แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 6
การใช้บริการบนอินเทอรเ์ น็ต
คำช้ีแจง ใหเ้ ลือกคำตอบท่ีถูกตอ้ งทีส่ ดุ เพียงคำตอบเดียว
1. อินเทอร์เนต็ หมายถึงข้อใด
ก. การส่งสญั ญาณเพือ่ ส่ือสารกัน
ข. ช่อื เรียกกล่มุ ของคอมพิวเตอร์
ค. การนำเครือข่ายหลายเครือข่ายมาเช่อื มโยงกนั ทวั่ โลก
ง. การค้นควา้ หาข้อมูล
จ. การจัดเกบ็ ข้อมลู
2. การเชือ่ มต่อเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์หลาย ๆ เครือข่ายเข้าดว้ ยกันต้องใช้อุปกรณ์ในข้อใด
ก. โทรทศั น์ ข. โทรศพั ท์
ค. ดาวเทยี ม ง. วิทยุ
จ. ถกู ทัง้ ข้อ ก. และ ข้อ ข.
3. การเขา้ ไปดขู ้อมลู ตา่ ง ๆ ในเวบ็ ไซต์ ต้องใชโ้ ปรแกรมใด
ก. ลินกุ ซ์ ข. เอก็ เซล
ค. เวิร์ด ง. บราวเซอร์
จ. การนำเสนอข้อมลู
4. [email protected] ในที่น้ี com หมายถึงขอ้ ใด
ก. สถาบันการเงนิ ข. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์แม่ข่าย
ค. ที่, ที่อยู่ ง. ชอ่ื ผ้สู ่งหรอื ผู้รับจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์
จ. สถาบันธุรกิจ
5. [email protected] ในที่นี้ yahoo หมายถึงข้อใด
ก. สถาบนั ธุรกจิ ข. เครื่องคอมพวิ เตอร์แม่ข่าย
ค. ที่, ท่ีอยู่ ง. ช่อื ผสู้ ่งหรอื ผ้รู ับจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์
จ. สถาบันการเงนิ
6. ใครปฏิบตั ติ นไมเ่ หมาะสม ในการใช้อินเทอร์เน็ต
ก. บวิ ไมด่ ูภาพท่ีไม่เหมาะสม
ข. แจ๊กใชภ้ าษาท่สี ุภาพ
ค. นม่ิ รบี แจ้งคุณครเู มื่อพบปัญหาจากการใช้อนิ เทอรเ์ นต็
ง. นกน้อยค้นหาขอ้ มลู เก่ียวกับสมนุ ไพรไทย
จ. นิดแอบนัดพบกับต๋อยทีร่ จู้ ักกนั ทางอนิ เทอร์เน็ต
7. การส่งจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์แตกต่างจากการสง่ จดหมายธรรมดาอยา่ งไร
ก. มีหวั เรือ่ ง ข. ตอ้ งพิมพ์เนื้อความของจดหมาย
ค. สามารถส่งภาพเคลื่อนไหวและเสียงได้ ง. มีท่อี ยู่ผรู้ ับ
จ. ถกู ทุกข้อ
8. เครอื ข่ายของคอมพวิ เตอร์มีลกั ษณะเหมือนส่งิ ใด
ก. ผีเส้อื ข. กา้ งปลา
ค. รงั ผงึ้ ง. ระบบสรุ ิยะ
จ. ใยแมงมุม
9. อปุ กรณ์ใดใชใ้ นขณะเช่ือมตอ่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ก. โมเด็ม ข. ดาวเทยี ม
ค. โทรศัพท์ ง. วทิ ยุ
จ. ถกู ทง้ั ข้อ ก. และ ข้อ ข.
10. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ในการตดิ ตั้งอนิ เทอรเ์ นต็
ก. เสาอากาศ ข. สายโทรศัพท์
ค. คอมพวิ เตอร์ ง. โมเดม็
จ. สายแลน
11. โปรแกรมทใี่ ช้สำหรบั แสดงภาพและเสียงบนอินเทอรเ์ น็ตคือโปรแกรมใด
ก. Excel ข. Linux
ค. Browser ง. Word
จ. ถูกทุกข้อ
12. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ขอ้ แตกต่างของไปรษณยี อ์ เิ ล็กทรอนิกสก์ บั ไปรษณีย์ธรรมดา
ก. รูปแบบการเขยี น ข. การใสท่ ่ีอยู่ของผูร้ บั
ค. การส่งภาพเคลื่อนไหว ง. การนำส่งโดยบรุ ุษไปรษณีย์
จ. ถกู ทัง้ ข้อ ค. และ ข้อ ง.
13. ขอ้ ใดไม่ควรปฏบิ ตั ิในการใชอ้ นิ เทอร์เน็ต
ก. นำขอ้ มูลของผู้อืน่ มาเผยแพร่
ข. อา่ นข้อความท่ีเหมาะสมกับวัย
ค. ไม่บอกข้อมลู ส่วนตวั กบั คนที่ร้จู ักกันทางอนิ เทอร์เน็ต
ง. ไมใ่ ช้คำหยาบในการสนทนาในอนิ เทอร์เน็ต
จ. ใช้คำทส่ี ภุ าพในการสนทนา
14. พาณิชย์อิเล็กทรอนกิ ส์หมายถงึ ข้อใด
ก. การพาณชิ ย์ทใ่ี ชก้ ารสอ่ื สารผ่านระบบเครือข่ายอเิ ลก็ ทรอนิกส์
ข. การพาณชิ ย์ท่ีใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเป็นส่อื กลยทุ ธ์การซอ้ื เท่าน้ัน
ค. การพาณิชยท์ ี่ใช้สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์กระจายสินคา้ ในตลาดสนิ คา้ อุปโภคบรโิ ภค
ง. การพาณิชยท์ ี่ใชส้ ่อื อิเล็กทรอนิกสก์ ระจายสินค้าในตลาดอตุ สาหกรรม
จ. การพาณิชย์ที่ใช้อินเทอร์เน็ตเปน็ สอื่ กลยทุ ธ์การซ้อื ขายเท่าน้ัน
15. โปรแกรมใดใชใ้ นการคน้ หาขอ้ มลู บนอินเทอร์เนต็
ก. Search Engine ข. Web Editor
ค. World Wide Web ง. Web Browser
จ. ไม่มขี ้อใดถูก
หนว่ ยท่ี 6
การใช้บรกิ ารบนอินเทอร์เนต็
หวั ข้อเรอ่ื ง (Topics)
6.1 ความหมายของอินเทอร์เนต็
6.2 ความสำคัญของอินเทอร์เน็ต
6.3 ประวัติของอนิ เทอรเ์ นต็
6.4 แนวทางการใช้บริการบนอนิ เทอร์เนต็
แนวคิดสำคัญ (Main Idea)
การทม่ี รี ะบบอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารขอ้ มลู จากท่หี น่งึ ไปยงั อีกทีห่ นงึ่ ได้ โดยไม่
จำกัดระยะทาง ส่งข้อมูลไดห้ ลายรูปแบบท้งั ข้อความตัวหนังสอื ภาพ และเสยี ง โดยอาศัยเครอื ข่ายโทรคมนาคม
เป็นตวั เชื่อมต่อ เครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตนับเปน็ อภริ ะบบเครือข่ายท่ีย่ิงใหญม่ าก มีเครือ่ งคอมพิวเตอรห์ ลายล้าน
เครอ่ื งทว่ั โลกเชอ่ื มต่อกับระบบ ทำใหค้ นในโลกทุกชาติทุกภาษาสามารถติดตอ่ สื่อสารกันไดโ้ ดยไมต่ ้องเดินทาง
ไปโลกทงั้ โลกเปรียบเสมือนบ้านหลังหนึ่งที่ทกุ คนในบ้านสามรถพดู คยุ กันได้ตลอด 24 ช่ัวโมง ประหยดั เวลา
และค่าใช้จ่าย แต่เกิดประโยชน์ต่อสังคมโลกปัจจบุ นั มาก ซง่ึ จะเห็นไดว้ ่าอินเทอรเ์ นต็ มีความสำคญั กบั
ชวี ติ ประจำวันของทุกคน ไม่ว่าจะเปน็ สว่ นบุคคลหรอื หน่วยงานองค์กรต่าง ๆในหน่วยนีจ้ ะกลา่ วถึงการใช้
บรกิ ารบนอินเทอร์เน็ตเพื่อเป็นแนวทางในการใช้บริการบนอินเทอรเ์ น็ตให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพ
สงู สุด
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
แสดงความร้เู ก่ียวกับการใชบ้ ริการบนอินเทอร์เน็ต
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives)
1. บอกความหมายของอนิ เทอร์เน็ตได้
2. บอกความสำคญั ของอินเทอรเ์ น็ตได้
3. บอกประวัติของอนิ เทอรเ์ น็ตได้
4. ใชบ้ ริการเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web : WwW) บนอนิ เทอรเ์ นต็ ได้
5. ใชบ้ รกิ ารจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Mail : E-Mail) บนอินเทอร์เนต็ ได้
6. ใช้บริการค้นหาข้อมลู (Search Engine) บนอนิ เทอร์เน็ตได้
7. ใชบ้ ริการสนทนา (Instant Message) บนอินเทอรเ์ นต็ ได้
8. ใชบ้ รกิ ารควบคมุ ระยะไกล (Telnet) บนอินเทอรเ์ นต็ ได้
9. ใชบ้ ริการโอนย้ายไฟล์ (File Transfer Protocol : FTP) บนอนิ เทอร์เน็ตได้
10. ใชบ้ รกิ ารกระดานข่าว (Webboard) บนอินเทอร์เน็ตได้
เน้ือหาสาระ (Content)
6.1 ความหมายของอินเทอร์เน็ต
อนิ เทอรเ์ นต็ (Internet) ย่อมาจากคำว่า “International Network” หรอื “Inter Connection
Network” ซง่ึ หมายถึง เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ทเ่ี ช่ือมโยงเครือข่ายคอมพวิ เตอรท์ ว่ั โลกเข้าไวด้ ว้ ยกัน
เพื่อใหเ้ กิดการสอื่ สารและการแลกเปลีย่ นขอ้ มูลร่วมกนั โดยอาศยั ตัวเช่อื มเครือข่ายภายใต้มาตรฐานการ
เชือ่ มโยงเดยี วกัน นั่นก็คือ TCP/IP Protocol ซึง่ เปน็ ข้อกำหนดวิธีการติดตอ่ สื่อสารระหว่างคอมพิวเตอรใ์ น
ระบบเครือข่ายซ่ึงโปรโตคอลน้ีจะช่วยให้คอมพวิ เตอร์ที่มีฮารด์ แวรท์ ่ีแตกต่างกันสามารถติดต่อถึงกันได้
6.2 ความสำคัญของอิเทอร์เนต็
ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีความสำคัญตอ่ ชวี ิตประจำวันของคนเราหลาย ๆ ดา้ น ท้งั การศึกษา พาณิชย์ ธุรกรรม
วรรณกรรม และอ่ืน ๆ ดังน้ี
6.2.1 ดา้ นการศกึ ษา
1. สามารถใช้เปน็ แหลง่ ค้นคว้าหาขอ้ มลู ไมว่ ่าจะเป็นขอ้ มูลทางวิชาการ ข้อมูลดา้ นการบนั เทงิ ดา้ น
การแพทย์ และอื่น ๆ ท่นี า่ สนใจ
2. ระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต จะทำหน้าที่เสมอื นเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
3. นักศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั สามารถใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ตดิ ตอ่ กบั มหาวิทยาลยั อน่ื ๆ เพอ่ื ค้นหาข้อมลู ท่ี
กำลังศึกษาอยูไ่ ด้ ท้ังข้อมูลทีเ่ ปน็ ข้อความ เสียง ภาพเคลอ่ื นไหวต่าง ๆ เป็นตน้
6.2.2 ดา้ นธุรกจิ และการพาณิชย์
1. ค้นหาขอ้ มูลต่าง ๆ เพื่อชว่ ยในการตดั สินใจทางธรุ กจิ
2. สามารถซ้ือขายสินค้าผ่านระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต
3. ผใู้ ชท้ ่เี ป็นบรษิ ทั หรือองค์กรต่าง ๆ กส็ ามารถเปดิ ให้บริการและสนับสนนุ ลูกคา้ ของตนผา่ นระบบ
เครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตได้ เช่น การใหค้ ำแนะนำ สอบถามปัญหาต่าง ๆ ใหแ้ ก่ลูกค้า แจกจ่ายตวั โปรแกรมทดลอง
ใช้ (Shareware) หรอื โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เปน็ ต้น
6.2.3 ด้านการบนั เทิง
1. การพักผอ่ นหย่อนใจ สนั ทนาการ เชน่ การคน้ หาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่
เรียกว่า Magazine Online รวมท้งั หนังสือพิมพ์ และข่าวสารอ่นื ๆ โดยมภี าพประกอบทจ่ี อคอมพิวเตอร์
เหมือนกับวารสารตามรา้ นหนังสอื ท่วั ๆ ไป
2. สามารถฟังวทิ ยุผ่านระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตได้
3. สามารถดงึ ข้อมูล (Download) ภาพยนตร์ตวั อย่างทัง้ ภาพยนตร์ใหม่และเก่ามาดูได้
จากเหตผุ ลดังกลา่ วพอจะสรุปไดว้ ่าอนิ เทอรเ์ น็ตมีความสำคญั ในรปู แบบ ดงั นี้
1. การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมยั
2. การติดตอ่ สือ่ สารที่สะดวกและรวดเรว็
3. แหล่งรวบรวมขอ้ มลู แหลง่ ใหญ่ทสี่ ดุ ของโลก
โดยสรุป อนิ เทอร์เน็ตได้นำมาใชเ้ ป็นเคร่ืองมือทจี่ ำเป็นสำหรับงานไอที ทำใหเ้ กิดช่องทางในการเขา้ ถงึ
ขอ้ มูลท่ีรวดเรว็ ชว่ ยในการตดั สินใจ และบริหารงานทงั้ ระดับบคุ คลและองค์กร
6.3 ประวตั ิของอนิ เทอร์เน็ต
เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตถือกำเนิดมาในยคุ สงครามเย็น ระหว่างสหรฐั อเมริกากบั รสั เซยี ในปี ค.ศ. 1960 ซ่งึ
กระทรวงกลาโหมประเทศสหรฐั อเมรกิ าเห็นวา่ ระบบคอมพิวเตอรส์ ำหรับส่ังการต้องเป็นระบบเครือขา่ ยท่ีใช้
งานไดต้ ลอดเวลา หากมกี ารโจมตดี ้วยระเบิดปรมาณูทีเ่ มืองใดเมอื งหน่ึง ระบบคอมพิวเตอร์บางสว่ นอาจถูก
ทำลายแตส่ ่วนทีเ่ หลอื ทำงานได้ เป้าหมายการวิจยั และการพฒั นาเครือขา่ ยคอมพิวเตอรด์ ังกลา่ วจงึ กลายเปน็
โครงการชื่อ ARPANET หรือ Advance Research Project Agency Network โดยมอบหมายให้กลุม่
มหาวทิ ยาลยั ในสหรฐั อเมริกาเป็นผู้ทำการวิจัยและเชื่อมโยงเครือข่าย
ในปี ค.ศ. 1983 ได้มีการนำ TCP/IP Protocol หรอื Transmission Control Protocol มาใชก้ บั
คอมพวิ เตอร์ทุกเคร่ืองในระบบเป็นครัง้ แรก จนกระท่งั ไดก้ ลายเป็นมาตรฐานในการติดตอ่ ในระบบเครือข่าย
อินเทอรเ์ น็ตมาจนถงึ ปัจจุบนั
ในปี ค.ศ. 1986 มกี ารกำหนดชอื่ โดเมน (Domain Name System) เพือ่ สรา้ งฐานขอ้ มลู ในแตล่ ะ
เครือข่าย และใช้ ISP (Internet Service Provider) ในการจดั ทำฐานข้อมลู ของตนเอง
ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ทัว่ โลกลว้ นแต่เชือ่ มตอ่ กับเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต และสามารถติดต่อแลกเปล่ียน
ขอ้ มลู กันได้อย่างกว้างขวางและทัว่ ถึงกัน
อินเทอรเ์ นต็ ในประเทศไทย
ประเทศไทยไดเ้ ร่มิ ติดตอ่ กบั อินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ในลกั ษณะการใชบ้ รกิ ารจดหมายเล็กทรอ
นิกส์แบบแลกเปลีย่ นถุงเมลเป็นครั้งแรก โดยเร่มิ ที่มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (Prince of
Songkla University) และสถาบันเทคโนโลยแี หง่ เอเชยี หรอื สถาบนั เอไอที (AIT) ภายใต้โครงการความร่วมมือ
ระหวา่ งประเทศไทยและออสเตรเลีย (โครงการ IDP) ซ่ึงเป็นการติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศพั ท์ จนกระท่ังปี
พ.ศ.2531 มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ ไดย้ น่ื ขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยไดร้ ับ
ทอ่ี ยู่อินเทอร์เนต็ Sritrang.psu.th ซึง่ นับเปน็ ทอ่ี ยูอ่ ินเทอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534
บรษิ ทั DEC (Thailand) จำกัด ได้ข้อที่อยู่อินเทอรเ์ น็ตเพือ่ ใช้ประโยชนภ์ ายในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่
อินเทอร์เน็ตเปน็ dect.co.th โดยท่คี ำ “th” เปน็ สว่ นที่เรียกวา่ โดเมน (Domain) ซ่ึงเปน็ ส่วนทแ่ี สดงโซนของ
เครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ ในประเทศไทย โดยย่อมาจากคำวา่ Thailand
กลา่ วไดว้ า่ การใช้งานอนิ เทอร์เน็ตชนิดเต็มรปู แบบตลอด 24 ชัว่ โมง ในประเทศไทยเกิดขนึ้ เปน็ คร้ังแรก
เมอ่ื เดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบนั วทิ ยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ไดเ้ ช่าวงจรสื่อสาร
ความเรว็ 9600 บติ ต่อวนิ าที จากการสอ่ื สารแหง่ ประเทศไทย เพื่อเช่ือมเขา้ ส่อู ินเทอรเ์ น็ตท่บี ริษทั ยยู ูเน็ต
เทคโนโลยี (UUNET Technologies) ประเทศสหรัฐอเมริกา
ในปีเดยี วกัน ได้มีหนว่ ยงานทเ่ี ชอื่ มต่อแบบออนไลน์กบั เครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
หลายแห่งดว้ ยกนั ได้แก่ สถาบนั เทคโนโลยแี ห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยมหดิ ล สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม
เกล้าวิทยาเขตเจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ และมหาวทิ ยาลัยอัสสมั ชัญบรหิ ารธรุ กิจ โดย
เรียกเครอื ข่ายนว้ี า่ เครือข่าย “ไทยเน็ต” (THAInet) ซึ่งนับเป็นเครอื ข่ายทีม่ ี “เกตเวย”์ (Gateway) หรือประตู
สู่เครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ เป็นแห่งแรกของประเทศไทย (ปัจจบุ นั เครือข่ายไทยเน็ตประกอบดว้ ยสถาบันการศึกษา
4 แหง่ เทา่ นั้น สว่ นใหญ่ย้ายการเช่อื มโยงอนิ เทอรเ์ นต็ โดยผา่ นเนคเทค (NECTEC) หรอื ศนู ยเ์ ทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกสแ์ ละคอมพิวเตอร์แหง่ ชาต)ิ
รปู ที่ 6.1 เครอื ขา่ ยไทยเน็ต (THAInet)
ปี พ.ศ. 2535 เช่นกัน เปน็ ปีเรมิ่ ต้นของการจดั ต้งั กลมุ่ จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์เพ่ือการศึกษาและวจิ ัย
โดยมีชือ่ ว่า “เอน็ ดับเบลิ ยูจ”ี (NWG : NECTEC E–mail Working Group) โดยการดูแลของเนคเทค และได้
จัดตง้ั เครอื ข่ายช่อื ว่า “ไทยสาร” (ThaiSarn : Thai Social/Scientific Academic and Research Network)
เพ่ือการติดต่อส่ือสารและแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ข่าวสารระหวา่ งกนั โดยเริ่มแรกประกอบดว้ ยสถาบนั การศึกษา 8
แห่ง ปจั จบุ นั เครอื ข่ายไทยสารเชือ่ มโยงกบั สถาบันต่าง ๆ กวา่ 30 แห่ง ท้ังสถาบันการศึกษาและหน่วยงานของ
รัฐ
รปู ท่ี 6.2 เครือขา่ ยไทยสาร (ThaiSan)
ปัจจุบันได้มผี ูร้ ู้จักและใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตมากขึ้น มีอัตราการเติบโตมากกวา่ 100% สมาชกิ ของ
อนิ เทอร์เน็ตขยายจากอาจารยแ์ ละนิสิตนกั ศึกษาในระดับอุดมศกึ ษาไปสปู่ ระชาชนทว่ั ไป
6.4 แนวทางการใช้บริการบนอินเทอรเ์ น็ต
6.4.1 บรกิ ารเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web : WWW)
เครือข่ายใยแมงมมุ เป็นการเขา้ สู่นะบบข้อมูลในรปู ของ Interactive Multimedia คือ มที ้ังรูปภาพ
ขอ้ ความ ภาพเคล่ือนไหว เสียง และวดิ โี อ อีกทงั้ ข้อมลู เหลา่ นี้ยงั ใช้ระบบทเ่ี รียกวา่ Hypertext กลา่ วคือ จะมีคำ
สำคัญหรือรปู ภาพในข้อมูลน้ันที่จะชว่ ยใหเ้ ขา้ สูร่ ายละเอยี ดทลี่ ึกและกว้างขวางยิ่งข้นึ คำสำคัญดงั กล่าวจะเปน็
คำทเ่ี ปน็ ตวั หนาหรอื ขดี เส้นใต้ เพียงแต่คลกิ ท่คี ำท่ีเปน็ ตวั หนาหรอื ขดี เส้นใต้น้ัน ๆ ก็สามารถเขา้ สขู่ ้อมลู เพ่มิ เติม
ได้ (ข้อมลู เหลา่ นี้จะมีผ้สู รา้ งข้ึนมาและเก็บไว้ในคอมพิวเตอรต์ ่าง ๆ ทั่วโลก)
การบรกิ ารข้อมูลแบบเครือขา่ ยใยแมงมุม เป็นการสื่อสารทีเ่ ติบโตเรว็ ที่สุดในอนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ยเหตุผลทส่ี ำคัญ
คอื ง่ายต่อการใช้งานและสามารถนำเสนอข้อมลู กราฟิกได้ การใช้ World Wide Web เปรยี บเสมอื นการเขา้ ไป
อา่ นหนงั สือในห้องสมุดโดยหนงั สือท่มี ีให้อา่ นจะสมบรู ณ์มากกวา่ หนงั สือท่วั ไป เพราะสามารถฟังเสียงและดู
ภาพเคล่อื นไหวประกอบได้ นอกจากสามารถโตต้ อบกับผู้อ่านไดด้ ้วย ลกั ษณะเดน่ อีกประการหนงึ่ คอื ขอ้ มลู ต่าง
ๆ จะมีการเชื่อมโยงถึงกนั ไดด้ ้วยคณุ สมบัตขิ อง Hypertext Link
การใชง้ านอนิ เทอร์เน็ตแบบ WWW (World Wide Web) เปน็ เครื่องมือในการให้บริการขอ้ มลู ขา่ วสาร
บนอินเทอร์เนต็ ท่ีใช้ได้ง่าย สามารถชมได้ท้ังภาพน่ิง เสียง วดิ โี อ แมแ้ ตส่ ่งข้อความหรอื จะสง่ั อาหารก็ได้
ในปัจจบุ ันมีโปรแกรมในลักษณะของ WWW อยูห่ ลายตวั และหลายเวอรช์ ั้นมากมาย แต่ละตวั จะ
เหมาะกบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์หลากหลายชนิด โปรแกรมทจ่ี ะพาผูใ้ ชเ้ ข้าถึงบริการในลักษณะของ WWW
เรียกวา่ “บราวเซอร์” (Browser) ตามลกั ษณะของการใช้บรกิ ารดงั กลา่ วที่ดูเสมือนการเปดิ หนงั สอื ดไู ปทีละ
หน้าเหมือนการใช้ Online Help น่นั เอง
1. สิ่งทค่ี วรรูใ้ นการใช้งานโปรแกรม Internet Explorer
(1) คำศพั ทท์ ่คี วรรกู้ ่อนการใช้งานอินเทอรเ์ น็ต
(2) การสบื คน้ ข้อมลู จากอนิ เทอร์เน็ตโดยใช้ Search Engine
(3) การดาวนโ์ หลดโปรแกรมและข้อมูล
(4) การใช้งานอินเทอร์เน็ต
(5) การใชง้ านโปรแกรม Internet Explorer
(6) การเชอ่ื มต่อเขา้ ส่อู ินเทอร์เน็ตจำเปน็ ต้องมีบราวเซอรเ์ พ่ือทำหน้าท่ีเชื่อมโยงไปยงั เว็บเพจทต่ี ้องการ ในทน่ี ้ี
จะใช้โปรแกรม Internet Explorer ซึง่ เป็นบราวเซอร์ท่ตี ิดต้งั มาพร้อมกบั การตดิ ตง้ั วนิ โดวส์อยูแ่ ล้ว
รูปท่ี 6.3 สว่ นประกอบของโปรแกรม Internet Explorer
(ทม่ี า : https://who.int)
2. สว่ นประกอบของโปรแกรม Internet Explorer
(1) ปมุ่ ควบคุม (Control Button) ใช้ย่อ–ขยายขนาด และปดิ หน้าต่าง
(2) แถบเครอื่ งมือแอดเดรส (Address Toolbar) เป็นแถบเครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการกรอกแอดเดรสเพือ่ ท่อง
อนิ เทอร์เนต็
(3) แถบเครื่องมอื มาตรฐาน (Standard Toolbar) เปน็ แถบเคร่อื งมือทมี่ กี ารนำปมุ่ คำสงั่ ทใี่ ชง้ านบ่อย
ๆ มาเกบ็ ไว้ ผใู้ ช้สามารถใชง้ านได้โดยคลิกไปทปี่ ุ่มคำสงั่ ที่ต้องการ
(4) แถบเมนู (Menu Bar) เป็นแถบที่รวบรวมคำส่ังการทำงานไว้ในเมนู ผ้ใู ช้สามารถใชง้ านไดโ้ ดยการ
คลิกเลอื กเมนแู ล้วคลิกคำส่งั ที่ต้องการ
(5) แถบเคร่อื งมอื เสรมิ (Add–On Toolbar) เป็นแถบเคร่ืองมือท่ผี ใู้ ชต้ ิดตัง้ เพ่ิมเพ่ือใชเ้ ป็นเครือ่ งมือ
เสรมิ และอำนวยความสะดวกในการใช้งานบราวเซอร์
(6) แถบคำสั่ง (Command Bar) เปน็ แถบทม่ี ปี ุ่มคำสงั่ เพอื่ ดำเนินการกับเว็บเพจ เชน่ กำหนดเวบ็ เพจ
ใดเว็บเพจหนงึ่ ให้เป็นโฮมเพจ การพิมพ์ การส่งอเี มล ความปลอดภยั การจัดการเครื่องมือ ข้อมูลช่วยเหลอื การ
ใชง้ าน เปน็ ต้น
(7) แถบเลื่อน (Scroll Bar) จะปรากฏขน้ึ มาในกรณที ่เี น้ือหาของเวบ็ เพจยาวกวา่ จะบรรจุในหน้าเดียว
ได้ เม่อื กดเมาสท์ แ่ี ถบเลือ่ น และเล่อื นเมาส์ขน้ึ –ลงจะสามารถดูเอกสารทีเ่ หลอื อยดู่ ้านลา่ งได้
(8) เว็บเพจ (Webpage) เป็นเอกสารที่ใชน้ ำเสนอข้อมลู บนอินเทอรเ์ น็ต ซงึ่ สามารถนำเสนอได้ดว้ ยเบ
ราเซอร์ Internet Explorer เป็นต้นโดยที่บราวเซอร์จะแสดงสญั ลกั ษณ์ (มุมบนดา้ นขวา) แสดง
การทำงานของหน้าต่าง ถ้าหนา้ ตา่ งกำลังนำหน้าเอกสาร (ดาวน์โหลด) มายังเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ สญั ลักษณ์จะมี
การเคลอ่ื นไหว
(9) แถบสถานะ (Status Bar) เปน็ แถบท่ีแสดงลงิ ก์ข้อมลู ตา่ ง ๆ ที่เลือ่ นเมาสไ์ ปวางและเปอร์เซ็นตก์ าร
ปรับขนาดหน้าเว็บ (Zoom)
การใช้ ICT ข้นั พ้นื ฐานสำหรับคนพิการทางการมองเห็น โดยกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
สอื่ สาร การนำคอมพิวเตอร์เขา้ มาใช้ในการศึกษา ไม่วา่ จะกับผ้ใู ช้งานท่ีมขี ้อจำกัดในการใชง้ านแบบใด
คอมพวิ เตอร์จะชว่ ยเพ่ิมความสนใจในการเรยี นรวมถึงการไดร้ ับข่าวสารข้อมูลทที่ นั สมยั จากระบบเครอื ข่าย
และปัจจุบันมีการพัฒนาโปรแกรมต่าง ๆ เพ่อื ใชร้ ว่ มและเป็นประโยชน์กบั การศึกษา อีกท้งั ระบบปฏิบตั ิการ
วินโดวสไ์ ดพ้ ฒั นาคณุ สมบตั ิใหม่ ๆ มากมาย เพื่อเสริมสร้างทกั ษะการส่ือสาร การแกไ้ ขปัญหาในการใช้งาน คน
พิการทางการมองเห็นจึงสามารถเลือกใช้คณุ สมบัติเหล่านี้ได้ตามความเหมาะสมกบั ผ้ใู ช้งาน นอกจากน้ี
คณุ สมบัตทิ ี่เสรมิ เขา้ มาของระบบปฏบิ ัติการวินโดวส์ยงั สามารถนำมาใชง้ านร่วมกับระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์
และระบบอินเทอร์เน็ตได้ ซงึ่ จะชว่ ยในการพัฒนาศักยภาพของคนพิการทางการมองเหน็ และเพิ่มชอ่ งทางใน
การส่อื สารได้อีกดว้ ย
3. คำศัพทท์ ่ีควรรูก้ อ่ นการใช้งานอนิ เทอร์เน็ต
(1) ไอพีแอดเดรส (IP Address) เป็นหมายเลขท่มี ลี ักษณะเปน็ เลขชดุ ทไี่ ม่ซำ้ กนั และจะมอี ยู่พยี งชดุ
เดยี วในโลกเท่า นน้ั โดยไอพแี อดเดรสจะอยู่ในรปู ของตัวเลขส่ีชดุ และคั่นแตล่ ะชดุ ไว้ด้วยจุด (.) เชน่
128.121.4.5 ใช้สำหรับการอ้างอิงท่อี ยู่ของอปุ กรณ์เครอื ข่ายและคอมพวิ เตอร์ในอินเทอรเ์ นต็ โดเมนเนม
(Domain Name) ถึงแมว้ ่าไอพีแอดเดรสจะสามารถอ้างอิงไปยังคอมพิวเตอรเ์ ครื่องใด ๆ ก็ไดใ้ นโลก
อนิ เทอรเ์ นต็ แตก่ จ็ ำไดย้ ากเนือ่ งจากเปน็ ตวั เลขลว้ น ๆ จงึ ได้มีการออกแบบใหใ้ ชช้ อื่ แทนไอพแี อดเดรส เพ่ือ
ความสะดวกในการจดจำซึ่งเรียกชอ่ื เหล่าน้ีว่า โดเมนเนม (Domain Name) เช่น www.cnn.com คือ โดเมน
เนมของสำนักข่าว CNN และ www.mcot.net คือ โดเมนเนมของสถานโี ทรทัศนช์ ่อง 9 เปน็ ต้น
โดยการต้ังช่ือโดเมนจะมีการกำหนดเป็นหมวดหม่ตู ามประเภทการใหบ้ รกิ าร ดงั น้ี
.com เป็นโดเมนเนมขององค์กรเอกชน
.edu เปน็ โดเมนเนมของสถานศึกษา
.gov เป็นโดเมนเนมของรฐั บาล
.org เป็นโดเมนเนมขององค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไร
.mil เปน็ โดเมนเนมขององค์กรทางทหาร
.net เปน็ โดเมนเนมขององค์กรท่ใี ห้บรกิ ารดา้ นเครอื ข่าย
(2) ตำแหนง่ อ้างองิ เวบ็ เพจ (URL : Uniform Resource Locator) คอื การนำเอาชอ่ื ของบรกิ ารมาต่อ
กับโดเมนเนม โดยคัน่ ไว้ด้วยเครื่องหมาย :// แลว้ นำมาต่อเข้ากบั ตำแหนง่ ที่จดั เก็บเอกสารในเวบ็ ไซตน์ น้ั โดย
ค่ันไว้ดว้ ยเครอ่ื งหมาย / เสมอ จงึ สามารถอา้ งอิงทุก ๆ อย่างในอนิ เทอร์เนต็ ได้
(3) เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) หรือโฮสต์ (Host) คอมพิวเตอรท์ ี่มีไอพีแอดเดรสเป็นของตัวเอง และ
ใช้เป็นทเ่ี ก็บเวบ็ เพจ คอยให้บรกิ ารเว็บเพจ
(4) เวบ็ เพจ เปน็ เอกสารที่ใชน้ ำเสนอข้อมลู บนอินเทอร์เน็ต เอกสารนจ้ี ะประกอบไปด้วยรปู ภาพ
ข้อความตา่ ง ๆ แสดงอยู่บนหน้าจอผ่านทางบราวเซอร์ ซึ่งในเวบ็ เพจหน้าหนึง่ ๆ จะประกอบไปด้วย
สว่ นประกอบดังนี้
(ก) ข้อความ (Text) คือ ข้อความที่ใช้อธิบาย อาจเป็นภาษาไทย ภาษาองั กฤษ หรือภาษาอ่นื ๆ ก็ได้
(ข) รปู ภาพ (Image) คือ รูปทใ่ี ชต้ กแต่งหรือประกอบการอธบิ ายขอ้ ความ
(ค) ลงิ ก์ (Link) คือ ข้อความหรอื รูปภาพที่มีลกั ษณะพิเศษ ท่ีจะสามารถเชอื่ มโยงไปสูเ่ ว็บเพจหน้า
อ่นื ๆ ได้ ท้งั ท่เี ป็นภายในเวบ็ เพจ เว็บไซต์ หรือต่างเวบ็ ไซต์กันก็ได้ สามารถตรวจสอบได้วา่ ส่วนใดในเว็บเพจที่
เป็นลงิ ก์ โดยการเล่อื นเมาสไ์ ปชี้ ถา้ ตวั ชเ้ี มาสเ์ ปลี่ยนเป็นรูปมือแสดงวา่ ส่วนน้นั เปน็ ลิงก์หรอื จุดเชื่อมโยง
(5) เวบ็ ไซต์ (Web Site) ที่เก็บเว็บเพจหลาย ๆ หนา้ ไว้รวมกนั เป็นเวบ็ หนึ่ง ๆ เชน่ เวบ็ ไซต์ Yahoo
4. วธิ ีการเข้าไปยังเวบ็ ไซต์ต่าง ๆ หากสังเกตโฆษณาและใบปลิวของบริษัทชั้นนำจะพบวา่ มขี ้อความสนั้ ๆ
แสดงที่อยู่ในอนิ เทอรเ์ น็ตประกอบอยดู่ ้วย เชน่ เมื่อชมรายการข่าวช่อง 9 อสมท กจ็ ะมกี ารกลา่ วถึงโฮมเพจของ
อสมท อยบู่ ่อยครงั้ โดยจะบอกที่อยบู่ นอินเทอร์เนต็ ด้วย คือ www.mcot.net เรยี กที่อยู่บนอนิ เทอรเ์ นต็ นีว้ ่า
แอดเดรส (Address) สามารถนำแอดเดรสที่ไดม้ าน้ีมาใชใ้ นการเข้าถงึ เวบ็ ไซต์ไดโ้ ดยคลิกทแ่ี ถบเคร่ืองมือ
แอดเดรส (Address Bar) ใส่ Address ลงในชอ่ ง โดยไมต่ อ้ งกรอก http:// นำหน้า เนื่องจากโปรแกรม
Internet Explorer จะระบุให้อตั โนมตั ใิ นตวั อย่างรูปที่ 6.4 เปน็ การกรอก www.moc.go.th เพือ่ ไปยัง เวบ็ ไซต์
กระทรวงพาณิชย์ กดปุม่ Enter ทแี่ ปน้ พิมพ์ เพ่ือยืนยนั วา่ จะไปยัง Address นัน้ ๆ รอการดาวน์โหลดสักครู่ เว็บ
เพจจะถกู ดาวน์โหลดข้นึ มา
รูปที่ 6.4 www.moc.go.th
6.4.2 บริการไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E–Mail)
ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นบรกิ ารหนึง่ บนอนิ ทอร์เนต็ ทค่ี นนยิ มใชก้ นั มาก คอื การส่งจดหมายโดยทาง
คอมพวิ เตอร์ถึงผทู้ ม่ี ีบัญชอี นิ เทอร์เน็ตด้วยกนั ไมว่ า่ จะอยูใ่ กลห้ รือไกลคนละซีกโลกจดหมายกจ็ ะไปถงึ อย่าง
สะดวกรวดเร็ว และงา่ ยดาย โปรแกรมที่ใช้ เชน่ Outlook, Gmail, ProtonMail และยงั มี Mail ตา่ ง ๆ ท่ี
ใหบ้ ริการอย่างมากมายในปจั จบุ นั ตามหนว่ ยงานหรอื องค์กรต่าง ๆ จดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื ทเ่ี รียกกนั วา่
E–mail เปน็ การสื่อสารที่นิยมใชก้ ันมาก เนอ่ื งจากผใู้ ช้สามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลทต่ี ้องการไดร้ วดเร็ว
ภายในระยะเวลาอันสน้ั ไมว่ า่ จะอยู่ในทที่ ำงานเดียวกันหรอื อยู่หา่ งกนั คนละมมุ โลกก็ตาม นอกจากนยี้ งั
สิน้ เปลืองคา่ ใชจ้ า่ ยน้อยมาก
1. องค์ประกอบของ E–mail Address ประกอบดว้ ย
(1) ชอ่ื ผู้ใช้ (Username)
(2) ช่อื โดเมน Username@domain_name
2. การใช้งานอีเมล สามารถแบ่งไดด้ ังน้ี
(1) Corporate E–mail คอื อีเมลทห่ี น่วยงานต่าง ๆ สร้างข้ึนใหก้ ับพนักงานหรือบุคลากรในองค์กรนัน้
เชน่ [email protected] คอื อเี มลของนักศึกษาของมหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต เป็นต้น
(2) Free E–mail คอื อีเมลท่ีสามารถสมัครได้ฟรตี าม Web Mail ตา่ ง ๆ เช่น Outlook, Yahoo Mail,
Gmail
รูปท่ี 6.5 ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E–Mail)
(ทมี่ า : http://www.mark4fund.com/e-mail/)
6.4.3 บริการค้นหาขอ้ มูล (Search Engine)
บรกิ ารคน้ หาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เปน็ เวบ็ ไซต์ท่มี ีเคร่ืองมือในการทจี่ ะค้นหาเวบ็ ไซต์ต่าง ๆ มาเก็บไว้
ในฐานข้อมูลของตวั เองโดยอัตโนมตั ิ เชน่ google.com หรอื bing.com ซ่ึงเคร่ืองมือนี้ มชี ือ่ เรียกว่า Search
Robot จะทำหนา้ ท่ีคอยวง่ิ เขา้ ไปอ่านข้อความจากหน้าเว็บไซต์ ของเว็บต่าง ๆ แลว้ นำมาจดั ลำดบั คำคน้ หา
(Index) ท่ีมีในเวบ็ ไซต์เหลา่ นั้น เกบ็ ไว้ในฐานข้อมูลของตนเอง เม่ือเราเข้าไปใช้บรกิ ารกบั Search Engine
1. การสืบค้นข้อมูลจากอนิ เทอร์เน็ตโดยใช้ Search Engine
ในปัจจบุ นั ขอ้ มลู ขา่ วสารต่าง ๆ มกี ารแพร่หลายในโลกของอนิ เทอร์เน็ตเพ่ิมมากขึน้ ทุกวันทำใหบ้ างครั้ง
การค้นหาข้อมลู ทตี่ ้องการ อาจคน้ หาไม่พบได้ จึงเกดิ ตัวช่วยในการค้นหาขึน้ มาหรือทเ่ี รียกว่า Search Engine
ซ่ึงเปน็ ตัวช่วยที่ทำให้เราสะดวกและประหยดั เวลาในการค้นหาขอ้ มูลที่ต้องการบนอินเทอร์เน็ตซงึ่ Search
Engine ท่ีมีชือ่ เสียงและมีการเรียกใช้งานบ่อย ๆ คือ Google เน่ืองจากใชง้ านง่ายและมคี ณุ สมบตั ิเพื่อช่วยใน
การคน้ หามากมาย เชน่ คน้ หาเฉพาะภาพ แปลภาษา คน้ หาเส้นทาง อีกท้งั ยงั สนับสนุนภาษาหลาย ๆภาษา ทำ
ให้ Google มีการแพรห่ ลายไปได้อยา่ งรวดเร็วน่ันเอง เช่น Google ประเทศไทย เป็น Google อยู่ซงึ่ ภายใต้
โดเมนของประเทศไทยซง่ึ ในหนา้ เวบ็ เพจจะมสี ัญลักษณท์ ี่บอกใหร้ ู้
รปู ท่ี 6.6 บริการคน้ หารูปภาพบนอินเทอร์เนต็ โดยใช้ Google
2. การค้นหาขอ้ มูลผา่ น Google
วิธกี ารค้นหาขอ้ มูลผา่ น Search Engine เพอื่ ให้ได้ผลลพั ธท์ ีใ่ กล้เคยี งกบั ทีต่ ้องการมากทสี่ ุดคือ ใช้
คำคน้ หาทีเ่ ก่ียวข้องกบั ขอ้ มูลทตี่ อ้ งการ หรือท่ีเรยี กว่า “คียเ์ วิรด์ ” (Keyword) ซ่ึงจะช่วยส่ือใหฐ้ านข้อมลู ของ
Google เข้าใจในสิ่งที่ทำการค้นหา และไม่ควรใชค้ ำค้นหาเป็นประโยคยาว ๆ หรือเป็นประโยคทมี่ ีลักษณะเป็น
คำพดู เช่น ถ้าตอ้ งการค้นหาข้อมลู เกยี่ วกับ “คอมพิวเตอร์แห่งชาติ” สามารถใชค้ ำน้ลี งไปไดเ้ ลย แต่ถ้าใส่คำคน้
แค่คำวา่ “คอมพวิ เตอร์” ผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ากการค้นหาจะมีจำนวนมาก และอาจไม่เกยี่ วขอ้ งใด ๆ เลยกับคำว่า
“คอมพวิ เตอร์แห่งชาติ” แตถ่ า้ มกี ารเน้นวา่ เปน็ “คอมพวิ เตอร์แห่งชาติ” จะได้ผลลัพธ์ทีม่ จี ำนวนนอ้ ยลง
เวบ็ ไซต์ใดท่ีไม่เก่ียวข้องกับคำว่า “คอมพิวเตอร์แห่งชาต”ิ จะไม่ถูกแสดงขนึ้ มานนั่ เองในการค้นหาขอ้ มูลบน
Search Engine สามารถใชเ้ ครอ่ื งหมายวรรคตอนได้ และในบางคร้งั ถือเปน็ สิง่ จำเปน็ ในการค้นหาอกี ด้วย เช่น
การคน้ หาโปรแกรม ACDSee สามารถใชค้ ำระบุไปว่า ACDsee +:*. exe ;.rar;.zip ได้ และยงั สามารถใช้คำ
สำคัญและคำเน้นในการค้นหาโดยใชเ้ คร่อื งหมายอัญประกาศ (“ ”) ได้ เชน่ “ACDsee v9” +:*.exe ;.rar ;.zip
ซึ่งจะเป็นการเนน้ ใหผ้ ลการค้นหาต้องมีคำวา่ “ACDsee v9” นนั่ เองส่วนเครอื่ งหมายที่มกี ารระบุไป เช่น ดอก
จัน (*) จะเปน็ การบ่งบอกถงึ ส่วนขยายของไฟล์โปรแกรมนั่นเอง เชน่ *.exe *.rar *.doc *.zip เป็นตน้
3. การดาวน์โหลดโปรแกรมและข้อมูล
เราสามารถดาวนโ์ หลดข้อมูลหรือโปรแกรมฟรีแวร์ (Freeware) ต่าง ๆ ไดจ้ ากอินเทอรเ์ นต็ เพอื่
นำมาใชง้ านหรอื ตดิ ต้ังทเี่ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ท่ีเราใชง้ านอยไู่ ด้ ซงึ่ มขี น้ั ตอนดงั น้ี
(1) เขา้ สโู่ ปรแกรมอินเทอร์เน็ต
(2) พมิ พช์ ่ือเว็บไซตท์ ีเ่ ป็น Search Engine ตัวอย่างเชน่ เวบ็ ไซต์ www.google.com
เพือ่ ทำการคน้ หาข้อมลู หรอื โปรแกรม
(3) เม่อื เขา้ สู่หนา้ Search Engine ใด ๆ แล้ว ให้พมิ พช์ ่ือโปรแกรมท่ีต้องการ เพ่ือทำการคน้ หาและ
ดาวน์โหลด ยกตัวอย่างเชน่ พิมพ์คำว่า Tatip ในช่องค้นหา จากนั้นคลกิ เขา้ ไปยังเวบ็ ไซต์ “สมาคมคนตาบอด
แห่งประเทศไทย” (www.tabgroup.tab.or.th) ซึง่ จะมโี ปรแกรม Tatip ใหด้ าวนโ์ หลด
(4) เมื่อเข้าไปยงั เว็บไซต์ที่มีใหด้ าวนโ์ หลดโปรแกรมแลว้ ใหท้ ำการดาวนโ์ หลดโปรแกรมตามคำแนะนำ
ของเวบ็ ไซต์นัน้ ๆ
(5) เลือกคำส่งั Save As เพ่ือจดั เก็บโปรแกรมท่ีดาวนโ์ หลดไว้ตดิ ตั้งภายหลงั
(6) เลอื กตำแหนง่ จัดเกบ็ โปรแกรมแลว้ ทำการบันทึกไว้ในคอมพิวเตอร์
6.4.4 บริการสนทนา (Instant Message)
บรกิ ารสนทนาบนอนิ เทอร์เน็ต คือการสนทนาทางโทรศัพท์อยา่ งหนึ่ง แต่เปน็ ในรปู ของตัวอักษร
พนกั งานในบริษทั ทั้งขนาดเล็กและใหญ่ตา่ งใช้ IM เป็นเครื่องมือในการสือ่ สาร สำหรับคนอกี จำนวนมาก IM คือ
การส่ือสารสำรองเม่ืออเี มลมีปญั หาหรือเหตุฉุกเฉนิ อนื่ ๆ เช่น Facebook Messenger, Line, skype,
Snapchat, Telegram, WeChat, WhatsApp เป็นต้น
รูปที่ 6.8 บริการสนทนาบนอินเทอร์เน็ต (Instant Message)
รปู แบบการสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ต มี 2 รูปแบบ ดังน้ี
1. การสนทนาเปน็ กลุ่ม เป็นการสนทนาโดยคู่สนทนาจะพิมพข์ ้อความไปยงั เคร่ืองเซริ ์ฟเวอร์
จากนัน้ เคร่ืองเซริ ์ฟเวอร์จะส่งขอ้ ความแสดงบนหน้าจอของคอมพวิ เตอร์ทุกเครอ่ื งทีร่ ว่ มสนทนา
2. การสนทนาระหวา่ งผใู้ ชโ้ ดยตรง เป็นการสนทนาโดยมเี ซิรฟ์ เวอร์บอกตำแหน่งของโปรแกรมสนทนา
(Instant Messaging) ของคู่สนทนา ทำใหผ้ ู้ใชส้ ามารถสนทนากบั ผู้ใช้อ่ืน ๆ ได้โดยตรง สนทนาไดท้ ้ังการพิมพ์
ข้อความ การส่งภาพกราฟิก เสียง และภาพเคลื่อนไหว
รปู ท่ี 6.9 การสนทนาผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ตแบบสื่อประสม (Multimedia) ดว้ ย WhatsApp
(ท่ีมา : https://apps.apple.com/th/app/whatsapp-messenger/id310633997)
สือ่ ประสม
ความหมายของส่ือประสม มีผู้ให้ความหมายไว้หลายท่านยกตวั อยา่ งเช่น (พลั ลภ พิริยสรุ วงศ์, 2540)
สอ่ื ประสม คือ ระบบสื่อสารขอ้ มลู ข่าวสารหลายชนิดโดยผา่ นสื่อทางคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ ประกอบด้วย
ขอ้ ความ ฐานข้อมูล ตัวเลข กราฟกิ ภาพ เสียง และวีดทิ ศั น์หรอื วิดโี อ (Video) (Jeffcoate, 1995 : 107)
สื่อประสม คือ การใชค้ อมพวิ เตอรส์ ่ือความหมายโดยการผสมผสานสือ่ หลายชนดิ เชน่ ขอ้ ความ
กราฟิก ภาพศิลป์ (Graphic Art) เสยี ง ภาพเคลื่อนไหว (Animation) วดี ทิ ัศน์ เป็นตน้ ถา้ ผู้ใชส้ ามารถควบคุม
สอ่ื เหลา่ น้ีให้แสดงออกมาตามตอ้ งการได้ ระบบน้ีจะเรยี กว่า ส่อื ประสมเชิงโตต้ อบ (Interactive Multimedia)
(Vaughan, 1998 : 99)
ส่ือประสม คือ โปรแกรมประยกุ ต์ที่อาศยั คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ สื่อในการนำเสนอ ซง่ึ เป็นการนำเสนอ
ขอ้ ความ สีสนั ภาพกราฟิก ภาพเคลอื่ นไหว เสยี ง และภาพยนตรว์ ีดทิ ัศน์ ส่วนสอื่ ประสมเชงิ โต้ตอบจะเป็น
โปรแกรมประยุกต์ทย่ี อมรับการตอบสนองจากผู้ใช้ด้วยแผงแป้นอกั ขระ (Keyboard) เมาส์ (Mouse) หรอื ตวั ชี้
(Pointer) เปน็ ต้น (Hall, 1996 : 67)
สอ่ื ประสม มกั จะมคี วามหมายทคี่ อ่ นข้างกวา้ งไกล ทงั้ น้ีข้นึ อยู่กับมุมมองของผทู้ ่ีจะนำสื่อประสมไปใช้
งานตามความต้องการของตนเอง ตวั อยา่ งเชน่ มมุ มองของนักการศกึ ษาอาจหมายถึงการนำสอื่ หลากหลาย
ประเภทมาใชจ้ ัดทำเปน็ สอ่ื การเรยี นการสอน มมุ มองของผู้เยย่ี มชมอาจหมายถงึ การนำเสนอส่งิ ท่ีนา่ สนใจ ทำ
ให้เขา้ ใจไดง้ า่ ยยง่ิ ข้ึน มุมมองของผู้พัฒนาสอ่ื อาจหมายถงึ การโต้ตอบระหว่างมนษุ ยก์ ับคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ต้น
อยา่ งไรก็ตามความหมายท่ีกล่าวมาทั้งหมดนั้นเปน็ เพยี งแนวความคดิ ในแต่ละมุมมองเท่านั้น (ทวีศักด์ิ กาญจน
สุวรรณ,2546 : 2)
สื่อประสม มาจากภาษาอังกฤษว่า มลั ติมีเดยี (Multimedia) คำว่า มลั ติ (Multi) หมายถงึ หลาย ๆ
อยา่ งผสมรวมกนั ซ่งึ มีศพั ท์ท่ใี กลเ้ คียงกนั เชน่ Many, Much และ Multiple เปน็ ตน้ สว่ นคำวา่ มีเดีย(Media)
หมายถึง ส่ือ ขา่ วสาร ชอ่ งทางการติดต่อสื่อสาร เม่ือนำมารวมกันเป็นคำว่า มัลตมิ เี ดียหรือสื่อประสมจงึ หมายถงึ
การนำองคป์ ระกอบของส่อื ชนิดต่าง ๆ มาผสมผสานเข้าดว้ ยกนั ซ่ึงประกอบด้วย ตัวอักษร ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว เสยี ง และวีดิทัศน์ โดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์เพ่ือส่อื ความหมายกับผูใ้ ช้อย่าง
มกี ารโต้ตอบและบรรลุผลตามวัตถปุ ระสงคข์ องการใช้งาน
โดยทั่วไปมกั จะกล่าวถึงความหมายของคำวา่ สอื่ ประสม โดยมงุ่ เน้นไปทีส่ ่ือที่ใช้งานบนเครือ่ ง
คอมพิวเตอรเ์ พยี งอยา่ งเดยี ว แต่ในความเปน็ จรงิ แลว้ สอ่ื ประเภทอื่น ๆ เชน่ โทรทัศนแ์ ละวิทยกุ จ็ ดั ไดว้ ่าเปน็ สือ่
ประสมเช่นกนั อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์กย็ ังจัดเปน็ อุปกรณ์ท่ีไดร้ ับความนิยมทใี่ ชส้ ำหรบั การผลติ สือ่ การ
นำเสนอ และตดิ ต่อสอ่ื สารมากทีส่ ุด เนอ่ื งจากมีขีดความสามารถและรองรบั การทำงานได้หลากหลาย จึงทำให้
คำจำกัดความของสือ่ ประสมมกั จะม่งุ เนน้ ไปทีค่ อมพวิ เตอร์เป็นสว่ นใหญ่ (Hofstetter, 2001 : 2)
สรุป ความหมายของสื่อประสมได้ว่า สือ่ ประสม คือ การใช้คอมพวิ เตอรร์ ว่ มกับโปรแกรมประยกุ ต์ใน
การส่ือความหมายโดยการผสมผสานสอ่ื หลายชนิด เชน่ ขอ้ ความ กราฟกิ ภาพเคลื่อนไหว เสียงวีดทิ ัศน ์ เป็น
ต้น และถ้าผู้ใช้สามารถควบคุมสื่อให้นำเสนอออกมาตามต้องการไดจ้ ะเรยี กว่าสอื่ ประสมเชิงโตต้ อบการโต้ตอบ
ของผใู้ ชส้ ามารถจะกระทำไดโ้ ดยผ่านทางแผงแป้นอกั ขระ เมาส์ หรือตวั ช้ี เป็นต้น การใชส้ อื่ ประสมในลกั ษณะ
เชงิ โต้ตอบก็เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถเรยี นรหู้ รือทำกิจกรรม รวมถงึ ดูสือ่ ต่าง ๆ ดว้ ยตวั เองได้ สื่อตา่ ง ๆท่ีนำมา
รวมไว้ในสื่อประสม เช่น ภาพ เสยี ง วดี ิทัศน์ จะช่วยใหเ้ กดิ ความหลากหลายในการใชค้ อมพวิ เตอร์อนั เปน็
เทคโนโลยใี นแนวทางใหม่ ที่ทำให้การใช้คอมพวิ เตอร์น่าสนใจและเร้าความสนใจ เพ่มิ ความสนกุ สนานในการ
เรยี นร้มู ากย่งิ ข้ึน
ววิ ัฒนาการของสื่อประสม
สื่อประสมเรมิ่ มีขนึ้ ครง้ั แรกใน พ.ศ. 2493–2502 (ทศวรรษ 1950s) เพ่ือระบุถึงการใชร้ ่วมกนั ของสือ่
ในลกั ษณะทน่ี ่ิงและเคลือ่ นไหวเพ่อื เปน็ การสรา้ งเสริมประสิทธิภาพทางการศึกษาซง่ึ ไดส้ ะท้อนถึงวธิ ีการที่
เรียกว่า “วิธีการส่อื ประสม” (Multimedia Approach) หรอื “วธิ ีการใช้สื่อข้ามกนั ” (Cross-media
Approach) โดยขึ้นอยู่กับหลกั การซงึ่ นำส่ือโสตทศั น์และประสบการณ์หลากหลายอย่างมาใชร้ ่วมกับสื่อการ
สอนเพื่อเปน็ การเสริมซึ่งกนั และกัน (Ely, 1963 อา้ งอิงใน Heinich, and Others, 1999)
สมยั กอ่ นส่ือประสมจะเปน็ การนำส่อื หลากหลายประเภทมาใชร้ ว่ มกนั เช่น รปู ภาพเครื่องฉายแผน่
โปร่งใส เทปบันทึกเสยี ง วีดิทัศน์ เปน็ ตน้ เพ่ือให้การเสนอผลงานหรือการเรียนการสอนสามารถดำเนนิ ไปได้
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยการเสนอเน้ือหาในรูปแบบตา่ ง ๆ นอกจากการบรรยายเพยี งอย่างเดียวโดยผฟู้ งั หรือ
ผู้เรียนไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์ต่อสอ่ื
ปัจจุบันด้วยบทบาทของเทคโนโลยคี อมพิวเตอรท์ ี่มีเพม่ิ ขนึ้ ในการทำงานจงึ ทำให้ความหมายของสื่อ
ประสมกวา้ งขึน้ จากเดิม โดยในปัจจุบันจะหมายถึง “สือ่ ประสมเชิงโต้ตอบ” (Interactive Multimedia) โดย
การเพ่ิมปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างส่ือและผ้ใู ช้
สอื่ ประสมสมัยนี้ จงึ หมายถงึ การนำอปุ กรณต์ า่ ง ๆ เชน่ เคร่อื งเลน่ ซีดี–รอม เคร่ืองเสียงระบบดจิ ทิ ัล
เครือ่ งเลน่ แผ่นวีดิทัศน์ เปน็ ต้น มาใช้ร่วมกันเพื่อเสนอเน้ือหาข้อมลู ที่เป็นตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพถ่าย
ภาพเคลือ่ นไหวแบบวีดทิ ศั น์ และเสยี งในระบบแบบสเตอริโอ โดยการใชเ้ ทคโนโลยีคอมพวิ เตอรม์ าช่วยในการ
ผลิต การนำเสนอเน้ือหา และเพ่อื เป็นตัวควบคุมการทำงานของอปุ กรณร์ ว่ มเหล่านี้เพ่ือให้ทำงานตามโปรแกรม
ท่ีเขียนไวเ้ ป็นการใหผ้ ู้ใช้หรือผู้เรียนมิใชเ่ พียงแตน่ ่ังดูหรือฟังขอ้ มูลจากส่ือที่เสนอเท่านั้น แตผ่ ้ใู ช้สามารถควบคุม
ใหค้ อมพิวเตอรท์ ำงานในการตอบสนองต่อคำสัง่ และให้ข้อมูลปอ้ นกลบั ในรปู แบบต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเต็มท่ีผู้ใช้และ
สื่อสามารถมีปฏิสัมพันธต์ อบสนองซึ่งกันและกันได้ทนั ที เนื้อหาในสือ่ ประสมจะมีลักษณะไมเ่ รยี งลำดับเป็น
เสน้ ตรง และไม่ใช่สงิ่ พิมพ์ เพราะเนื้อหาเหลา่ นนั้ จะเปน็ ภาพจากแผ่นวีดทิ ศั น์หรอื จากซีดี–รอม เปน็ เสยี งจาก
แผ่นเพลงซดี ีหรือเคร่ืองเสียงจากระบบดจิ ิทลั หรือเป็นตัวอกั ษรจากแฟม้ คอมพิวเตอร์ และสามารถเชื่อมโยงถงึ
กนั ได้ตลอดเวลาโดยท่ีผูใ้ ชไ้ ม่จำเปน็ ต้องอา่ นตามลำดับเน้ือหา แต่เป็นการอ่านในลักษณะของข้อความหลายมิติ
(Hypertext) และส่ือหลายมิติ (Hypermedia)
รูปแบบของสื่อประสม จากความหมายของสือ่ ประสมท่ีกลา่ วมาแลว้ จะเห็นไดว้ า่ สอ่ื ประสมใน
ปัจจบุ ันจะใช้คอมพิวเตอรเ์ ปน็ อุปกรณ์หลักในการเสนอสารสนเทศในรูปแบบรวมของข้อความ เสยี ง ภาพน่ิง
ภาพกราฟกิ เคลื่อนไหว และภาพเคลอื่ นไหวแบบวดี ทิ ัศน์ เพอื่ รวมเปน็ องค์ประกอบของสอื่ ประสมในลักษณะ
ของ “ส่อื หลายมติ ิ” โดยก่อนท่จี ะมีการประมวลเป็นสารสนเทศนัน้ ข้อมูลเหล่านี้จะต้องได้รบั การปรบั รูปแบบ
โดยแบ่งเป็นลักษณะ ดงั น้ี
1. ภาพนิง่ ก่อนทีภ่ าพถา่ ย ภาพวาด หรอื ภาพต่าง ๆ ท่เี ปน็ ภาพน่งิ จะเสนอบนจอคอมพิวเตอร์ไดน้ ้ัน
ภาพเหล่านจ้ี ะต้องถูกเปลีย่ นรูปแบบก่อนเพื่อใหค้ อมพวิ เตอร์สามารถใช้และเสนอภาพเหลา่ น้นั ได้ โดยมี
รปู แบบท่ีนิยมใช้กนั มาก 2 รูปแบบ คอื
(1) กราฟิกแผนที่บิต (ฺBitmapped Graphic) หรือกราฟกิ แรสเตอร์ (Raster Graphic) เปน็ กราฟกิ
ที่แสดงดว้ ยจดุ ภาพในแนวตงั้ และแนวนอนเพื่อประกอบรวมเปน็ ภาพ ภาพที่อยูใ่ นรปู แบบนจี้ ะมนี ามสกลุ ไฟล์
.gif, .tiff, .bmp เป็นต้น
(2) กราฟิกเสน้ สมมติ (Vector Graphic) หรอื กราฟกิ เชิงวตั ถุ (Object–Oriented Graphic)เปน็
กราฟกิ ทีใ่ ชส้ ูตรคณติ ศาสตร์ในการสรา้ งภาพโดยท่ีจดุ ภาพจะถูกระบุดว้ ยความสัมพันธเ์ ชิงพืน้ ทีแ่ ทนที่จะอยใู่ น
แนวตง้ั และแนวนอน ภาพกราฟกิ ประเภทน้จี ะสรา้ งและแกไ้ ขไดง้ า่ ย และสวยงามมากกว่ากราฟกิ แผนที่บติ
ภาพในรปู แบบนจ้ี ะมนี ามสกุลไฟล์ .eps, .wmf, .pict เปน็ ตน้
2. ภาพเคลื่อนไหว ภาพเคล่ือนไหวทใ่ี ชใ้ นสื่อประสมจะหมายถงึ ภาพกราฟิกเคล่ือนไหว หรอื ทเ่ี รียก
กันว่าภาพ “แอนเิ มชนั ” (Animation) ซ่งึ นำภาพกราฟกิ ที่วาดหรอื ถ่ายเปน็ ภาพนง่ิ ไวม้ าสร้างให้เคลอ่ื นไหวด้วย
โปรแกรมสร้างภาพเคล่ือนไหว ภาพเหลา่ น้จี ะเป็นประโยชนใ์ นการจำลองสถานการณ์จริง เช่น ภาพการขับ
เครอื่ งบนิ นอกจากน้ยี ังอาจใช้การเพม่ิ ผลพิเศษ เชน่ การหลอมภาพ (Morphing) ซึ่งเปน็ เทคนิคการทำให้
เคลอ่ื นไหวโดยใช้ “การเติมช่องวา่ ง” ระหวา่ งภาพท่ีไม่เหมือนกัน เพอื่ ท่ใี ห้ดูเหมือนวา่ ภาพหนงึ่ ถูกหลอมละลาย
ไปเปน็ อีกภาพหนึง่ โดยมีการแสดงการหลอมของภาพหนง่ึ ไปสูอ่ ีกภาพหน่งึ ให้ดูดว้ ย
3. ภาพเคลอ่ื นไหวแบบวีดิทัศน์ การบรรจภุ าพเคล่ือนไหวแบบวีดิทศั น์ลงในคอมพวิ เตอร์จำเปน็ ตอ้ ง
ใช้โปรแกรมและอปุ กรณเ์ ฉพาะในการจดั ทำ ปกติแล้วแฟม้ ภาพวีดทิ ศั นจ์ ะมขี นาดเนื้อท่บี รรจุใหญม่ าก ดงั นั้นจงึ
ต้องลดขนาดแฟ้มภาพลงดว้ ยการใชเ้ ทคนิคการบีบอัดภาพ (Compression) ดว้ ยการลดพารามเิ ตอร์ บางสว่ น
ของสญั ญาณในขณะท่ีคงเนอื้ หาสำคญั ไว้ รปู แบบของภาพวดี ทิ ศั น์บบี อัดท่ใี ช้กนั ทัว่ ไป เช่น QuickTime, AVI,
MPEG เป็นตน้
4. เสยี ง เชน่ เดยี วกบั ข้อมลู ภาพ เสยี งทีใ่ ชใ้ นสื่อประสมจำเป็นต้องบันทึกและจดั รูปแบบเฉพาะเพื่อให้
คอมพิวเตอร์สามารถเขา้ ใจและใชไ้ ด้ รูปแบบเสยี งทน่ี ิยมใช้กันมากจะมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ Waveform (WAV)
และ Musical Instrument Digital Interface (MIDI)
(1) แฟ้มเสยี ง WAV จะบันทกึ เสียงจรงิ ดังเชน่ เสยี งเพลงในแผน่ ซดี ี และจะเปน็ แฟ้มขนาดใหญ่จงึ
จำเปน็ ต้องไดร้ ับการบีบอัดก่อนนำไปใช้
(2) แฟม้ เสียง MIDI จะเป็นการสังเคราะหเ์ สียงเพื่อสร้างเสียงใหมข่ ้นึ มาจึงทำให้แฟ้มมีขนาดเลก็ กวา่
แฟม้ WAV แต่คุณภาพเสยี งจะด้อยกวา่
5. ส่วนต่อประสาน เม่ือมกี ารนำขอ้ มลู ต่าง ๆ มารวบรวมสร้างเป็นแฟม้ ขอ้ มลู ดว้ ยโปรแกรมสร้างสอื่
ประสมแล้ว การท่ีจะนำองค์ประกอบตา่ ง ๆ มาใช้งานได้นัน้ จำเปน็ ต้องใชส้ ว่ นต่อประสาน (Interface) เพ่อื ให้
ผใู้ ชส้ ามารถใช้งานโต้ตอบกบั ข้อมลู สารสนเทศเหล่านั้นได้ส่วนตอ่ ประสานท่ปี รากฏบนจอภาพจะมีมากมาย
หลายรปู แบบ เชน่ รายการเลอื กแบบผุดข้ึน (Pop–up Menu) แถบเลอื่ น (Scroll Bar) สญั ลักษณ์รปู ตา่ ง ๆ
เปน็ ตน้
6. การเชอื่ มโยงหลายมติ ิ ส่วนสำคญั อย่างหนงึ่ ของการใช้งานในรปู แบบส่อื ประสมในลักษณะของสอ่ื
หลายมิติ คือ ขอ้ มูลต่าง ๆ สามารถเชื่อมโยงกันได้อยา่ งรวดเร็วโดยใช้จุดเชอื่ มโยงหลายมิติ (Hyperlink) การ
เชอ่ื มโยงนี้จะสร้างการเชอื่ มต่อระหวา่ งข้อมูลตวั อักษรภาพและเสยี งโดยการใช้สี ข้อความขีดเสน้ ใต้ หรอื
สญั ลักษณร์ ปู ที่ใชแ้ ทนสัญลกั ษณต์ า่ ง ๆ เชน่ รปู ลำโพง รูปฟิล์ม เป็นตน้ เพื่อใหผ้ ใู้ ชค้ ลกิ ที่จุดเช่อื มโยงเหล่าน้นั
ไปยงั ข้อมูลทต่ี ้องการ
องค์ประกอบของสื่อประสม
รูปที่ 6.10 องคป์ ระกอบของสอ่ื ประสม
เทคโนโลยีสือ่ ประสม
1.โทรทศั น์
2. สถานีวิทยุออนไลนไ์ ทย
3. วดิ ีโอ
ชนิดของวิดีโอท่ใี ชง้ านอยู่ในปัจจบุ ันสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ชนิด คือ
(1) วิดีโอแอนะล็อก (Analog Video) เป็นวิดโี อท่ที ำการบันทกึ ข้อมูลภาพและเสยี งใหอ้ ยู่ในรปู ของ
สญั ญาณแอนะล็อก (รปู ของคล่ืน) สำหรบั วดิ โี อประเภทน้ี เชน่ VHS (Video Home System)ซงึ่ เปน็ ม้วนเทป
วิดโี อทีใ่ ชด้ กู ันตามบ้าน เมื่อทำการตัดต่อข้อมูลของวิดีโอชนิดนี้อาจทำให้คุณภาพลดนอ้ ยลง
(2) วดิ ีโอดจิ ทิ ัล (Digital Video) เปน็ วิดโี อท่ที ำการบันทึกขอ้ มูลภาพและเสียงท่ีได้มาจากกล้องดจิ ทิ ลั
ใหอ้ ยู่ในรูปของสญั ญาณดิจิทัล คือ 0 กบั 1 ส่วนการตดั ตอ่ ขอ้ มลู ของภาพและเสียงท่ีได้มาจากวิดีโอดิจทิ ัลนัน้ จะ
แตกต่างจากวดิ โี อแอนะล็อก เพราะข้อมูลท่ีได้จะยังคงคุณภาพความคมชดั เหมือนกับขอ้ มลู ต้นฉบบั การพัฒนา
ของวิดโี อดิจิทลั ส่งผลให้วดิ ีโอแอนะล็อกหายไปจากวงการมัลตมิ เี ดีย เน่ืองจากสัญญาณดจิ ิทลั สามารถบันทึก
ขอ้ มลู ลงบนฮารด์ ดสิ ก์ ซีดรี อม ดีวดี ี หรืออปุ กรณ์บันทกึ ข้อมลู อื่น ๆ และสามารถแสดงผลบนคอมพิวเตอร์ได้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ในการผลติ มลั ตมิ ีเดียบนคอมพวิ เตอรส์ ามารถเปลี่ยนรปู แบบของสัญญาณแอนะล็อกเป็น
สัญญาณดิจิทลั ได้ เพียงแตผ่ ้ผู ลติ มีทรพั ยากรทางดา้ นฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟตแ์ วรท์ ี่เหมาะสมเทา่ นั้น
การสมคั รงานออนไลน์
การสมคั รงานในยุคอนิ เทอรเ์ นต็ ทำใหฝ้ า่ ยบุคคล (HR) มีช่องทางประกาศงานง่ายข้นึ ขณะเดยี วกัน
กท็ ำให้การแข่งขันในการหางานสงู ขนึ้ ในตำแหน่งหนึ่ง ๆ จึงอาจมผี ู้สมัครเปน็ รอ้ ยเป็นพันคน
ต่อไปนี้คอื ขอ้ แนะนำของการสมัครงาน
1. ส่งใบสมคั รใหม้ ากที่สุด เพราะการแข่งขนั สูง เราไม่ไดเ้ ปน็ ผ้เู ลอื กแต่ฝ่ายเดยี ววา่ อยากทำงานอะไร
กับบรษิ ัทไหน แตฝ่ ่ายบุคคลของแตล่ ะบริษัทก็เปน็ ผู้เลือกว่าจะเลือกใครมาทำงาน ดังนนั้ กฎขอ้ แรกคือสง่ ใบ
สมคั รให้มากที่สดุ เลอื กงานแต่อย่าเลือกมากเกินไป เพราะเราเลือกเขา เขาอาจไม่เลอื กเรา จงเปิดโอกาสให้
ตวั เองเพราะงานดี ๆ ทเ่ี หมาะสมกบั เรามมี ากกวา่ ที่คิด ขอใหไ้ ดส้ ัมภาษณ์กอ่ น ค่อยมาเลือกจริงในภายหลัง
2. ต้องสร้างประวัตยิ ่อท่ใี ช้ในการสมัครงานหรือเรซเู ม่ (Resume) ของตัวเองให้ดีที่สดุ
เรซเู ม่เปน็ ส่งิ ท่สี ำคัญที่สดุ ในการสมัครงานเพราะนายจ้างรู้จักผูส้ มัครผา่ นเรซูเม่ นายจา้ งจะคัดเลือกผ้สู มัครจาก
เรซเู ม่เพราะฉะนนั้ จึงอยู่ทจี่ ะนำเสนอตวั เองได้ดแี ค่ไหน ถึงจะเกง่ แคไ่ หนแตถ่ ้าไม่ได้นำเสนอตัวเองดีพอ นายจ้าง
กไ็ ม่สามารถเห็นความเก่งได้ และอีกประเด็นท่ีไมค่ วรมองข้าม คือ กำลงั แข่งขนั กับผสู้ มัครท่านอืน่ อยู่ แนใ่ จแล้ว
หรือวา่ เรซเู มข่ องตนเองดีกวา่ ทา่ นอื่น เพราะฉะน้ันจงยอมเสียเวลาใสใ่ จรายละเอียดทุกอยา่ งในเรซูเม่ กรอก
ข้อมูลในใบสมคั รใหม้ ากท่สี ดุ ละเอยี ดและตั้งใจ เพ่ือนำเสนอความสามารถออกมาให้ชนะผูส้ มัครทา่ นอ่นื ซง่ึ จะ
นำไปสู่การมโี อกาสถูกเรยี กสัมภาษณ์ไดม้ ากกว่า
3. ใชเ้ ครอื่ งมือค้นหางาน (Job Search Engine) หลาย ๆ เครอ่ื งมือ เพอื่ เพมิ่ โอกาสในการหางาน
และได้งานจำนวนมากขึ้น ถา้ ยงั ไมถ่ ูกเรยี กสัมภาษณ์ให้ทบทวน ดงั น้ี
(1) ทบทวนเรซูเม่
(2) ทบทวนวา่ สมคั รงานในตำแหน่งท่ีเหมาะกบั คุณสมบัติทฝี่ ่ายบคุ คลต้องการหรือไม่ ควรจะผอ่ น
ปรนความต้องการของตนเองบ้าง ให้เน้นงานที่ตรงกบั คุณสมบัติ เช่น การศึกษาและประสบการณ์ ตำแหนง่ ที่
อยากเปน็ อยากสมคั ร อาจเริ่มต้นจากการเก็บเกยี่ วสะสมประสบการณจ์ ากตำแหน่งอนื่ ก่อนก็เปน็ ได้
(3) เรียกเงินเดือนสงู ไปหรอื ไม่ การเรยี กเงนิ เดอื นตอ้ งดจู ากข้อมูลฐานเงนิ เดือนของอาชีพนัน้ มา
ประกอบการพิจารณา ไม่ใช่เรียกตามใจตนเองเพยี งอย่างเดียว เพราะนายจา้ งมีสิทธ์ิเลอื กเช่นกนั
4. ควรทำเรซูเม่เปน็ ภาษาอังกฤษพยายาม ใชเ้ รซูเม่เป็นภาษาองั กฤษเพราะแสดงใหเ้ ห็น
ความสามารถทางภาษาองั กฤษของผ้สู มคั ร ซ่งึ มีความสำคัญในการติดต่อส่ือสารงานในปัจจบุ ัน
5. หมัน่ ตรวจดูอีเมล เพราะหลายบรษิ ัทนดั สัมภาษณ์ทางอีเมล แจ้งฝ่ายบคุ คลทุกคร้ังทีต่ ้องการยกเลิก
นดั สัมภาษณ์ นัดสัมภาษณ์แลว้ เปลย่ี นใจ ควรโทรศพั ทแ์ จง้ ยกเลิกนดั กบั ฝา่ ยบคุ คลจะได้ไม่ถูกขนึ้ บัญชบี คุ คล
ต้องหา้ ม (Blacklist) ซง่ึ ฝ่ายบคุ คลบางบริษัทมีการแบง่ ปันข้อมลู บญั ชนี ้กี ันได้
วิธกี ารเพิม่ ประสิทธิภาพการสมัครงานออนไลน์ การสมัครงานในยุคนสี้ ว่ นใหญเ่ ป็นการสมัครผา่ น
เวบ็ ไซตข์ องบริษัทโดยตรงหรือผา่ นทางเว็บไซต์หางาน สมัครงานออนไลน์ เพราะเป็นสื่อและเคร่ืองมอื ท่สี ะดวก
ทง้ั บริษทั หาคนและผูส้ มัครงาน ย่งิ ถ้าต้องการหาผสู้ มัครงานด้าน IT ด้วยแลว้ การประกาศหาคนทำงานผา่ น
เวบ็ ไซต์สมคั รงานออนไลน์ เป็นวธิ ที แี่ น่นอนทสี่ ดุ วิธีหน่ึง เพราะตรงกลมุ่ ผู้สมัครงานเป้าหมายทมี่ ีทกั ษะไอที
นอกจากน้ีระบบหรือแอปพลเิ คชนั ในเว็บไซต์หางาน (Job Portal) ยงั มีเครือ่ งมือชว่ ยในการแยกแยะคุณสมบัติ
จากเรซเู ม่ตามท่ีบริษทั ต้องการอีกด้วย ทำให้การคดั เลือกเบอ้ื งต้นงา่ ยและเรว็ ขน้ึ โดยรอบแรกเรากจ็ ะพิจารณา
คุณสมบัติหรือทักษะทเี่ ก่ยี วข้องโดยตรงกบั การทำงานท่ีกรอกไวใ้ นเรซูเม่ เชน่ ประกาศตำแหน่ง IT Support ท่ี
ต้องการบคุ คลท่ีมีคุณสมบตั ิ ดังนี้
คณุ สมบัตผิ สู้ มคั รงาน
1. แกไ้ ขปัญหา Computer PC, Notebook, Windows XP หรอื 7, MS Office และโปรแกรมใช้งาน
ทั่วไปในสำนักงานได้
2. สามารถแก้ไขปัญหา Network พ้ืนฐาน เช่น LAN, Wifi ได้
3. ทำรายงานสรุปปญั หาทเ่ี กิดขนึ้ ใหห้ วั หน้างานทราบ
4. ให้คำแนะนำการใชง้ าน Computer ทว่ั ไปกับ User ได้
คุณสมบัติเพ่ิมเตมิ
1. จบการศึกษาระดบั ป.ตรี ขน้ึ ไป ทางดา้ น IT หรือทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
2. มีความรทู้ างด้านการซ่อมประกอบเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ และติดต้ัง Windows XP, 7 และโปรแกรม
อื่น ๆ
3. ยินดรี ับนกั ศึกษาจบใหม่ทีเ่ คยผ่านการฝกึ งานด้าน IT Support มาแล้ว
4. มีทักษะในการส่ือสารดี สามารถอธิบายได้ดี
5. มี Service Mind
6. สามารถปฏิบตั หิ นา้ ทีภ่ ายใตแ้ รงกดดนั ได้
7. ขยนั อดทน แก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าได้ดี
ฉะนน้ั ผู้สรรหาจะหาเรซเู ม่ท่มี ีคำวา่ Windows XP, Windows 7, MS Office, Network
นอกเหนือจากวุฒิและสาขาท่ีเกย่ี วขอ้ งเป็นหลักก่อนในการคดั เลือกรอบแรก เร่ืองขยนั อดทน Service Mind
แก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า หรืออน่ื ๆ เป็นตวั กรองรองลงมา ดงั นน้ั วธิ กี ารสมคั รงานออนไลน์ใหไ้ ดป้ ระสิทธิภาพ
สำหรับคนหางานดา้ น IT คือ
1. การเขยี นทักษะ IT เป็นภาษาอังกฤษให้ถกู ต้อง เพราะจะไดต้ รงกบั คำสำคญั (Keyword) ทผี่ ูส้ รร
หาใชค้ ้นหาเรซูเม่ ถ้าในเรซูเม่เขยี น วนิ โดวส์ XP ระบบเนต็ เวริ ์ค รบั รองได้ว่าเรซเู ม่อาจหลุดการกรองรอบแรก
ได้ ดงั น้ันควรใสใ่ จเรือ่ งการสะกดคำให้ถูกต้อง ใช้ศพั ท์เทคนิคท่เี ป็นที่ยอมรบั และใช้กันทั่วไป เชน่ MS SQL MS
Excel
2. การใสเ่ งินเดือน เรือ่ งนยี้ ังเปน็ ข้อถกเถียงกนั อยวู่ า่ ควรหรือไม่ควรใส่ ถ้าบรษิ ัทมีงบประมาณการจ้าง
คนชัดเจน เช่น งานราชการ ผสู้ รรหาจะใช้เงินเดอื นเป็นตัวกรองการคดั เลือกดว้ ย แตป่ ัจจบุ นั เร่ืองเงินเดือนไม่ได้
เอามาเปน็ หลักในการคดั กรองเรซเู มม่ ากนกั เพราะประกาศงานทัว่ ไปหลาย ๆ บรษิ ทั จะลงในสว่ นเงนิ เดือนว่า
“Negotiable” หรอื ต่อรองได้นนั่ เอง ยกเว้นระบบประกาศงานที่บังคบั ให้ใส่ชว่ งเงนิ เดือน สรปุ แลว้ เร่อื ง
เงนิ เดอื นน้ี แนะนำใหร้ ะบวุ ่า Negotiable ถ้าในระบบมีให้เลอื ก แต่ถ้าบังคับใหใ้ สต่ วั เลข ให้ระบุอัตราเงินเดือน
โดยทัว่ ไปสำหรบั ตำแหน่งท่ีสมัคร เพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพให้การสมคั รงานออนไลนไ์ ดร้ บั พิจารณามากข้นึ
3. ตำแหนง่ งานปจั จบุ นั ระบบสมัครงานออนไลน์ทุกระบบจะบังคบั กรอกตำแหน่งงานปัจจุบันซง่ึ
ตำแหน่งงานปจั จบุ ันในระบบสมัครงานโดยท่วั ไปจะหมายถึงงานประจำ “ตำแหนง่ งานปัจจุบนั ” ก็เปน็ ตวั คัด
กรองใบสมคั รงานอกี ตัวหนง่ึ ท่ีสำคญั สำหรับนกั ศึกษาจบใหมห่ างานจะตอ้ งคิดกลยทุ ธก์ ารใสข่ ้อมลู ตรงน้ี
ไม่เช่นน้นั เรซเู ม่อาจถูกมองขา้ มเน่ืองจากระบบช่วยคดั กรองใช้ตำแหนง่ งานในเรซูเม่ พร้อมกบั ตัวกรองอ่นื ๆ มา
คดั เลอื ก เมื่อพบตรงตำแหนง่ ปัจจุบันเขียนว่า “พนักงานจัดสนิ ค้า”อาจถกู ปัดตกทันที แตป่ รากฏว่าผู้สมคั ร
ทำงานพารท์ ไทมเ์ ปน็ พนักงานจดั สินคา้ ระหว่างเรยี นเทคโนโลยสี ารสนเทศ แม้คียเ์ วริ ด์ เรือ่ งทักษะในข้อแรก คอื
วฒุ กิ ารศึกษาตรงกับความต้องการของบรษิ ัท แต่กเ็ กือบหลดุ เพราะตำแหน่งงานปัจจบุ นั ไมเ่ กีย่ วข้องกบั ไอที
ดงั นน้ั การใส่ข้อมลู ตำแหนง่ ปัจจุบัน ถ้ามีตวั เลอื กเปน็ “นักศกึ ษาจบใหม”่ ใส่ตวั เลือกนี้หรือ “นกั ศึกษาฝึกงาน”
จะดีกว่านอกจากวา่ จะทำงานพารท์ ไทม์ทีเ่ ก่ยี วข้องกับสายอาชพี ตำแหน่งทส่ี มคั รงานโดยตรงยกตวั อยา่ งถ้า
ทำงานพาร์ทไทมเ์ ปน็ พนักงานซ่อมประกอบคอมพิวเตอร์ แลว้ จะสมคั รงาน IT Support แบบน้ีจะทำใหเ้ รซูเมด่ ู
ดีข้นึ เพราะงานพาร์ทไทม์เกี่ยวขอ้ งกบั ตำแหน่งงานทส่ี มคั ร เพม่ิ คุณคา่ ใหเ้ รซูเมน่ ่าสนใจ
ขอ้ ดีและข้อเสียของการสัมภาษณ์งานออนไลน์
แม้ว่าเทคโนโลยสี มัยใหม่มาพร้อมเคร่ืองมือในการทำหลาย ๆ สงิ่ ใหง้ ่ายยิง่ ขึ้น โดยเฉพาะเมื่อเป็นเรื่อง
ของการส่ือสาร อินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สูง และแอปพลิเคชันสำหรับทำงานท่ีบา้ น (Work From Home) อยา่ ง
Skype, Slack, Zoom, Microsoft Team, Line และยังมแี อปพลิเคชนั อืน่ ๆ อีกจำนวนมากซง่ึ ไม่เพยี งแตช่ ว่ ย
เชื่อมผูค้ นเข้าไว้ด้วยกนั ผ่านความเปน็ สงั คมออนไลน์ แต่ในดา้ นของบรษิ ทั เองมีสว่ นช่วยเฟ้นหาผู้สมคั รงานที่ดี
ท่สี ุดเชน่ เดยี วกัน
แน่นอนวา่ ในสถานการณ์ COVID–19 ทยี่ งั มหี ลายบริษัทเลือกให้พนกั งานทำงานแบบ Work From Home
หากสมคั รงานหรือหางานในช่วงเวลาดังกล่าว การสัมภาษณ์งานออนไลน์เปน็ สงิ่ ทจ่ี ะต้องพบเจอและอาจ
กลายเปน็ ความปกตใิ หม่ (New Normal) ในการทำงานอกี ดว้ ย ซ่ึงข้อดีและข้อเสียของการสมั ภาษณ์งาน
ออนไลน์มีดงั นี้
ข้อดขี องการสัมภาษณ์งานออนไลน์ มดี ังน้ี
1. ตน้ ทุนต่าํ ค่าใชจ้ า่ ยทีต่ ่ํากว่าท้ังในฝง่ั ของผู้สมัครงานเอง ไม่ว่าจะเป็นคา่ เดินทาง ค่าอาหารและที่พัก
(ในกรณีทมี่ าจากต่างจังหวัด) และในสว่ นของผูส้ ัมภาษณง์ านทตี่ อ้ งจองเตรยี มสถานท่ี เมื่อเทยี บกบั ค่าไฟแล้วก็
ยงั ถือว่าตาํ่ กว่ามากอยู่ดี
2. ประหยดั เวลา ใบสมคั รงานจำนวนมากจากตำแหน่งทเ่ี ปดิ รบั ทำใหฝ้ ่ายบุคคลต้องสัมภาษณ์ผูส้ มัคร
งานจำนวนมากเชน่ กัน จงึ อาจเกดิ ปัญหาหลงลมื ข้อมูลและคะแนนระหวา่ งการสัมภาษณ์งาน การสมั ภาษณง์ าน
ออนไลน์จะช่วยให้ทกุ ๆ การสมั ภาษณ์งานมีการบนั ทึกทางวิดโี อไวซ้ ่ึงจะชว่ ยคัดเลือกผู้สมัครงานที่ดที ่สี ดุ แก่
องค์กรน่นั เอง
3. ช่วยคดั กรองผ้สู มัครงาน การสมั ภาษณ์งานออนไลน์ชว่ ยคัดกรองผ้สู มัครงานได้ในหลาย ๆ ส่วน ไม่
วา่ จะเป็นเรอ่ื งการส่ือสารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและการตรงต่อเวลา ยงั รวมถงึ ทักษะอ่ืน ๆ เฉพาะทางทเี่ ก่ยี วข้อง
กบั งาน ผู้สมัครงานที่สามารถเลา่ ถึงความรู้และทักษะได้ตามทต่ี อ้ งการ จะช่วยใหฝ้ ่ายบุคคลคดั คนเกง่ เหลา่ นี้ไว้
พจิ ารณาต่อไป
4. ประเมินทักษะการสื่อสาร บางตำแหน่งต้องการผู้สมัครงานท่มี ีทักษะดเี ยี่ยมผา่ นทางภาษาและ
ความสามารถในการสื่อสารอื่น ๆ จากบคุ ลิกภาพ เม่ือใช้การสัมภาษณ์ออนไลน์จึงสามารถวเิ คราะห์ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ สามารถสังเกตได้ต้งั แต่วธิ กี ารพดู บุคลกิ ภาพ การนำเสนอความคิด ชว่ ยให้สามารถตัดสนิ ใจว่า
ผสู้ มัครเหมาะสมกับองค์กรหรอื ไม่
5. ลดแรงกดดนั แกผ่ สู้ มคั รงาน ผ้สู มคั รงานจำนวนมากพลาดโอกาสในชว่ งการสมั ภาษณ์งานเพราะเกิด
ความประหม่า การสัมภาษณ์งานออนไลน์ชว่ ยใหผ้ ้สู มคั รงานลดแรงกดดันและความประหม่าลง สามารถคยุ ได้
คลอ่ งและเป็นตัวของตวั เองมากขน้ึ โดยเฉพาะเม่ือต้องทำการสัมภาษณร์ อบทส่ี องผา่ นทางออนไลนห์ รือแบบ
ตวั ตอ่ ตวั ก็ประหมา่ น้อยลงเชน่ กัน
ข้อเสียของการสัมภาษณ์งานออนไลน์ มดี งั นี้
1. ปญั หาด้านอินเทอรเ์ นต็ หนึง่ ในปญั หาใหญข่ องการสัมภาษณอ์ อนไลน์คอื ทกุ อย่างลว้ นข้นึ อย่กู ับ
ความเรว็ และความเสถยี รของอินเทอร์เน็ต ซึ่งหากอยู่ในจุดท่อี ับสัญญาณ โทรศพั ทแ์ ละคอมพิวเตอร์ทมี่ ี
สมรรถนะไมเ่ พียงพอต่อการใช้คุยทางวดิ โี อ ย่อมส่งผลต่อผลการสมั ภาษณง์ านทันที ฝา่ ยบคุ คลอาจเลอื ก
พิจารณาสมั ภาษณผ์ สู้ มัครงานคนถัดไป ถงึ แมว้ ่าผูส้ มคั รงานทเ่ี พ่ิงสมั ภาษณ์ไปจะมีทักษะ ความรู้ และ
ประสบการณ์ที่ครบถว้ นกวา่
2. ความคมชัดของวิดโี อต่าํ คุณภาพวดิ โี อที่ตาํ่ ระหว่างการสมั ภาษณง์ านมสี ว่ นในการลดโอกาสการได้
งาน เพราะนอกจากการนำเสนอจากผ้สู มคั รงานจะไม่มีประสทิ ธิภาพอยา่ งทค่ี วรจะเป็นแล้วฝ่ายบคุ คลอาจนัด
คนอนื่ ขึ้นมาสมั ภาษณ์ตอ่ ไปได้
3. ขาดความเช่ยี วชาญทางด้านเทคโนโลยี เช่ือหรอื ไมว่ า่ ตำแหนง่ งานทเ่ี ปดิ รับจำนวนมากแม้จะไม่
ตอ้ งการความร้ทู างดา้ นคอมพิวเตอรห์ รอื เทคโนโลยีมากนัก แตก่ ลายเป็นสง่ิ ทีจ่ ำเปน็ หากตอ้ งสัมภาษณ์ทาง
ออนไลน์ จากความเคยชนิ ทีส่ ัมภาษณ์งานแบบตวั ตอ่ ตวั ไม่จำเป็นต้องมีความรเู้ รื่องไอทีมากนกั ผู้หางานท่ขี าด
ความเชยี่ วชาญดา้ นไอทอี าจไม่ทราบถึงวิธีการเตรยี มความพรอ้ มในการสมั ภาษณง์ านออนไลน์
4. โต้ตอบไมท่ นั การณ์ ถึงแม้ว่าการนดั สัมภาษณ์งานออนไลนจ์ ะมีการนัดและจองวันเวลาไว้เป็นอย่างดี
แตใ่ นความเป็นจริงอาจเกิดความลา่ ชา้ ซ่งึ สาเหตจุ ากระบบหรอื ปญั หาด้านเทคนิค รวมถึงการเขา้ สรู่ ะบบในการ
สัมภาษณอ์ อนไลน์ซ่งึ ยากและซบั ซอ้ นเกินไป หากเกดิ เหตไุ ม่คาดฝันขน้ึ ยอ่ มส่งผลให้เกิดความเครยี ดในการ
แกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้
5. มีโอกาสถูกหลอก แม้จะไม่ได้พบบ่อยนกั แต่ก็มีโอกาสที่บริษทั พยายามคุกคามผูส้ มคั รงานไม่ว่าจะเปน็ การขู่
กรรโชกใหจ้ า่ ยเงนิ หากอยากไดง้ าน รวมถงึ คำอวดอ้างของบรษิ ทั ทนี่ ำเสนอข้อดขี องบริษัทตนเองไว้เกนิ จริงแต่
กลับไม่สามารถทำได้อย่างที่พูด ก่อเกดิ ความเข้าใจผิดและเสยี เวลาแก่ผ้สู มคั รงาน ดังน้ันทง้ั ผสู้ มคั รงานและ
บริษทั เองจึงควรตรวจสอบประวัติและข้อมลู ว่าเปน็ จริงแบบทีพ่ ดู ไว้หรือไม่ แน่นอนวา่ การสัมภาษณ์งาน
ออนไลน์นั้นมีข้อดหี ลายอยา่ ง แตท่ ้งั ผูส้ มั ภาษณ์งานและผสู้ มัครงานเองควรระมดั ระวังเช่น เดยี วกนั
การประชุมออนไลน์
ระบบประชุมทางไกลออนไลน์ (Web Conference) คือ ระบบประชมุ ทางไกลออนไลนผ์ า่ นเครือข่าย
อนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู โดยสามารถประชมุ แบบเหน็ ภาพ ฟังเสียงของผูเ้ ขา้ ร่วมประชุม ตลอดจนนำเสนอ
ขอ้ มูลต่อที่ประชุม (Presentation) พรอ้ มรบั –ส่งข้อมูลในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ในเวลาเดียวกนั ดว้ ยการใช้
ช่องสัญญาณอินเทอร์เนต็ (Bandwidth) ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เหมาะสำหรับการประชมุ ทางไกล การเรยี น
การสอน การฝึกอบรม การประชาสมั พนั ธส์ นิ คา้ และกจิ กรรมสนทนาตา่ ง ๆ
การบริหารการประชมุ ได้เสมอื นห้องประชุมจรงิ
ผทู้ เี่ ป็นประธานการประชุมสามารถควบคุมหอ้ งประชุมได้เสมือนห้องประชุมจรงิ โดยสามารถเปิด–ปิด
เสยี งของผู้เข้ารว่ มการประชุมระหว่างการประชมุ หรือเชญิ สมาชิกคนหน่ึงคนใดออกจากหอ้ งประชมุ ได้และผู้ที่
เปน็ ประธานการประชุมสามารถใหส้ ิทธใิ นการบรรยายและการนำเสนอต่อที่ประชุม รวมถงึ การโอนสทิ ธค์ิ วาม
เปน็ ประธานการประชมุ ให้กบั ผู้เข้ารว่ มประชมุ หรอื สมาชกิ ท่านอ่นื ในห้องประชมุ ทำการแทนได้
ประโยชน์ของระบบประชุมทางไกลออนไลน์
1. ลดค่าใช้จา่ ยในการจดั ประชุมและประสานงานนดั หมาย
2. ลดค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางเพือ่ มาประชุม
3. เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการประชมุ ด้วยฟงั กช์ นั การใช้งานทีจ่ ำเป็นและหลากหลาย
4. เพ่ิมประสทิ ธิภาพของงานและผลผลติ ทางธุรกิจ
5. เพ่มิ การใชป้ ระโยชนจ์ ากการลงทนุ ด้านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการส่อื สารของ
องค์กร
คุณสมบัติของการประชุมทางไกลออนไลน์
1. หอ้ งประชุมพกพา ประชมุ ได้ในทุกที่ ทุกเวลา ท่วั โลก ผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต
2. นัดหมายงา่ ย ใช้สะดวก การนดั หมายและการบริหารการประชุมสามารถทำได้อยา่ งสะดวกรวดเร็ว
และบ่อยเท่าท่ตี ้องการ โดยการนดั หมายผา่ นทาง E–mail
3. เคร่ืองมือชว่ ยสนทนา มีเครอื่ งมือใชง้ านทหี่ ลากหลาย เพ่อื รองรบั การประชุม เช่น กระดาน
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ การแชรไ์ ฟล์ การสง่ ข้อความ การจัดทำโพลสำรวจความคดิ เห็น การแชรห์ น้าจอคอมพิวเตอร์
เปน็ ตน้
4. ควบคมุ การประชุม การควบคมุ สามารถทำได้เสมือนการประชมุ จรงิ โดยประธานการประชมุ
สามารถปดิ เสยี งผู้เข้า รว่ มประชุมท่านอ่นื และอนุญาตเฉพาะผู้มีสิทธิพดู สามารถพูด หรืออาจเชิญผู้เข้ารว่ ม
ประชมุ หรอื สมาชิกทา่ นใดท่านหนงึ่ ออกจากห้องประชมุ ได้
5. บนั ทึกการประชมุ ออนไลน์ สามารถบันทึกการประชุมออนไลน์ได้และสามารถนำเน้ือหาการประชมุ
กลบั มาทบทวนใหม่ได้
6. สามารถบริหารการใช้ชอ่ งสัญญาณอนิ เทอรเ์ น็ต (Bandwidth) ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
7. รองรับการประชุมได้หลากหลายภาษา
8. รองรบั ภาพเคล่ือนไหวและประเภทไฟล์ท่ีสำคัญเพ่ือใชใ้ นการประชุม
9. มฟี งั กช์ ันรองรบั การประชุมครบครัน เช่น Whiteboard Pointer
10. รองรบั การใชง้ านทั้ง Wifi และ WiMax
สิทธิและความสามารถของผู้เขา้ ประชุม
ในการประชมุ ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลนผ์ ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตความเรว็ สงู สามารถแบ่งห้อง
ประชมุ ออกเปน็ 4 รปู แบบ คือ
1. ห้องประชมุ แบบควบคมุ โดยเจ้าของห้อง/ประธาน (Host Controlled) หอ้ งประชุมลกั ษณะนเ้ี มื่อ
ผเู้ ขา้ ร่วมประชุมได้ทำการล็อกอินเข้าระบบ เพ่ือทำการเข้ารว่ มประชมุ เรียบร้อยแลว้ น้ันผูเ้ ข้าร่วมประชมุ ทุก
ทา่ น (ยกเว้นเจา้ ของห้อง/ประธานหอ้ งประชุม) จะยังไมส่ ามารถมองเห็นหน้าจอภาพ และไม่สามารถสนทนา
โต้ตอบกบั เจ้าของห้อง/ประธานห้องประชุม และผูเ้ ข้าร่วมประชมุ ทา่ นอ่นื ในระหว่างการประชมุ ได้เน่ืองจาก
ตอ้ งขอสทิ ธ์เิ พื่อควบคุมหรอื ต้องให้เจ้าของห้อง/ประธานห้องใหส้ ทิ ธใิ์ นการควบคุมก่อน จึงจะสามารถเหน็
หน้าจอภาพและสามารถสนทนาโตต้ อบกบั เจ้าของหอ้ ง/ประธานหอ้ งประชุม และผู้เขา้ รว่ มประชุมท่านอื่นใน
ระหว่างการประชุมได้
2. หอ้ งประชมุ แบบอสิ ระ (Interactive) หอ้ งประชุมลักษณะนีเ้ ม่อื ผู้เขา้ รว่ มประชุมได้ทำการลอ็ กอิน
เขา้ ระบบเพ่ือทำการเขา้ ร่วมประชุมเรยี บรอ้ ยแล้วนัน้ ผเู้ ข้าร่วมประชมุ ทกุ ทา่ นจะสามารถมองเหน็ หนา้ จอภาพ
และสามารถสนทนาโตต้ อบกับผเู้ ขา้ ร่วมประชุมทุกท่านระหวา่ งการประชมุ ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งรอใหเ้ จา้ ของห้อง/
ประธานหอ้ งประชุม อนุญาตใหใ้ ชส้ ทิ ธก์ิ ารควบคมุ
3. ห้องประชุมแบบวดิ ีโอออนไลน์ (Video Conference) ห้องประชมุ ลักษณะน้จี ะมกี ารนำเสนอวดิ ีโอ
ออนไลนโ์ ดยผา่ นโปรแกรม โดยทีผ่ ู้เขา้ ร่วมประชุมทุกทา่ นจะไม่สามารถเหน็ หน้าจอภาพ และไมส่ ามารถ
สนทนาโต้ตอบกบั ผู้เขา้ รว่ มประชุมทา่ นอนื่ ได้ สิ่งทผี่ ู้เขา้ ร่วมประชุมทุกท่านจะเหน็ เหมือนกันนนั้ คือ วดิ ีโอท่ี
นำเสนอออนไลนเ์ ทา่ นนั้
4. หอ้ งประชมุ แบบควบคมุ โดยประธานและเลขานกุ าร (Large Conference) ห้องประชมุ ลักษณะน้ี
จะมีผูท้ ส่ี ามารถควบคุมสทิ ธิก์ ารใชง้ านหอ้ งประชมุ อยู่ 2 คน คือ ประธานห้องประชมุ และผ้ชู ่วยประธาน/
เลขานกุ าร โดยหนา้ ที่ของประธานห้องประชุมนน้ั จะควบคุมดแู ลภาพรวมการประชมุ เปน็ แค่พียงผู้ชมอย่าง
เดยี วแต่ไม่เหมือนกับผชู้ ่วยประธาน/เลขานกุ ารห้องประชุมซงึ่ ต้องทำหน้าทใ่ี นการนำเสนอข้อมลู /เอกสาร
สามารถให้สทิ ธ์กิ บั ผู้เขา้ ร่วมประชุมท่านใดท่ีต้องการจะเปน็ ผบู้ รรยายหรือผูน้ ำเสนอ โดยจะควบคุมการประชมุ
ให้ดำเนินไปจนกวา่ การประชมุ จะแลว้ เสรจ็ สว่ นผูเ้ ข้ารว่ มประชมุ ท่านท่ีล็อกอนิ เข้าระบบเรยี บรอ้ ยแล้วนัน้ จะไม่
สามารถเหน็ หนา้ จอภาพและไม่สามารถสนทนาโต้ตอบกนั ระหว่างการประชุมได้
6.4.5 บริการควบคุมระยะไกล (Telnet)
บรกิ ารควบคมุ ระยะไกลเปน็ บริการที่ช่วยใหเ้ ราสามารถเข้าสรู่ ะบบคอมพิวเตอร์อื่นเสมือนหน่ึงไปนั่งใช้
เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ของท่นี น่ั โปรแกรมทชี่ ่วยใหใ้ ชบ้ ริการน้ีได้ คอื โปรแกรม NCSA Telnet เมื่อเปิดโปรแกรม
แล้วให้พมิ พ์คำสัง่ Telnet เมื่อใช้คำสง่ั Telnet แล้ว ใหพ้ ิมพ์ที่อยู่ของแหลง่ ขอ้ มูลน้นั ก็จะสามารถเข้าสูร่ ะบบ
ข้อมูลน้นั ๆ ได้เสมอื นไปน่งั อย่หู นา้ จอคอมพิวเตอร์ของเคร่ือง ๆ นัน้
วธิ ีการเปดิ ใช้ Telnet ใน Windows 10
ขนั้ ตอนท่ี 1 ตดิ ตัง้ Telnet เปิด Control Panel ตามคา่ Default จะไม่ได้ติดตั้ง Telnet ไว้ใน
Windows 10 ต้องเปิดใชง้ านเอง โดยเขา้ Control Panel จากในเมนู Start ดังรปู ท่ี 6.20
ขน้ั ตอนท่ี 2 เปิด “Programs and Features” หรือ “Programs” ตวั เลือกท่ีขึน้ จะตา่ งกนั ไปแล้วแต่
วา่ Control Panel เปน็ มุมมอง Icon หรอื Category อยแู่ ต่ไมว่ า่ อนั ไหนกป็ ลายทางเดียวกนั ดังรูปที่ 6.21
ขนั้ ตอนที่ 3 คลกิ ลิงก์ “Turn Windows features on or off” จะมีให้ใสร่ หัสผา่ นแอดมิน
(Administrator Password) ก่อน ดงั รปู ท่ี 6.22
ข้ันตอนท่ี 4 หา Entry “Telnet Client” ในรายชื่อฟเี จอรท์ ่ีมี จะเหน็ Entry ชอ่ื Telnet Clientอาจ
ตอ้ งเล่ือนลงไปก่อนถงึ จะเจอ จากนน้ั คลกิ ชอ่ งข้างหน้า Telnet Client แล้วคลกิ ปุ่ม OK อาจต้องรอ1–2 นาที
ถึงจะตดิ ตั้งโปรแกรมเสรจ็ ดงั รูปที่ 6.23
ขัน้ ตอนที่ 5 ตดิ ตง้ั Telnet ผ่าน Command Prompt ถ้าอยากทำทุกขั้นตอนใน Command
Prompt ให้ตดิ ต้ัง Telnet ดว้ ยคำส่ัง โดยพมิ พ์ cmd ในหน้าตา่ ง Run เพื่อเปิด Command Prompt แล้วพิมพ์
pkgmgr/iu: “TelnetClient” จากน้นั กดแป้นพิมพ์ Enter สักครู่จะกลับมาที่ Command Prompt[1]
ปิดแล้วเปดิ Command Prompt เพ่อื เร่ิมใช้งาน Telnet ไดท้ นั ที ดังรูปที่ 6.24
ขั้นตอนท่ี 6 เปิด Command Prompt ตอ้ งใช้งาน Telnet ผา่ น Command Prompt ให้เปดิ
Command Prompt โดยกดแป้นพิมพ์ Windows+R แลว้ พิมพ์ cmd ในหนา้ ต่าง Run ดังรปู ท่ี 6.25
ขั้นตอนท่ี 7 เปิดโปรแกรม Telnet พมิ พ์ telnet แล้วกดแป้นพิมพ์ Enter เพ่อื เปิด MicrosoftTelnet
จากนัน้ Command Prompt จะหายไป เขา้ Command Line ของ Telnet แทน โดยจะขึ้นวา่ Microsoft
Telnet> ดงั รปู ท่ี 6.26
ขั้นตอนที่ 8 เชื่อมตอ่ กับเซิร์ฟเวอร์ Telnet ใน Command Line ของ Telnet ใหพ้ ิมพ์ open
serveraddress [port] ถา้ มขี ้อความต้อนรบั หรือใหใ้ ส่ Username กบั Password แสดงวา่ เชื่อมต่อเซริ ์ฟเวอร์
เรยี บรอ้ ย เชน่ ถ้าจะดู ASCII Star Wars ใหพ้ มิ พ์ open towel.blinkenlights.nl แลว้ กดแป้นพมิ พ์ Enter หรอื
เช่ือมตอ่ โดยตรงจากใน Command Prompt โดยพิมพ์ telnet serveraddress [port] ดังรปู ที่ 6.27
ขัน้ ตอนที่ 9 ปิด Telnet เมือ่ ใช้งานเซิร์ฟเวอร์ Telnet เสร็จ ใหต้ ดั การเชอ่ื มต่อก่อนแล้วปดิ หนา้ ต่าง
โดยเปดิ Command Line ของ Telnet เริ่มจากกดแป้นพิมพ์ Ctrl+] พิมพ์ quit แล้วกดแป้นพิมพ์ Enterเพ่ือ
ตัดการเช่ือมต่อ ดงั รปู ที่ 6.28
6.4.6 บรกิ ารโอนย้ายไฟล์ (File Transfer Protocol : FTP)
บรกิ ารโอนยา้ ยไฟล์ คือ บรกิ ารทใ่ี ช้ในการโอนย้ายไฟล์หรอื ขอ้ มูลจากคอมพวิ เตอรห์ นงึ่ ไปยังอีก
คอมพิวเตอรห์ นึง่ สามารถโอนยา้ ยข้อมลู เช่น รูปภาพ ข้อความ บทความ คู่มอื โปรแกรมตา่ ง ๆ
รปู ที่ 6.29 FTP (File Transfer Protocol) (ที่มา : https://qrgo.page.link/fhPpp)
การโอนยา้ ยไฟล์ สามารถแบ่งไดด้ ังน้ี
1. การดาวนโ์ หลดไฟล์ (Download File) คือ การรับข้อมลู เขา้ มายงั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ของผูใ้ ชใ้ น
ปจั จุบันมีหลายเว็บไซต์ที่จดั ใหม้ กี ารดาวน์โหลดโปรแกรมไดฟ้ รี เช่น www.download.com
2. การอัปโหลดไฟล์ (Upload File) คือ การนำไฟล์ข้อมลู จากเครือ่ งของผใู้ ชไ้ ปเกบ็ ไวใ้ นเครอื่ งท่ี
ใหบ้ ริการ (Server) ผ่านระบบอนิ เทอร์เนต็ เชน่ กรณที ีท่ ำการสร้างเว็บไซต์ จะมีการอปั โหลดไฟลไ์ ปเกบ็ ไวใ้ น
เครอ่ื งบริการเว็บไซต์ (Web Server) ทีเ่ ราขอใชบ้ รกิ ารพ้ืนที่ (Web Server) โปรแกรมทีช่ ว่ ยในการอัปโหลด
ไฟล์ เชน่ FTP Commander
(1) FTP เป็นโปรแกรมท่ีใช้สำหรับ Upload/Download หรอื ดโู ครงสร้างของไฟล์ และ Directory ใน
Server FTP
(2) FTP เป็นมาตรฐานในการถา่ ยโอนไฟล์ และเปน็ ส่วนหนึ่งของชุดโปรโตคอล TCP/IPมีประโยชน์มาก
สำหรบั การรับส่งไฟล์ระหว่างเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ท่เี ป็นเคร่ืองลูก (FTP Client) กับเครื่องท่เี ปน็ เครอ่ื งให้บรกิ าร
(FTP Server) โดยเครื่อง FTP Client อาจเปน็ เคร่อื งคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานกนั ทั่วไป ส่วนเคร่อื ง FTP Server
อาจเป็นเครื่อง PC ธรรมดาจนถงึ เครื่องท่ีมีสมรรถภาพสงู
FTP (File Transfer Protocol) คือ การถ่ายโอนไฟล์ หรือเรยี กไดอ้ ีกอย่างว่า การคดั ลอกแฟม้ ขอ้ มูล
บนเครือข่าย คือ การโอนยา้ ยแฟ้มข้อมูลจากเครอื่ งคอมพิวเตอร์ระบบหน่งึ มายงั อีกระบบหน่งึ ผ่านเครือข่าย
สามารถทำได้หลายรปู แบบ
เชน่ การโอนจากแมข่ ่ายมายังเครื่องพีซี หรือเครื่องพีซีไปแม่ขา่ ย หรอื ระหวา่ งแม่ขา่ ยดว้ ยกันเอง
วิธีการทำงานของ FTP
FTP ทำงานในแบบไคลเอนต์เซิรฟ์ เวอร์ โดยพฒั นาขึ้นตามโปรโตคอลพน้ื ฐาน TCP ซึ่งจะต้องมกี าร
ติดตอ่ เพื่อจองชอ่ งสอื่ สาร (Connection Establishment) ก่อนทำการสื่อสารจริง เรียกวา่ เป็นการตดิ ต่อแบบ
ทตี่ อ้ งขอเชื่อมต่อก่อน (Connection–Oriented)
ในการใช้งาน FTP เพื่อเร่ิมการติดตอ่ สือ่ สารนัน้ จะต้องระบุหมายเลข IP ปลายทาง และตอ้ งผ่านการ
แจ้งรหัส Login และ Password ของเซริ ์ฟเวอร์ทจ่ี ะตดิ ต่อกอ่ นจงึ จะเขา้ ใชง้ านได้ผผู้ ลิต Freeware และผผู้ ลติ
Shareware จะทำการสง่ ซอฟต์แวร์ของตนเองทีต่ ้องการแจกจา่ ยไปไว้ท่ีคอมพวิ เตอร์ทเ่ี ป็น FTP Server
ปัจจบุ ันมหี นว่ ยงานหลายแหง่ ท่กี ำหนดให้ Server ของตน ทำหนา้ ที่เป็น FTP Site เกบ็ รวบรวมข้อมลู และ
โปรแกรมต่าง ๆ สำหรับให้บริการ FTP เช่น WS_FTP, CuteFTP, FileZilla, WinSCP
6.4.7 บริการกระดานขา่ ว (Webboard)
บริการกระดานขา่ วหรือเวบ็ บอรด์ คือ โปรแกรมท่ีทำหน้าทีใ่ นลักษณะเป็น กระดานสนทนากระดาน
แจ้งขา่ วสาร ขอ้ มูล และแลกเปล่ียนความคิดเห็นกนั เวบ็ บอร์ด เปน็ ศนู ยก์ ลางในการแสดงความคิดเหน็ มีการต้ัง
กระทู้ถาม–ตอบในหัวข้อทสี่ นใจเวบ็ บอรด์ ของไทยท่ีเปน็ ท่ีนยิ มและมผี เู้ ข้าไปแสดงความคิดเหน็ มากมาย คือ
เว็บบอรด์ พนั ทิป (www.pantip.com)
บริการห้องสนทนา (Chat Room)
ห้องสนทนา คือ การสนทนาออนไลนอ์ ีกประเภทหนึง่ ทีม่ ีการสนทนาดว้ ยข้อความ (Text Chat)เสยี ง
(Voice Chat) หรือวิดโี อ (VDO Chat) การเข้าไปสนทนาต้องเขา้ ไปในเว็บไซต์ทใี่ ห้บริการห้องสนทนา เช่น
www.chatroulette.com, www.paltalk.com, www.badoo.com
ผ้ใู ชง้ าน สามารถจำแนกผูเ้ ข้าใชง้ านกระดานข่าวสารไดเ้ ป็น 4 ส่วน ตามลกั ษณะสิทธิของการเขา้ ถึง คือ
1 ผู้ดแู ลระบบสงู สุด ผู้ท่ีมีอภิสทิ ธ์ิเหนือกวา่ ทุกคน และมสี ิทธพิ ิเศษทีผ่ ้อู ่ืนไม่มี คือ การลบผใู้ ชง้ านทีอ่ ยู่
ระดบั ตา่ํ กว่าตนเอง เป็นตน้
2. ผู้ดแู ลระบบทว่ั ไป ผทู้ ีเ่ ขา้ ไปจัดการกับกระทูต้ ่าง ๆ ให้เกดิ ความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย เช่นการยา้ ย
กระทู้ไปในหมวดท่ถี ูกตอ้ ง ลบกระท้เู ก่า ๆ เปน็ ต้น
3. ผใู้ ช้ที่เข้าระบบโดยการกรอกชื่อและรหสั ผ่าน ผใู้ ช้งานที่มสี ิทธบิ างอยา่ งเหนือกว่ามากกว่าผู้ไม่
ประสงค์ออกนาม เช่น การแกไ้ ขคำตอบกระทู้ การลบกระทู้ของตัวเอง เปน็ ต้น
4. ผ้ใู ช้ทไ่ี ม่ประสงค์ออกนาม ผทู้ ไ่ี ม่ไดเ้ ข้าระบบโดยการกรอกชอื่ และรหัสผ่าน จะไม่ได้รับสทิ ธิบาง
ประการ เช่น การแกไ้ ขคำตอบกระทู้ การลบกระทู้ของตัวเอง เป็นต้นผ้ใู ชท้ ไ่ี ม่ประสงคอ์ อกนามมสี ทิ ธพิ เิ ศษ
บางอยา่ งทีไ่ มเ่ ปน็ ท่ีพึงต้องการ คือ การก่อกวนกระทหู้ รือการปนั่ กระทู้ แตผ่ ดู้ ูแลระบบกส็ ามารถระงบั การ
ก่อกวนกระทไู้ ด้โดยการใช้บทลงโทษทีไ่ ด้กำหนด
เอาไว้แลว้ ในสว่ นของผู้ควบคุมระบบ
ผู้ให้บริการ
ผใู้ ห้บริการเว็บบอรด์สามารถมเี วบ็ บอรดข์ องตัวเองได้หลายวิธี เช่น เขียนโปรแกรมสรา้ งเวบ็ บอรดข์ อง
ตัวเอง ใช้ซอฟต์แวร์สำเรจ็ รปู ติดตงั้ บนเซริ ์ฟเวอร์ส่วนตวั หรือขอบริการตดิ ต้ังเว็บบอรด์ สว่ นตวั ผา่ นผู้ใหบ้ ริการ
ประโยชน์ของการใช้ Webboard
1. เปน็ ช่องทางในการตดิ ต่อ ประกาศขา่ วสาร ข้อมูล และแลกเปลย่ี นความคิดเห็นกนั ได้
2. ทำให้เกดิ สงั คมในการสนทนาแลกเปล่ยี นความคิดเห็นกันระหวา่ งกลุ่มผู้เย่ียมชม
3. ผ้พู ัฒนาโฮมเพจสามารถใช้เป็นช่องทางในการประกาศข่าวใหม่ ๆ แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ กบั ผอู้ ื่น
ได้
4. ง่ายในการใชง้ าน แมจ้ ะเป็นผู้เริม่ ตน้ เม่อื เทียบกบั การใช้ Mailing Lists หรอื News Group
รปู ที่ 6.34 บรกิ ารห้องสนทนา (Chat Room) เช่น www.paltalk.com
(ทม่ี า : www.paltalk.com)
สรปุ สาระสำคญั
อนิ เทอร์เน็ต (Internet) นั้นยอ่ มาจากคำวา่ “International Network” หรอื “Inter Connection
Network” ซ่งึ หมายถงึ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญท่ ี่เชื่อมโยงเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรท์ ่ัวโลกเข้าไวด้ ว้ ยกัน
เพ่ือใหเ้ กดิ การส่ือสารและการแลกเปล่ียนขอ้ มลู ร่วมกัน โดยอาศยั ตัวเชื่อมเครือข่ายภายใตม้ าตรฐานการ
เชอื่ มโยงเดียวกัน นนั่ ก็คือ TCP/IP Protocol ซ่ึงเปน็ ข้อกำหนดวิธกี ารติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ใน
ระบบเครือข่ายซ่ึงโปรโตคอลน้ีจะช่วยให้คอมพวิ เตอรท์ ม่ี ีฮาร์ดแวร์ทแ่ี ตกต่างกนั สามารถตดิ ต่อถึงกนั ได้
ความสำคญั ของอนิ เทอรเ์ น็ตด้านการศกึ ษา
1. สามารถใชเ้ ป็นแหล่งคน้ ควา้ หาขอ้ มลู ไม่ว่าจะเป็นข้อมลู ทางวชิ าการ ข้อมูลดา้ นการบันเทิงด้านการ
แพทย์ และอื่น ๆ ทน่ี ่าสนใจ
2. ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตจะทำหนา้ ที่เสมือนเป็นห้องสมดุ ขนาดใหญ่
3. นักศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยสามารถใชอ้ ินเทอร์เน็ตตดิ ต่อกับมหาวิทยาลยั อ่นื ๆ เพอื่ คน้ หาข้อมูลท่ี
กำลงั
ศึกษาอยู่ได้ ทง้ั ท่ีข้อมลู ทเี่ ป็น ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ เป็นตน้
ดา้ นธุรกิจและการพาณชิ ย์
1. คน้ หาข้อมลู ต่าง ๆ เพ่ือช่วยในการตัดสนิ ใจทางธุรกจิ
2. สามารถซื้อขายสนิ คา้ ผ่านระบบเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็
3. ผใู้ ช้ทีเ่ ป็นบรษิ ัทหรือองค์กรตา่ ง ๆ ก็สามารถเปดิ ให้บรกิ ารและสนับสนุนลูกคา้ ของตน ผา่ นระบบ
เครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตได้ เช่น การให้คำแนะนำ สอบถามปัญหาต่าง ๆ ใหแ้ กล่ ูกคา้ แจกจ่ายตัวโปรแกรม
ทดลองใช้ (Shareware) หรือโปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เป็นต้น
ดา้ นการบนั เทงิ
1. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เชน่ การค้นหาวารสารตา่ ง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตท่ี
เรยี กว่า Magazine Online รวมท้ังหนงั สอื พมิ พ์และขา่ วสารอน่ื ๆ โดยมภี าพประกอบที่จอคอมพิวเตอร์
เหมือนกบั วารสารตามรา้ นหนังสอื ทัว่ ๆ ไป
2. สามารถฟงั วิทยุผา่ นระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตได้
3. สามารถดึงข้อมลู (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่างทงั้ ภาพยนตรใ์ หม่และเก่ามาดูได้
อินเทอรเ์ น็ตในประเทศไทย
ประเทศไทยไดเ้ รม่ิ ติดต่อกับอินเทอรเ์ นต็ ในปี พ.ศ. 2530 ในลักษณะการใช้บริการจดหมายเล็กทรอ
นกิ สแ์ บบแลกเปลย่ี นถุงเมลเป็นครัง้ แรก โดยเริม่ ที่มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (Prince of
Songkla University) และสถาบันเทคโนโลยแี ห่งเอเชยี หรือสถาบันเอไอที (AIT) ภายใต้โครงการความร่วมมือ
ระหวา่ งประเทศไทยและออสเตรเลีย (โครงการ IDP) ซึ่งเป็นการติดต่อเชอ่ื มโยงโดยสายโทรศพั ท์ จนกระท่ังปี
พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ไดย้ ืน่ ขอที่อยู่อนิ เทอร์เนต็ ในประเทศไทย โดย
ไดร้ ับท่ีอยู่อนิ เทอรเ์ น็ต Sritrang.psu.th ซงึ่ เปน็ ท่อี ยอู่ นิ เทอรเ์ นต็ แห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534
บรษิ ัท DEC (Thailand) จำกัด ไดข้ อที่อย่อู นิ เทอรเ์ นต็ เพ่ือใชป้ ระโยชนภ์ ายในของบริษัท โดยไดร้ ับทอี่ ยู่
อินเทอรเ์ น็ตเป็น dect.co.th โดยท่คี ำ “th” เป็นสว่ นท่เี รียกว่า โดเมน (Domain) ซึ่งเป็นสว่ นทแ่ี สดงโซนของ
เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยยอ่ มาจากคำวา่ Thailand
เครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web : WWW) เปน็ การเขา้ สรู่ ะบบข้อมลู ในรูปของ
Interactive Multimedia คอื มที ง้ั รูปภาพ ข้อความ ภาพเคล่ือนไหว เสียง และวิดีโอ อีกทัง้ ข้อมูลเหล่านยี้ งั ใช้
ระบบ ที่เรียกว่า Hypertext
ไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail หรือ E–Mail) เป็นบริการหนง่ึ บนอินเทอร์เน็ตทีค่ นนิยม
ใช้กนั มาก คือ ส่งจดหมายโดยทางคอมพวิ เตอร์ถึงผูท้ ่ีมบี ัญชีอินเทอร์เนต็ ไม่ว่าจะอยู่ใกล้หรอื ไกลคนละซีกโลก
จดหมายก็จะไปถึงอยา่ งสะดวกรวดเรว็ และง่ายดาย โปรแกรมที่ใช้ เชน่ Outlook, Gmail และยงั มีเมลตา่ ง ๆท่ี
ใหบ้ ริการอยา่ งมากมายในปัจจุบนั ตามหน่วยงานหรือองค์กรตา่ ง ๆ
บริการค้นหาข้อมูลบนอนิ เทอร์เน็ต (Search Engine) เป็นเวบ็ ไซตท์ ม่ี เี ครอ่ื งมือในการคน้ หา
เว็บไซต์
ต่าง ๆ มาเกบ็ ไวใ้ นฐานข้อมลู ของตัวเองโดยอัตโนมตั ิ เชน่ Google.com, Bing.com ซึ่งเครื่องมอื นม้ี ีช่ือ
เรียกวา่ Search Robot จะทำหนา้ ท่ีคอยวงิ่ เขา้ ไปอา่ นข้อความจากหน้าเว็บไซต์ ของเว็บตา่ ง ๆ แล้วนำมา
จดั ลำดบั คำคน้ หา (Index) ท่ีมีในเว็บไซตเ์ หล่านั้น เก็บไว้ในฐานข้อมลู ของตนเอง เมื่อเข้าไปใช้บรกิ ารกับ
Search Engine
บรกิ ารสนทนาบนอนิ เทอร์เนต็ (Instant Messaging) คือ การสนทนาทางโทรศัพท์อย่างหนึง่ แต่
เป็นในรูปของตัวอักษร พนักงานในบริษทั ทั้งขนาดเล็กและใหญ่ตา่ งใช้ IM เปน็ เครอื่ งมอื ในการสื่อสาร สำหรบั
คนอกี จำนวนมาก IM คอื การสอื่ สารสำรองเมื่ออเี มลมีปญั หาหรอื เหตุฉกุ เฉินอื่น ๆ
Telnet เป็น บริการทีช่ ่วยให้เราสามารถเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์อ่ืนเสมือนหนง่ึ ไปน่งั ใชเ้ ครื่อง
คอมพวิ เตอร์ของท่ีนน่ั โปรแกรมที่ช่วยให้ใช้บริการน้ีได้ เชน่ โปรแกรม NCSA
FTP (File Transfer Protocol) คือ บรกิ ารทใ่ี ช้ในการโอนย้ายไฟล์ หรือข้อมลู จากคอมพวิ เตอรห์ นง่ึ
ไปยงั อีกคอมพิวเตอร์หน่งึ สามารถโอนยา้ ยขอ้ มูล เชน่ รปู ภาพ ขอ้ ความ บทความ คู่มือ และโปรแกรมตา่ ง ๆ
บรกิ ารกระดานข่าว (Webboard) คอื โปรแกรมท่ีทำหน้าทใี่ นลักษณะเปน็ กระดานสนทนาเปน็
กระดานแจง้ ขา่ วสาร ข้อมูล และแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ กัน
แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 6
การใช้บริการบนอนิ เตอรเ์ น็ต
คำช้ีแจง จงตอบคำถามต่อไปน้ี
1. จงบอกความหมายของอนิ เตอร์เน็ต
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
2. จงบอกความสำคญั ของอนิ เตอรเ์ น็ต
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
3. จงบอกประวัติของอินเตอร์เนต็ มาพอเขา้ ใจ
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ...............................................................
4. จงยกตวั อยา่ งบริการกระดานขา่ ว หรือเว็บบอร์ดมาพอเขา้ ใจ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................................................... .....
5. จงบอกการใช้บรกิ ารบนอินเตอรเ์ น็ตมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 6
การใช้บริการบนอินเทอรเ์ น็ต
คำชีแ้ จง ใหเ้ ลือกคำตอบที่ถูกตอ้ งท่สี ุดเพียงคำตอบเดียว
1. อินเทอรเ์ น็ตหมายถงึ ข้อใด
ก. ชอื่ เรยี กกลมุ่ ของคอมพวิ เตอร์
ข. การสง่ สัญญาณเพือ่ สื่อสารกัน
ค. การคน้ ควา้ หาข้อมลู
ง. การนำเครือข่ายหลายเครือข่ายมาเชอ่ื มโยงกนั ทวั่ โลก
จ. การจัดเก็บข้อมลู
2. การเชอ่ื มต่อเครือข่ายคอมพวิ เตอรห์ ลาย ๆ เครือขา่ ยเข้าดว้ ยกนั ตอ้ งใชอ้ ปุ กรณ์ในข้อใด
ก. ดาวเทียม ข. วทิ ยุ
ค. โทรทศั น์ ง. โทรศัพท์
จ. ถูกทั้ง ข้อ ก. และ ข้อ ข.
3. การเข้าไปดขู ้อมลู ตา่ ง ๆ ในเวบ็ ไซต์ตอ้ งใชโ้ ปรแกรมใด
ก. เวิร์ด ข. บราวเซอร์
ค. ลินกุ ซ์ ง. เอก็ เซล
จ. การนำเสนอข้อมลู
4. [email protected] ในที่น้ี com หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. เครอื่ งคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ข. สถาบันการเงนิ
ค. ชือ่ ผูส้ ่งหรือผ้รู ับจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ ง. ท,่ี ทอี่ ยู่
จ. สถาบนั ธุรกิจ
5. [email protected] ในทน่ี ี้ yahoo หมายถึงข้อใด
ก. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์แมข่ ่าย ข. สถาบนั ธรุ กจิ
ค. ชือ่ ผู้สง่ หรอื ผ้รู ับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ง. ท,ี่ ที่อยู่
จ. สถาบันการเงนิ
6. ใครปฏิบตั ิตนไมเ่ หมาะสมในการใช้อนิ เทอร์เน็ต
ก. แจก๊ ใช้ภาษาท่ีสภุ าพ
ข. บวิ ไมด่ ภู าพท่ีไม่เหมาะสม
ค. นกน้อยคน้ หาขอ้ มูลเกย่ี วกับสมุนไพรไทย
ง. นิม่ รบี แจ้งคุณครเู มื่อพบปัญหาจากการใช้อินเทอรเ์ น็ต
จ. นดิ แอบนดั พบกบั ต๋อยทีร่ จู้ ักกนั ทางอนิ เทอรเ์ น็ต
7. การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกสแ์ ตกตา่ งจากการส่งจดหมายธรรมดาอย่างไร
ก. สามารถส่งภาพเคลอื่ นไหวและเสียงได้ ข. มีท่ีอยูผ่ ู้รบั
ค. มหี ัวเร่ือง ง. ต้องพิมพ์เนื้อความของจดหมาย
จ. ถูกทกุ ข้อ
8. เครอื ขา่ ยของคอมพวิ เตอร์มีลักษณะเหมือนสงิ่ ใด
ก. รงั ผึ้ง ข. ระบบสรุ ยิ ะ
ค. ผีเสอื้ ง. ก้างปลา
จ. ใยแมงมุม
9. อปุ กรณใ์ ดใชใ้ นขณะเช่ือมตอ่ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
ก. โทรศพั ท์ ข. วิทยุ
ค. โมเด็ม ง. ดาวเทียม
จ. ถกู ทั้ง ข้อ ก. และ ข้อ ข.
10. ข้อใดไมใ่ ช่อปุ กรณ์ในการตดิ ตงั้ อนิ เทอร์เนต็
ก. คอมพวิ เตอร์ ข. โมเด็ม
ค. เสาอากาศ ง. สายโทรศพั ท์
จ. สายแลน
11. โปรแกรมทีใ่ ช้สำหรบั แสดงภาพและเสยี งบนอนิ เทอรเ์ น็ตคือโปรแกรมใด
ก. Browser ข. Word
ค. Excel ง. Lenux
จ. ถกู ทกุ ข้อ
12. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ขอ้ แตกต่างของไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์กบั ไปรษณีย์ธรรมดา
ก. การใสท่ ่ีอยู่ของผรู้ ับ ข. รูปแบบการเขยี น
ค. การนำสง่ โดยบรุ ษุ ไปรษณีย์ ง. การสง่ ภาพเคล่อื นไหว
จ. ถกู ท้ัง ข้อ ค. และ ข้อ ง.
13. ขอ้ ใดไม่ควรปฏิบตั ิในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต
ก. อ่านข้อความท่ีเหมาะสมกับวัย
ข. นำข้อมลู ของผู้อืน่ มาเผยแพร่
ค. ไมใ่ ชค้ ำหยาบในการสนทนาในอนิ เทอร์เนต็
ง. ไมบ่ อกข้อมลู ส่วนตัวกับคนทร่ี ู้จกั กันทางอินเทอรเ์ น็ต
จ. ใช้คำที่สุภาพในการสนทนา
14. พาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนกิ สห์ มายถงึ ข้อใด
ก. การพาณิชยท์ ี่ใช้อนิ เทอร์เน็ตเป็นสอื่ กลยทุ ธก์ ารซือ้ เท่าน้ัน
ข. การพาณชิ ยท์ ่ีใช้การสื่อสารผา่ นระบบเครือขา่ ยอิเลก็ ทรอนิกส์
ค. การพาณชิ ย์ที่ใชส้ อ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์กระจายสนิ ค้าในตลาดอุตสาหกรรม
ง. การพาณชิ ย์ที่ใชส้ อ่ื อิเล็กทรอนกิ สก์ ระจายสนิ ค้าในตลาดสนิ ค้าอปุ โภคบริโภค
จ. การพาณชิ ย์ทใี่ ช้อนิ เทอร์เน็ตเปน็ สอื่ กลยุทธก์ ารซ้อื ขายเท่าน้นั
15. โปรแกรมใดใช้ในการคน้ หาข้อมูลบนอนิ เทอรเ์ นต็
ก. Web Editor ข. Search Engine
ค. Web Browser ง. World Wide Web
จ. ไม่มีข้อใดถูก