วัดเขียนบางแก้วจัดข้ึนเป็นประจาของทุกปี คือ ประเพณีแห่ผ้าห่มพระ
ธาตุ ซึ่งคุณปู่เล่าให้ฉันฟังว่า ประเพณีน้ีจัดข้ึนอย่างยิ่งใหญ่ และมีมา
นานแล้ว เป็นการให้ประชาชนทุกคน ได้ร่วมกันแสดงออกถึงความ
เคารพบูชาในปูชนียสถานท่ีสาคัญคู่บ้านคู่เมืองของอาเภอเรา เพ่ือสืบ
สาน และอนุรักษ์ ประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น ฉันมีโอกาสได้ร่วม
ทาบุญ และรว่ มแห่ผ้าในครง้ั นดี้ ว้ ย ตืน่ เต้นท่สี ุดเลยนะแก้วเกา้

สถานท่ีสุดท้ายแล้วนะ เธอเหน่ือยหรือยัง..ถ้ายังไม่เหน่ือยเราก็ไป
กนั ต่อนะ สถานที่สดุ ท้าย คือ สวนศิลป์ ถิ่นโนรา เป็นสถานท่ีจุดเช็คอิน
แห่งใหม่ของจังหวัดพัทลุง ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับบ้านฉันเองแก้วเก้า เป็น
สถานท่ที ม่ี ีประตมิ ากรรมรูปป้ันมโนราห์ อยู่ในท่วงทา่ ราต่าง ๆ มีความ
งดงาม ออ่ นช้อย เห็นถึงองค์ประกอบเคร่อื งแต่งกายของมโนราห์

๕๓

และเห็นถึงความละเอียด ประณีตของรูปป้ัน แต่เดิมน้ันสถานท่ีแห่งน้ี
ถนนคดเค้ียว ทาให้เกิดอุบัติเหตุอยู่บ่อยครั้ง ทาให้หน่วยงานทาง
ราชการได้ปรับปรุงแก้ไขโดยการเวนคืน พัฒนาถนนหนทางให้ดียิ่งข้ึน
และพัฒนาสถานท่นี ้เี ปน็ สวนศิลป์ ถิน่ โนรา

สถานท่ีน้ี เป็นสถานท่ีท่ีแสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ และ
แหล่งกาเนิดมโนราห์ของชาวพัทลุงเป็นอย่างดีเลย และชาวบ้านก็ยังมี
ความเชื่อว่า รูปป้ันตาพรานน้ันมีความศักด์ิสิทธ์ิมาก ใครมาขอส่ิงใดก็
จะสมหวังดังปรารถนา และหากใครเป็นลูกหลานในหมู่บ้านแห่งน้ี
ท่านก็จะดูแลคุ้มครองให้ปลอดภัย คุณปู่บอกฉันว่า ฉันห้ามด้ือ เป็น
เดก็ ดี ทาตวั ดี ๆ ท่านก็จะคมุ้ ครองเราให้แคล้วคลาดปลอดภัย.. ฉันด้ือ
หรือเปล่านะแก้วเก้า ฮ่า ๆ แต่ก็มีนักท่องเท่ียวมาแวะถ่ายรูปกัน
มากมายเลยนะ ท้ังยังเป็นสถานท่ีออกกาลังกายให้ชาวบ้านได้มาเดิน
ออกกาลงั กายอีกดว้ ย วันน้ฉี ันได้ชวนคุณปู่ไปเดิน และถา่ ยรูปด้วยนะ

๕๔

กลบั บา้ นมาปวดขาไปหมด ฮ่า ๆ ๆ ไว้ฉันจะส่งรูปให้เธอดนู ะ
เป็นอย่างไรบ้างวันน้ีท่ีฉันได้พาเธอไปท่องเท่ียวกับฉัน สนุกหรือ

เปล่า ฉันหวังว่าเธอคงจะสนุกนะ และฉันก็หวังว่าเราจะได้มีโอกาส
ได้มาเท่ยี วด้วยกนั ฉนั จะเป็นคนทีพ่ าเธอไปเที่ยวเองนะ

สุดท้ายนี้ ฉันอยากจะบอกว่าฉันคิดถึงเธอเสมอ เป็นห่วง ดูแล
ตัวเองดี ๆ นะ ไว้ฉันจะเขียนจดหมายส่งให้เธอบ่อย ๆ และเธอเองก็
อย่าลืมเขียนจดหมายส่งมาหาฉันบ่อย ๆ ด้วยนะ อย่าลืมคิดถึงกันบ้าง
ละ่ แก้วเก้า

รกั และคิดถึง
มะปราง

(ฐานญิ า วิจติ รโสภา)

๕๕

อา่ นเสริม เติมความรู้

ตน้ กาเนิดของโนรา

นักเรียนรไู้ หมจ๊ะ “โนรา” หรือ “มโนราห์” เป็นศิลปะการแสดงร่ายราของ
คนภาคใต้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นศิลปวัฒนธรรมอันเก่าแก่ท่ีสืบทอดต่อกันมา ต้ังแต่
อดีตจนถึงปัจจุบัน การแสดงโนราได้รับความนิยมอย่างกว้างขว้างเกือบทุก
ทอ้ งถิน่ เป็นสิง่ ท่บี ง่ บอกถึงความเปน็ วัฒนธรรม และเอกลักษณ์จากรุ่นสรู่ ุ่น

สาหรับความเป็นมาของศิลปะการแสดงโนราหรือมโนราห์ ยังไม่มี
หลักฐานปรากฏท่ีชัดเจน แต่จากการสันนิษฐานน้ัน น่าจะเกิดพร้อมกับโนรา
โรงครูของภาคใต้ ตามตานานท่ีเล่าต่อ ๆ กันมาว่า พระยาสายฟ้าฟาดเป็น
กษัตริย์ครองเมืองพัทลุง ได้มีลกู สาว 1 คน ชือ่ นางนวลทองสาลี นางชื่นชอบ
การร่ายราเป็นชีวิตจิตใจ จนในคืนหน่ึง ได้ฝันว่า มีเทพเทวดามาร่ายราให้ดู
การร่ายราน้ันมีท้ังหมด 12 ท่า ซึ่งเป็นท่วงท่าการร่ายราท่ีสวยงาม และอ่อน
ช้อยเป็นอย่างมาก อีกท้ังยังมีเคร่ืองประโคมดนตรีท่ีลงเป็นจังหวะกับท่ารา
และนางกย็ งั จาท่าเหลา่ นั้นได้เป็นอย่างดี

๕๖

อยู่มาวันหน่ึงนางเกิดอยากเสวยเกสรดอกบัวในสระหน้าพระราชวัง
เมือ่ นางได้เสวยเกสรดอกบัวจนหมด หลงั จากนั้นนางกไ็ ด้ต้ังท้อง โดยท่ีมีรู้
ว่าชายใดเป็นพ่อของลูกในท้องนาง เร่ืองน้ีได้รู้ถึงหูพระยาสายฟ้าฟาด จึง
ทาให้พระยาสายฟ้าฟาดโกรธหนักมาก ถึงกับคิดท่ีจะฆ่านางนวลทองสาลี
แต่ก็ทาไม่ได้เพราะนางเป็นลูก จึงส่ังลอยแพนางนวลทองสาลี ลมได้พัดแพ
ไปติดท่ีเกาะกะชัง นางนวลทองสาลีได้อาศัยอยู่ในเกาะศรีกระชังจนคลอด
บุตร และได้ต้ังชื่อบุตรว่า เทพสิงขร นางนวลทองสาลีได้สอนให้พระโอรส
ร่ายราในท่าเดียวกันกับเทพเทวดาท่ีเคยมาเข้าฝัน เทพสิงขรฝึกการร่ายรา
จนเติบโต และมีผู้กล่าวถึงกันมากมาย ว่ามีท่าร่ายราท่ีสวยสดงดงามกว่า
ใครในแผ่นดนิ

ภาพที่ ๘ ภาพโนราทีส่ วนศลิ ป์ถิ่นโนรา : ฐานญิ า วิจติ รโสภา

๕๗

จนกระท่ังทราบไปถึงพระยาสายฟ้าฟาด จึงได้ส่งคนมารับไปราให้ดูใน
พระราชวัง และเมื่อได้เหน็ รา่ ยราทีส่ วยสดงดงาม หนา้ ตาที่มีความคล้ายกับ
พระธิดานวลทองสาลี ทาให้พระยาสายฟ้าฟาดรู้ทันท่ีว่า เทพสิงขรเป็น
พระโอรสของนางนวลทองสาลีท่ีถูกลอยแพไปในหลายปีก่อน พระยา
สายฟ้าฟาดจึงได้ถอดมงกุฎจากพระเศียร ทรงพระราชทานเทริดให้เทพ
สิงขร และแต่งตั้งให้เป็น “มโนราห์” ในวังหลวง ทรงพระราชทานชื่อใหม่
เป็น “พ่อขนุ ศรีศรทั ธา” ทา่ นจึงเปน็ องค์ประถมโนรา นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
นนั่ เองจ๊ะ

(กานตต์ มิ า นราอาสน์, 2560)

ภาพที่ ๙ ภาพโนราที่สวนศลิ ป์ถิน่ โนรา : ฐานิญา วิจิตรโสภา

๕๘

พจ่ี าปา มาเลา่ ใหฟ้ ัง

น้อง ๆ คะ วันน้ีพี่จาปาก็มีความรู้ดี ๆ มาเล่าให้น้อง ๆ ได้อ่านกันอีก
แล้ว น่นั ก็คือ เรือ่ ง มโนราห์ หรอื โนราน่นั เองจ้า

มโนราห์ หรือ โนรา เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านท่ีเป็นท่ีนิยมของคนใน
ภาคใต้ องค์ประกอบหลักในการแสดงโนรา คือ เคร่ืองแต่งกาย และเคร่ือง
ดนตรี

เคร่ืองแต่งกายของมโนราห์นั้นจะประกอบไปด้วย เทริด เป็น
เคร่ืองประดับศีรษะของตัวนายโรง โนราใหญ่หรือตัวยืนเคร่ือง ต่อมาก็จะ
เป็นเคร่ืองลูกปัดร้อยด้วยลูกปัดสีเป็นลายมีดอกดวง ใช้สาหรับสวมลาตัว
ท่อนบนแทนเส้ือ ปีกนกแอ่นหรือปีกเหน่ง ทับทรวงปีกหรือหางหงส์ ผ้านุ่ง
สนับเพลา ผ้าห้อยหน้า ผ้าห้อยข้าง กาไลต้นแขน-ปลายแขน และเล็บ
ทั้งหมดน้ีเป็นเคร่ืองแต่งกายของโนราใหญ่หรือโนรายืนเคร่ือง ส่วนเคร่ือง
แต่งกายของตัวนางหรือนางราเรียกว่า “เคร่ืองนาง” จะไม่มีกาไลต้นแขน
ทบั ทรวง และปีกนกแอน่ น่นั เองค่ะ

๕๙

ส่วนเคร่ืองดนตรีของการแสดงโนรานั้น ส่วนใหญ่เป็นเคร่ืองตีให้
จังหวะ ซึ่งจะมีทั้ง ทับ ท่ีมี ๒ ใบ เสียงน้ันจะมีความแตกต่างกันเล็กน้อย
จะใช้คนตีเพียงแค่คนเดียว เป็นเคร่ืองตีท่ีสาคัญท่ีสุด เพราะทาหน้าท่ีคุม
จงั หวะ และเป็นตัวนาในการเปลย่ี นจงั หวะทานองตามผู้รา กลองทาหน้าท่ี
เสริมเน้นจังหวะ และล้อเสียงกลอง ปี่ โหม่งหรือฆ้องคู่ ฉิ่ง และแตระ
นน่ั เองค่ะนอ้ ง ๆ

เป็นอย่างไรกันบ้างคะ ได้ความรู้เยอะแยะเลยใช่ไหม ไว้คราวหน้าพี่
จาปาจะนาความรู้ สาระดี ๆ มาเล่าให้น้อง ๆ ได้อ่านกันอีกนะคะ พี่จาปา
ขอลาไปก่อน สวัสดีค่ะ

(กานตต์ มิ า นราอาสน,์ 2560)

๖๐

คาศพั ท์ชวนจา

คา ความหมาย

กาเนดิ เกดิ , มีขึน้ , เป็นขึน้
คมุ้ ครอง
ปอ้ งกันรกั ษา, ระวังรกั ษา,
คราว ปกปอ้ งรักษา
แคลว้ คลาด ครง้ั
แช่
รอดไป, พ้นไป
ทว่ งท่า
ปรารถนา ใส่ลงในนา้ หรอื ของเหลวอย่างอื่น
ร่มรืน่ ช่วั ระยะเวลาหนึ่ง
กิรยิ าท่าทาง
เรื่องราว
สงบ มุ่งหมาย, อยากได,้ ตอ้ งการ
ออ่ นช้อย
มีร่มเงาของตน้ ไม้ใหญ่ ๆ ท่ที าให้
เกดิ ความรื่นรมย์ใจ
เรื่องที่พูดหรอื เลา่ ติดต่อกนั ไป

ระงบั

มีกิริยาท่าทางงดงามละมนุ ละไม

๖๑

หลกั วิชาการนา่ รู้

การเขียนจดหมาย
สายใจ ทองเนียม (2560 : หน้าที่ ๒๗๒-๓๐๖) ได้กล่าวว่า การเขียน
จดหมาย เป็นวิธีการหน่ึงท่ีคนเรานิยมใช้ เพื่อส่ือสารเมื่อผู้รับสาร และผู้ส่ง
สารอยู่ห่างไกลกัน ไม่สามารถติดต่อกันได้ จดหมายถึงมีประโยชน์หลาย
ประการ คือ ใช้ส่ือสารแทนการพูดจาเมื่ออยู่ห่างไกลกัน ใช้เพื่อบอกกล่าว
เรื่องราวบางประการทไ่ี ม่อาจพูดจากันโดยตรงได้ ใช้เป็นส่ือสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลทไ่ี ม่รจู้ กั กนั และใช้เป็นเอกสารสาคัญท่ีอาจอา้ งเป็นหลกั ฐานได้
จดหมาย หมายถึง เครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้เขียนเพื่อสื่อสารแทนการ
พูดคยุ สนทนากนั การเขียนจดหมายจะต้องให้แจ่มแจ้งชัดเจน และครบถ้วน
และระมัดระวังการใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสม จะช่วยให้ผู้รับเข้าใจเน้ือหา
และปฏิบัตติ ามได้ถกู ตอ้ ง

๖๒

หลกั การเขียนจดหมาย
1. เขียนข้อความให้ชัดเจนแจ่มแจ้ง ใช้ถ้อยคาสานวนภาษาท่ีสุภาพ

กะทัดรดั สละสลวย และตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม
2. เขียนข้อความโดยมีจุดมุ่งหมาย ผู้ส่งสารจะต้องคิดข้อความ

ล่วงหน้า เรียบเรียงความคิด ร่างข้อความแล้วอ่านทบทวน เพ่ือท่ีจะส่ือสาร
ให้ผู้รับสารน้ันได้รับข้อมลู อย่างครบถว้ น

3. ใช้ภาษาท่ีถูกต้องตามหลักภาษา และอักขรวิธี ถูกต้องตามระดับ
ภาษา กาลเทศะ และบุคคล

4. เขียนด้วยลายมือท่ีเรียบร้อย อ่านง่าย สะอาด ไม่ขูดลบ ขีด ฆ่า
ตวั หนังสอื

5. เขียนให้ถกู ตอ้ งตามแบบฟอร์มของจดหมาย

๖๓

ประเภทของจดหมาย
1. จดหมายส่วนตัว

จดหมายสว่ นตวั หมายถึง จดหมายท่ีผู้ส่งสารเป็นคนใกล้ชิด อาจจะ
เป็นญาติสนิท มิตรสหาย หรือส่งข่าวคราว ไต่ถามทุกข์สุขส่วนตัว เล่า
เร่ืองราวท่ีควรจะได้รับรู้ร่วมกัน เป็นการติดต่อแบบไม่เป็นทางการ ภาษา
ท่ีใช้อาจจะเป็นภาษาท่ีไม่ใช่มาตรฐาน คาข้ึนต้น และคาลงท้ายจะไม่มี
กาหนดตายตัว แต่จะต้องระมัดระวังในการใช้คาให้เหมาะสมกับฐานะของ
บคุ คล

จดหมายสว่ นตวั อาจแบ่งออกเปน็ หลายชนิด เชน่
1.1 จดหมายขอโทษหรือชี้แจงข้อผิดพลาด เป็นจดหมายที่แสดง
การขอโทษในความผิดพลาดหรอื ชแี้ จงเหตผุ ลให้เขา้ ใจ
1.2 จดหมายแนะนา เป็นจดหมายทีใ่ ช้เพือ่ แนะนาตัวบุคคลที่รู้จักแก่
ผู้รบั กลา่ วถึงสาเหตุท่ีแนะนา วัตถุประสงค์ ตลอดจนความสามารถพิเศษ
อ่นื ๆ ของผู้ที่เรารู้จัก

๖๔

1.3 จดหมายขอบคุณ เสียใจหรือยินดี เป็นจดหมายท่ีใช้แสดง
อัธยาศยั ไมตรี แสดงออกถึงนา้ ใจ และความจริงใจของผู้ส่งสาร

1.4 จดหมายเล่าเร่ือง เป็นจดหมายท่ีผู้ส่งสาร และผู้รับสารมี
กิจกรรมร่วมกัน ใกล้ชิด สนิทกัน หรือเป็นจดหมายท่ีแจ้งเร่ืองราวหรือ
ข้อความเปน็ การสว่ นตวั ก็ได้
2. จดหมายธุรกิจ

จดหมายธุรกิจ หมายถึง จดหมายท่ีใช้ติดต่อระหว่างห้างร้าน และ
บริษัทต่าง ๆ เป็นการติดต่อกันในเร่ืองธุรกิจท่ัวไป เช่น การส่ังซื้อของ
การโฆษณาสินค้า การทวงหน้ีหรือการสอบถาม และตอบสอบถาม
เร่ืองราวต่าง ๆ การสมัครงาน เป็นต้น จะต้องใช้ภาษาแบบทางการ
ข้อความท่ีใช้ต้องรัดกุม กระชับ ส้ันแต่ได้ใจความ สามารถส่ือสารกันได้
อย่างถูกตอ้ งทงั้ ผู้ส่ง และผู้รับ

๖๕

3. จดหมายกิจธุระ
จดหมายกิจธุระ หมายถึง จดหมายท่ีใช้ติดต่อระหว่างบุคคลกับ

บุคคล หรือบุคคลกับหน่อยงานต่าง ๆ การเขียนจดหมายกิจธุระแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท คอื

3.1 จดหมายส่วนตัว เป็นจดหมายท่ีส่ือสารเฉพาะระหว่างผู้เขียน
กับผู้รับ ควรเขียนให้ชัดเจน ระมัดระวังเร่ืองภาษา เพ่ือรักษา
ความสมั พันธ์ส่วนตัวให้คงไว้อยู่เสมอ ถ้อยคาท่ีใช้จะต้องไม่ทาให้ผู้รับเกิด
ความรู้สึกห่างเหิน จดหมายส่วนตัวไม่มีกฎเกณฑ์ท่ีตายตัว ผู้เขียนต้อง
ตัดสนิ ใจเขยี นให้ดีที่สุดเสมอ

3.2 จดหมายติดต่อธุระ เป็นจดหมายท่ีใช้ติดต่อธุระจาเป็นสาหรับ
คนทั่วไป เช่น การเขียนหมายขอลาหยุดเรียนเมื่อเจ็บป่วยหรือเมื่อมีกิจ
ธรุ ะท่ีจาเป็น จึงไม่สามารถไปโรงเรียนได้ จดหมายติดต่อขอความร่วมมือ
เป็นต้น จดหมายดังกล่าวมักนิยมใช้ตามแบบหนังสือราชการ แต่ก็มีอยู่
บา้ งทใ่ี ช้จดหมายแบบธรรมดาท่ัวไป

๖๖

กลวธิ ีในการเขียนจดหมาย
1. เขียนโดยใช้ถ้อยคาตรงไปตรงมา ต้องไม่ห้วน และไม่กระด้าง ใช้คา

สุภาพ ผู้รับสามารถเข้าใจได้ทันที และปฏิบัตไิ ด้อย่างถูกต้อง
2. เขียนเชิงสรา้ งสรรค์ เขียนโดยเรียบเรียงถ้อยคาให้เกิดความรู้สึกท่ีดี

ถ้าจาเปน็ ต้องส่งข่าวทก่ี ระทบกระเทือนจิตใจ ควรระมัดระวังการใช้คาเป็น
พิเศษ
มารยาทในการเขียนจดหมาย

1. เลือกกระดาษ และซองท่ีมีสีสุภาพ สะอาดเรียบร้อย มีขนาดตรง
ตามมาตรฐาน

2. เขียนตวั หนังสือ และตวั เลขให้ชัดเจน ไม่มีรอยขีดฆ่า ขูดลบ วางรูป
จดหมาย และเว้นระยะให้เหมาะสม และควรเขียนด้วยปากกาหมึกสีดา
หรือสีน้าเงนิ เทา่ น้ัน

3. เขียนสะกดชื่อ นามสกุล ยศ ตาแหน่งของผู้ท่ีเกี่ยวข้องให้ชัดเจน
และถกู ตอ้ ง

๖๗

4. การเขยี นจดหมายควรใช้ภาษาอย่างระมดั ระวัง
5. รู้จักใช้คาขนึ้ ต้น และคาลงท้ายให้เหมาะสมตามธรรมเนียม แสดงถึง
การมีสมั มาคารวะ
6. เขียนจดหมายเสร็จแล้วต้องพับให้เรียบร้อย ใส่ซอง จ่าหน้าซองให้
ละเอียดชัดเจน
รูปแบบของจดหมาย
1. ท่ีอยู่ของผู้เขียน จะเริ่มกึ่งกลางหน้ากระดาษระหว่างเส้นคั่นหน้า
กบั รมิ ขอบของกระดาษ
2. วัน เดือน ปี จะเขียนเยื้องมาตรงทางซ้ายของตาแหน่งท่ีเขียนอยู่
เลก็ นอ้ ย
3. คาข้ึนต้น จะเขียนอยู่ตรงทางด้านซ้าย โดยจะห่างจาก
ขอบกระดาษประมาณ 1 น้วิ

4. เนอื้ หา จะเริ่มเขียนโดยจะย่อหน้าขอ้ ความเลก็ นอ้ ย จะอยู่ห่างจาก
ขอบกระดาษด้านซ้ายประมาณ 2 น้ิว และควรข้ึนต้นย่อหน้าใหม่ทุกคร้ัง
เมื่อจะขึน้ ใจความใหม่ รวมถึงการเขยี นเวน้ วรรคตอนให้ถกู ตอ้ ง

๖๘

5. คาลงท้าย จะต้องเขียนให้อยู่ในแนวเดียวกันกบั ทอ่ี ยู่ของผู้เขยี น
6. ชื่อผู้เขียน จะเขยี นอยู่ใตค้ าลงท้าย
ตัวอยา่ งรูปแบบจดหมาย

๖๙

ตัวอย่างการใช้คาขึ้นต้น สรรพนาม และคาลงท้ายในการเขียน
จดหมายทัว่ ไป

ผ้รู ับ คาขึน้ ตน้ สรรพนาม คาลงท้าย

บิดา/มารดา กราบเท้า คุณ คุ ณ พ่ อ คุ ณ ด้ ว ย ค ว า ม

ญาตผิ ู้ใหญ่ พ่อ ท่ีเ คา ร พ แม่ เ ค า ร พ อ ย่ า ง

อย่างสงู คณุ ปู่ คณุ ตา สงู

กราบเท้า คุณ ……………………

แ ม่ ท่ี เ ค า ร พ …………..

อย่างสูง ลู ก ห ล า น

กระผม ดฉิ นั

ญ า ติ ผู้ ใ ห ญ่ กราบ คุณน้า คุณนา้ คณุ อา ด้ ว ย ค ว า ม

รองลงมา ท่ีเคารพอย่าง …………………… เคารพ

สูง ………….. ด้วยความรัก

กราบ คุณอา กระผม ดฉิ ัน และเคารพ

ท่ีเคารพอย่าง

สงู

๗๐

ผรู้ บั คาขึ้นต้น สรรพนาม คาลงทา้ ย

ผู้ ใ ห ญ่ ท่ี ก ร า บ เ รี ย น อ า จ า ร ย์ ด้ ว ย ค ว า ม

เคารพนับถือ ท่านกานันท่ี คุณครู ทา่ น เคารพอย่าง

ครู อาจารย์ เคารพอย่าง …………………… สงู

สูง ………….. ด้ ว ย ค ว า ม

เรียน คุณครู กระผม ดฉิ ัน เคารพ

ท่ีเคารพอย่าง

สูง

พระภิกษุ นมัสการ พระ ท่าน พระคุณ ขอนมั สก าร

เสริม ฐานวโร เจา้ ด้ ว ย ค ว า ม

…………………… เคารพอย่าง

………….. สงู

กระผม ดฉิ ัน ขอนมั สการ

ด้ ว ย ค ว า ม

เคารพ

บุคคลท่ัวไป เรียน ดิ ฉั น ผ ม ข อ แ ส ด ง

กระผม ความนบั ถือ

๗๑

หลักการจ่าหน้าซองจดหมาย
1. ท่อี ยู่ของผู้รบั จะต้องเขียนเรียงลาดับ ดังน้ี
ชือ่ นามสกุลของผู้รับ
บา้ นเลขที่ หมู่ที่
ถนนท่ตี ง้ั
ตาบลหรอื แขวง
อาเภอหรือเขต
จังหวดั และรหสั ไปรษณีย์
2. ทอ่ี ยู่ของผู้ส่ง จะต้องเขียนเรียงลาดับเช่นเดียวกันกับผู้รับ โดยจะ

เขียนไวด้ า้ นบนซ้ายของซองจดหมาย
3. แสตมป์ จะต้องติดแสตมป์ตามราคาท่ีไปรษณีย์กาหนด เพราะ

ถ้าหากติดไม่ครบน้ัน ผู้รับจะถูกปรับเป็น 2 เท่าของราคาแสตมป์ท่ีขาด
ไป

๗๒

ตวั อย่างรปู แบบการจ่าหน้าซองจดหมาย

ชอ่ื และทอ่ี ยู่ผู้สง่ ชอ่ื และท่อี ยู่ผู้รับ
นางสาวมะปราง วจิ ิตรโสภา นางสาวแกว้ เก้า เอยี ดรอด
๘๙/๒ หมู่ ๒ ตาบล ควนขนุน 239 ถ. ห้วยแกว้ ตาบลสุเทพ อาเภอ
อาเภอ เขาชัยสน จังหวดั พัทลุง เมอื งเชยี งใหม่ เชยี งใหม่ 50200
๙๓๑๓๐

๗๓

กิจกรรมท้ายบท

๑. ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี
๑.๑ จากบทอ่านเร่ือง จากเพื่อน…พาเยือนสวนศิลป์ถิ่นโนรา

นกั เรียนคิดว่ามะปรางมีลกั ษณะนสิ ัยอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

๑.๒ นกั เรียนคิดว่าการเขยี นจดหมายมีประโยชนอ์ ย่างไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
๒. ให้นักเรียนเขยี นจดหมายถึงญาตผิ ู้ใหญ่ จานวน ๑ ฉบบั
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

๗๔

๓. ให้นักเรียนทาแผนผังความคิดสรุปความรู้ท่ีได้รับจากเร่ืองการ
เขียนจดหมาย

บรรณานกุ รม

กญั ณฐา พงศพ์ ิรยิ ะวนชิ . (2559). การอ่านร้อยแก้วรอ้ ยกรองเชิง
นวัตกรรมศลิ ป.์ นนทบุรี : สมั ปชญั ญะ.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๕๕). ภาษาพาที ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖.
กรงุ เทพฯ : สกสค. ลาดพรา้ ว.

กานตต์ มิ า นราอาสน.์ (2560). ต้นกาเนิดโนรา : สานกั หอสมุดกลาง
มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง.

นมิ ิตชยั ชูป.ู (2559). การประกอบสร้างพืน้ ทศ่ี กั ดิส์ ทิ ธิ์ และ
พิธีกรรมของวัดเขียนบางแกว้ อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั
พัทลงุ : มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ.่

ภาพท่ี ๑ ภาพยาสมุนไพร. สบื ค้นเมือ่ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๔, จาก
www.otopphatthalung.blogspot.com/2016/07/opc.html.

ภาพที่ ๒ ภาพหนงั ตะลุง. สบื ค้นเมอื่ วันท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๖๔, จาก
www.otopphatthalung.blogspot.com/2016/07/opc.html.

บรรณานกุ รม

ภาพท่ี ๓ ภาพพระธาตเุ จดียว์ ดั เขียนบางแกว้ . สืบค้นเมือ่ วนั ท่ี ๑
มีนาคม ๒๕๖๔, จากwww.thairath.co.th/news/local/
south/1907355.

ภาพที่ ๔ ภาพพระธาตเุ จดีย์วดั เขียนบางแก้ว. สบื คน้ เมือ่ วันที่ ๑
มีนาคม ๒๕๖๔, จาก www.thairath.co.th/news/local/
south/1907355.

ภาพท่ี ๕ ภาพการแหผ่ ้าขึน้ ธาตุ. สบื ค้นเมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๔,
จาก www.thairath.co.th/news/local/south/1907355.

ภาพท่ี ๖ ภาพการแสดงมโนราห์. สบื ค้นเมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๔,
จาก www.thairath.co.th/news/local/south/1907355.

ภาพที่ ๗ ภาพการกวนข้าวมธปุ ายาส. สบื ค้นเมือ่ วันท่ี ๑ มีนาคม
๒๕๖๔, จาก www.thairath.co.th/news/local/south/1907355.

ภาพท่ี ๘ ภาพโนราท่สี วนศิลปถ์ ่นิ โนรา. ถ่ายเมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์
๒๕๖๔, จาก นางสาวฐานญิ า วิจติ รโสภา.

บรรณานกุ รม

ภาพท่ี ๙ ภาพโนราท่สี วนศิลปถ์ น่ิ โนรา. ถ่ายเมือ่ วันที่ ๑๓ กุมภาพนั ธ์
๒๕๖๔, จาก นางสาวฐานญิ า วิจติ รโสภา.

วัฒนธรรม พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ เอกลักษณ์และภมู ิปัญญา
จงั หวดั พทั ลงุ . (2544). กรุงเทพ : โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว.

สายใจ ทองเนยี ม. (2560). ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร. กรุงเทพฯ : ซี
เอ็ดยเู คชั่น.

สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั พัทลุง. (2562). ประเพณีท้องถน่ิ . สบื ค้น
เมือ่ วันที่ 15 กมุ ภาพันธ์ 2564, จาก www.m-
culture.go.th/phatthalung/ewt_news.php?nid=1635&filename.

สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (ม.ป.ป.). หนังสือเรียน รายวิชา
พ้นื ฐานภาษาไทยหลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๑. กรงุ เทพฯ
: อักษรเจริญทัศน.์

แดนดิน…ถ่นิ เมอื งเขาชัยสน

เมืองเขาชยั สน ผู้คนลน้ หลาม
เลือ่ งชือ่ ลือนาม งดงามประเพณี
แห่ผ้าขึ้นหม่ พระบรมเจดีย์
ขนบวิถี เปน็ ที่สืบมา
พกั ผ่อนกายา
บ่อน้าพรุ อ้ น แวะมาเยือนกัน
รักษาโรคา แต่งทาสร้างสรรค์
สวนศิลป์โนรา เรียงกันมากมาย
ท้ังสวน รปู ปัน้ โนราเหลือหลาย
อนุรกั ษ์ไว้ร่วมกนั
สะท้อนคณุ ค่า ผู้คนแบ่งปัน
เอกลักษณ์ชาวใต้ ชว่ ยกันดูแล
เมืองเขาชยั สน เป็นที่เกา่ แก่
เมืองเขาเรานั้น ไมแ่ พถ้ ิน่ ใด
ชวนคนหลงใหล
เมืองเขาเรานี้ เมื่อได้มาเยือน
วัฒนธรรมงามแท้
เสน่ห์เขาชยั สน
ผู้คนสุขใจ

(ฐานิญา วิจิตรโสภา)


Click to View FlipBook Version