The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tae DevilSoul, 2020-03-03 23:07:02

Merged_File

Merged_File



ช่อื โครงการ ระบบเปดิ ปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลเิ คช่ัน Blynk
สาขาวชิ า Blynk Fan System Triggered By Smartphone
ชื่อผูจ้ ดั ทา คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ
1. นายฐาพสิ ิฐ คชรินทร์ รหสั นักเรยี น 6022040071
อาจารย์ทป่ี รกึ ษาโครงการ 2. นายธนิสร อิม่ แย้ม รหัสนักเรยี น 6022040078
ปกี ารศึกษา 3. นายนนั ทภทั ร บญุ ศรี รหสั นกั เรียน 6022040083
นางสาวอจั ฉราภรณ์ เกลี้ยงพร้อม
นายปรชี า คางงเู หลอื ม
2562

บทคัดย่อ

การจัดทาโครงการครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบเปิด – ปิดพัดลมด้วยสมาร์โฟนด้วย
แอปพลิเคชั่น Blynk ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อระบบเปิด – ปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดย
แอปพลิเคชั่น Blynk และเผยแพร่ระบบเปิด – ปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนและแอปพลิเคช่ัน Blynk
โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บผลข้อมูล คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา
คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง จานวน 59 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินผล คือ ระบบ
การเปิดปิดพดั ลมด้วยสมาร์ทโฟน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อระบบการเปิดปิดพัดลมด้วย
สมาร์ทโฟน สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู คอื รอ้ ยละ คา่ เฉล่ีย และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน

ผลที่ได้จากแบบสอบถามความพึงพอใจพบว่าเป็นเพศชายจานวน 15 คน ร้อยละ 25.4
เพศหญิง จานวน 44 ร้อยละ 74.6 ระดับความพึงพอใจต่อระบบเปิด-ปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดย
แอปพลิเคช่นั Blynk ภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( =4.58,SD=0.576) โดยแบ่งเป็นท้ังหมด 3 ด้าน
ได้แก่ ด้านการออกแบบชิ้นงานอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62,SD=0.534) ด้านความสามารถใน
การทางานอยูใ่ นระดบั มากทส่ี ุด ( =4.55,SD=0.607) และด้านประสทิ ธภิ าพและความปลอดภัยอยู่ใน
ระดับมากที่สดุ ( =4.56,SD=0.60) ตามลาดับ

คาสาคญั : แท็บเลต็ / พดั ลม/ ฟีเจอรโ์ ฟน/ แฟบเล็ต/ มอื ถือ/ สมารท์ โฟน/ แอปพลิเคชนั่
Blink



กิตติกรรมประกาศ

โครงการระบบเปิด-ปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคชั่น Blynk สาเร็จได้ด้วยดี
เนื่องจากได้รับความกรุณาของอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการ นางสาวอัจฉราภรณ์ เกล้ียงพร้อม และ
นายปรีชา คางงูเหลือม ท่ีได้ให้คาปรึกษาแนะนาชี้แนะแนวทางในการศึกษาค้นคว้า ข้ันตอนวิธีการ
จัดทาโครงการจนสาเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี คณะผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคณุ อย่างสูง ไว้ ณ โอกาสน้ี

คณะผูจ้ ดั ทา

สารบญั ค

เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กติ ติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบัญ (ตอ่ ) ง
สารบัญตาราง จ
สารบัญภาพ ซ
สารบัญภาพ (ต่อ) ณ
บทที่ 1 บทนา
1
1.1 ความเปน็ มาของโครงการ 2
1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ 2
1.3 ขอบเขตของโครงการ 3
1.4 ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั 3
1.5 คาศัพท์เฉพาะ
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฏีท่เี กี่ยวขอ้ ง 4
2.1 แนวคดิ เกยี่ วกับพัดลม 13
2.2 แนวคดิ เกีย่ วกับสมาร์ทโฟน 19
2.3 โปรแกรมและแอปพลิเคชนั่ ท่ใี ช้
บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินการ 23
3.1 การศกึ ษาข้อมูลเบอ้ื งตน้ 24
3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 25
3.3 ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน 34
3.4 เครอื่ งมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 34
3.5 ขนั้ ตอนการดาเนนิ การและเก็บรวบรวมขอ้ มูล 34
3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์ 35
3.7 สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

สารบัญ(ต่อ) ง
เรอ่ื ง
บทที่ 4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล หน้า
37
4.1 ผลการดาเนินงาน 44
บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 45

5.1 สรุป อภปิ รายผล
5.2 ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ก แบบเสนอขออนุมัตโิ ครงการ
ข ภาพข้ันตอน การจัดทาโครงกาน
ค คูม่ ือประกอบการใช้งาน
ง แบบสอบถามความพึงพอใจ
จ ประวตั ิผูจ้ ดั ทา

สารบญั ตาราง จ

ตารางที่ หน้า
4.1 แสดงจานวนของผูต้ อบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ 37
4.2 แสดงจานวนของผ้ตู อบแบบสอบถามคดิ เปน็ ร้อยละ่ จาแนกตามอายุ 38
4.3 แสดงความพงึ พอใจด้านการออกแบบช้ินงาน 39
4.4 แสดงพึงพอใจดา้ นความสามารถในการทางาน 40
4.5 แสดงด้านประสิทธิภาพและความปลอดภยั 41
4.6 แสดงถึงสถิตริ ะดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศกึ ษาที่ประเมนิ การเปิด 42
ปิดพดั ลมด้วยสมารท์ โฟนโดยแอปพลิเคชนั่ Blynk

สารบญั ภาพ ซ

ภาพท่ี หน้า
2.1 แสดงตวั อยา่ งพดั ลม 4
2.2 แสดงตารางประเภทของพดั ลม 5
2.3 แสดงการไหลของอากาศผา่ นตวั พัดลมแบบหมุนเหว่ยี ง 6
2.4 แสดงพดั ลมแบบหมุนเหวี่ยงชนิดใบพดั โคง้ ไปขา้ งหนา้ 6
2.5 แสดงพดั ลมแบบหมุนเหวี่ยงชนิดใบพัดโคง้ ไปขา้ งหลัง 7
2.6 แสดงพดั ลมแบบอากาศไหลตามแนวแกนชนิด Tube axial fans 7
2.7 แสดงแสดงพดั ลมแบบอากาศไหลตามแนวแกนชนิด Vane axial fans 8
2.8 แสดงการหาจุดทางานของพัดลมที่เหมาะสมจากกราฟ 8
2.9 แสดงสมรรถนะของพดั ลมแบบหมุนเหวี่ยงชนิดใบพดั โคง้ ไปขา้ งหนา้ 9
2.10 แสดงสมรรถนะของพัดลมแบบหมุนเหว่ียงชนดิ ใบพดั โค้งไปข้างหลงั 9
2.11 แสดงวธิ ีการควบคุมอัตราการไหลหลายๆ แบบ 10
2.12 แสดงคุณลกั ษณะความเร็ว-แรงบิด ภายใต้เงื่อนไขทป่ี ดิ วาล์วขาเขา้ 11
2.13 แสดงเปรยี บเทียบการควบคมุ แดมเปอรก์ ับการควบคุมความเร็ว 12
2.14 แสดงตวั อย่างมือถือ (Mobile Phone 13
2.15 แสดงตัวอยา่ งฟีเจอรโ์ ฟน (Feature Phone) 14
2.16 แสดงตัวอยา่ งสมารท์ โฟน (SmartPhone) 15
2.17 แสดงตวั อยา่ งแฟบเลต็ (Phablet) 15
2.18 แสดงตวั อยา่ งแท็บเลต็ (Tablet) 16
2.19 แสดงตัวอย่างระบบปฏบิ ตั ิการ (Symbian) 16
2.20 แสดงตัวอยา่ งระบบปฏบิ ตั ิการ (Android) 17
2.21 แสดงตวั อย่างระบบปฏิบัตกิ าร (IOS) 17
2.22 แสดงตวั อย่างระบบปฏบิ ัตกิ าร (BlackBerry) 18
2.23 แสดงLink Download โปรแกรม 19
2.24 แสดงตัวอย่างการติดตง่ั โปรแกรม 19
2.25 แสดงตัวอย่างการตดิ ตง่ั โปรแกรม 19
2.26 แสดงตัวอย่างการเลือกท่จี ดั เก็บไฟล์โปรแกรม 20



สารบัญภาพ(ตอ่ ) หน้า
ภาพที่ 20
20
2.27 แสดงตวั อย่างรอการตดิ ตัง้ ของไฟล์ 21
2.28 แสดงตวั อย่างการเข้าใช้โปรแกรม 21
2.29 แสดงตัวอยา่ งการเข้า Play Store 22
2.30 แสดงตัวอย่างการคน้ หาแอพพลิเคช่ัน Blynk แลการติดตั่ง 22
2.31 แสดงตัวอยา่ งการกด เปดิ แอพพลิเคช่ัน 24
2.32 แสดงตัวอย่างการเข้าใชโ้ ปรแกรม 25
3.1 แสดงตารางทฤษฎขี องมอรแ์ กน 26
3.2 แสดงการออกแบบผงั งาน 27
3.3 แสดงการออกแบบผังงาน (ตอ่ ) 28
3.4 แสดงการออกแบบผังงาน (ต่อ) 29
3.5 แสดงการออกแบบผังงาน (ตอ่ ) 30
3.6 แสดงการออกแบบผงั งาน (ต่อ) 31
3.7 แสดงการออกแบบผงั งาน (ตอ่ ) 32
3.8 แสดงวงจรของระบบ 32
3.9 แสดงการนาแผน่ ไม้มาตดิ ท่ฐี านของพดั ลม 32
3.10 แสดงการนา Arduino และ Relay มาติดทแี่ ผ่นไม้ 33
3.11 แสดงสายไมโคร USB เชอ่ื มต่อกบั สายไฟของพัดลม 33
3.12 แสดงเชื่อมสาย USB เพอื่ จา่ ยไฟให้ Arduino 33
3.13 แสดงต่อสายไฟเบอร์ของพดั ลมเข้ากบั Relay 37
3.14 แสดงการเปิดพดั ลมด้วยแอพพลิเคช่ัน Blynk 38
4.1 แผนภูมิแสดงเพศของผตู้ อบแบบสอบถาม 39
4.2 แผนภูมิแสดงอายขุ องผตู้ อบแบบสอบถาม 40
4.3 แสดงความพึงพอใจของชน้ิ งาน 41
4.4 แสดงความพงึ พอใจด้านความสามารถในการทางาน 43
4.5 แผนภูมแิ สดงระดบั ความพึงพอใจดา้ นประสิทธภิ าพและความปลอดภัย
4.6 แสดงความพงึ พอใจด้านสถติ ิ

1

บทที่ 1
บทนา

1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงการ
ในปจั จุบันพดั ลมเปน็ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าทีค่ นนิยมใช้อยา่ งแพรห่ ลาย เพราะมีราคาถูกใช้งานง่าย

และช่วยคลายความร้อนได้ดี พัดลมไม่มีระบบท่ีสามารถเปิด/ปิดในระยะไกล ผู้ใช้จะต้องใช้มือ
เปิด/ปิด ท่สี วติ ซข์ องตัวพดั ลมให้สามารถทางานได้ พัดลมเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีดูล้าสมัย เพราะไม่
มีระบบท่ีสามารถปิด/เปิดด้วยระยะไกล แต่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ชนิดหน่ึงท่ีเรียกว่า สมาร์ท
โฟนเปน็ อุปกรณท์ ค่ี นนยิ มใช้ในชีวิตประจาวัน เรยี กไดว้ ่าเปน็ ปจั จยั ที่ 5 ในการดารงชีวิต นอกจาก
การนาสมาร์ทโฟนมาใช้ในการทางานหรือการติดต่อสื่อสาร และยังสามารถนามาต่อยอดให้
ทางานได้หลากหลายมากข้ึน เช่น การนามาเป็นกระเป๋าเงินเคลื่อนที่ เป็นส่ือการเรียนการสอน
เป็นต้น และท่ีน่าสนใจคือการนาสมาร์ทโฟนมาเชื่อมต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพ่ือควบคุม
เครอื่ งใช้ไฟฟ้า เช่น การนาสมาร์ทโฟนมาเชื่อมต่อกับบอร์ดอดูโน่ (Arduino) ซึ่งบอร์ดอดูโน่ เป็น
ไมโครคอนโทรลเลอร์ ที่สามารถอ่านการนาเข้าจากตัวตรวจจับแสง ใช้นิ้วกดบนปุ่มหรือส่งข้อมูล
ไปยังระบบอินเทอร์เน็ต ทาให้ผู้ใช้งานสามารถส่งคาสั่งจากสมาร์ทโฟนไปยังเคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่างๆ
เป็นต้นฯ (https://poundxi.com/arduino.com) เพ่ือใช้ในการควบคุมเคร่ืองใช้ไฟฟ้าภายใน
บ้าน ทาให้สะดวกสบายยิ่งขึ้น และเป็นจุดเริ่มต้นท่ีทาให้มนุษย์หันมานิยมใช้ระบบควบคุม
เคร่ืองใช้ไฟฟ้าผ่านสมาร์ทโฟนมากขึ้น จึงทาให้มีการพัฒนาระบบการทางานของอดูโน่
(Arduino) เพม่ิ ขึ้นเรอื่ ย ๆ (https://www.ideagital.com)

ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีภูมิอากาศร้อน พัดลมจึงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เป็นท่ีนิยมเป็น
อย่างมากเพราะมรี าคาถูกกว่าเครื่องปรับอากาศ (https://electricfaeblogspot.net) แต่ปัญหา
ท่ีพบจากในสังคม คือ การที่ผู้ใช้งานแล้วลืมปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า และ พัดลมบ้างชนิดอาจจะมี
กระแสไฟฟ้าร่ัวไหลทาให้เป็นอันตรายต่อผู้ใช้งาน ผู้จัดทาจึงสนใจที่จะแก้ไขปัญหานี้ด้วยการนา
สมาร์ทโฟน มาเชื่อมต่อกับ บอร์ดอดูโน่ (Arduino) ควบคุมการทางานของพัดลม เพ่ือช่วย
ปอ้ งกนั การเกิดอุบตั ิเหตุทจี่ ะเกิดข้ึนตอ่ ผู้ใชง้ านพัดลม และเพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ผ้ใู ชง้ าน

ดังนั้นผู้จัดทาจึงสร้างระบบเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคช่ันบริ้ง (Blynk)
เพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ท่ีไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และช่วยป้องกันผู้ใช้จากพัด
ลมที่มีกระแสไฟฟ้ารั่วไหล นอกจากนี้ผู้จัดทาจะออกแบบระบบให้สามารถใช้งานได้ง่ายและ
ผู้ใช้งานสามารถส่ังใช้งานได้ด้วยสมาร์ทโฟนที่เช่ือมต่อกับบอร์ด อดูโน่ (Arduino) เพื่อควบคุม
การทางานของพัดลม

2

1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
1.2.1 เพือ่ สรา้ งระบบเปิด/ปิดพดั ลมดว้ ยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลเิ คชัน่ Blynk
1.2.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อระบบการเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนและ
แอปพลเิ คชนั่ Blynk

1.2.3 เพื่อเผยแพร่ระบบเปิด/ปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคชั่น Blynk ผ่าน
โครงการประกวดโครงการวชิ าชีพ ชมรมวชิ าชีพคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ

1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
1.3.1.1 ประชากร คอื นกั เรยี นระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ธุรกิวทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง จานวน 70 คน
1.3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา

คอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ วิทยาลยั เทคนิคระยอง จานวน 59 คน
1.3.2 ขอบเขตชิน้ งาน
1.3.2.1 ดา้ นฮาร์ดแวร์
1) พัดลม
2) Arduino NodeMCU 8266
3) NodeMCU base
4) Relay module 12v 4 channel
5) สายไมโคร USB
6) สายไฟตัวเมีย
1.3.2.2 ด้านซอฟแวร์
1) Arduino IDE 1.6.9
2) Blynk
1.3.3 เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมิน คือ ระบบการเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนและ

แอปพลิเคชั่น Blynk และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมีต่อระบบการเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟน
และแอปพลิเคชัน่ Blynk

3

1.4 ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั
1.4.1 ไดร้ ะบบเปิด/ปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคชั่น Blynk
1.4.2 ได้ความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ธุรกจิ วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ที่มีต่อระบบการเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนและแอปพลิเคชั่น Blynk
อยใู่ นระดับมาก

1.4.3 ได้เผยแพร่ระบบเปิด/ปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคชั่น Blynk ผ่าน
โครงการประกวดโครงการวชิ าชพี ชมรมวชิ าชีพคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ

1.5 คาจากดั ความ
1.5.1 พัดลม หมายถึง เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ประโยชน์การระบายอากาศ มีลักษณะ

รูปร่างตา่ งกัน เพือ่ ใหใ้ ชป้ ระโยชนก์ ับสถานท่ี ทีแ่ ตกต่างกันไป
1.5.2 สมาร์ทโฟน หมายถึง มือถือที่นอกเหนือจากใช้งานโทรออก-รับสายแล้วยังมี

แอพพลเิ คชนั่ ให้เลอื กใช้เยอะ รองรับการใช้งาน 3G, Wi-Fi, Bluetooth, internet, โซเชียลเน็ตเวิร์ค,
Youtube, Facebook, Twitter ฯลฯ

1.5.3 มือถือ หมายถึง อุปกรณ์พกพาที่ผู้ใช้สามารถโทรออกและรับสายได้ เป็นอุปกรณ์ไร้
สายทส่ี ามารถใชง้ านในบริเวณกว้าง โดยเชอ่ื มตอ่ สญั ญาณกับเครอื ขา่ ยของผใู้ ห้บริการ

1.5.4 ฟีเจอร์โฟน หมายถึง มือถือประเภทหนึ่ง มีความสามารถมากกว่ามือถือธรรมดา
นอกเหนือจากการโทรเข้า-โทรออก แล้วยังสามารถส่งข้อความ SMS/MMS, ใช้งานเป็นกล้องถ่ายรูป
หรือเลน่ วทิ ยุ ฟังเพลง ดหู นัง

1.5.5 แฟบเล็ต หมายถึง อุปกรณ์สมาร์ทโฟนก่ึงแท็บเล็ต ที่มีขนาดหน้าจออยู่ระหว่าง
สมารท์ โฟนและแท็บเล็ต (5.5-7 นิ้ว) ถูกออกแบบมาเพ่ือเปน็ ทางเลอื กใหก้ ับผทู้ ่ตี อ้ งการท้ังสมาร์ทโฟน
และแท็บเลต็ แตไ่ ม่สะดวกพกพาอุปกรณ์ทง้ั สองชิ้นในเวลาเดียวกัน

1.5.6 แท็บเล็ต หมายถึง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีหน้าจอระบบสัมผัสขนาดใหญ่ มีขนาด
หน้าจอต้ังแต่ 7 น้ิวข้ึนไป สามารถพกพาได้สามารถรับ-ส่งอีเมล, เล่นอินเทอร์เน็ต, ดูหนัง, ฟังเพลง,
เลน่ เกม หรือแม้กระทั่งใช้ทางานเอกสารออฟฟติ

1.5.7 แอพพลเิ คช่ันBlynk หมายถึง แอพพลเิ คช่ัน Blynk Platform ถูกออกแบบมาเพื่อใช้
ในการควบคมุ อุปกรณ์ Internet of Things ซง่ึ มคี ณุ สมบตั ใิ นการควบคุมจากระยะไกลผ่านเครือข่าย
อนิ เตอรเ์ นต็ และยงั สามารถแสดงผลคา่ จากเซนเซอรต์ ่างๆ ได้อกี ด้วย

4

บทท่ี 2
เอกสารและทฤษฎีทเี่ กีย่ วขอ้ ง

เพอื่ เปน็ แนวทางในการจัดทาโครงการครงั้ น้ี คณะผจู้ ัดทาไดศ้ ึกษาเอกสารและทฤษฎีที่
เกยี่ วข้องตา่ ง ๆ ดงั น้ี

2.1 แนวคิดเก่ียวกบั พดั ลม
2.2 แนวคิดเกีย่ วกบั สมาร์ทโฟน
2.3 โปรแกรมและแอปพลเิ คช่ันท่ใี ช้
2.1 แนวคดิ เกย่ี วกับพัดลม
2.1.1 ความหมายของพัดลม เป็นเคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่ให้ประโยชน์การระบายอากาศ มีลักษณะ
รูปร่างต่างกัน เพ่ือให้ใช้ประโยชน์กับสถานท่ี ที่แตกต่างกันไป พัดลมมีหลายชนิดและมีมาตรฐาน JIS
กาหนดไว้ว่า พัดลมที่มีแรงดันลมต่ากว่า 1,000 (mm-น้า) เรียกว่า พัดลม (fan) ส่วนพัดลมที่มี
แรงดันลมตั้งแต่ 1,000 (mm-น้า) ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10 (m-น้า) (0.1 MPa) เรียกว่า โบลเวอร์
(blower) ทง้ั สองชนิดเรยี กรวมๆ กนั ว่า พัดลม (https://ienergyguru.com)

ภาพที่ 2.1 แสดงตวั อยา่ งพัดลม
2.1.1.1 ชนิดของพดั ลม
พัดลมมีหลายชนิด ตามขนาดอัตราไหลและความดันของของไหลที่ลาเลียง และตาม
วัตถุประสงคก์ ารใชง้ านดังตาราง 1 แบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้เป็นแบบ Centrifugal (แรงเหวี่ยง) ซึ่ง
ทางานดว้ ยการให้แรงหนศี ูนย์กลางใหเ้ กิดกระแสในทิศทางตั้งฉากกับแกน แบบ Axial flow (การไหล
ตามแนวแกน) ซง่ึ สรา้ งกระแสของไหล (อากาศ) ในทิศทางเดียวกับเพลา แบบ Cross flow (ไหลข้าม)

5

ซึ่งมีคุณสมบัติอยู่ระหว่างทั้งสองแบบข้างต้น และแบบอ่ืนๆ อย่างไรก็ตาม เพ่ือสามารถติดต้ังและ
เช่ือมต่อกับท่อต่างๆ ได้สะดวก พัดลมแบบ Centrifugal (แรงเหว่ียง) บางคร้ังดูภายนอกแล้วจะมี
ลักษณะเหมือนกับแบบ Axial flow (การไหลตามแนวแกน) โดยท่ัวไปพัดลมแบบ Axial flow (การ
ไหลตามแนวแกน) จะเหมาะกับความดันต่า-อัตราไหลสูง ส่วนแบบ Centrifugal (แรงเหว่ียง) จะ
เหมาะกับความดนั สงู (https://ienergyguru.com)

ภาพที่ 2.2 แสดงตารางประเภทของพดั ลม
2.1.2 การจาแนกพัดลมสามารถแบ่งได้เป็นประเภทใหญ่ๆ ตามลักษณะการเคลื่อนที่ของ
อากาศได้ 2 ลกั ษณะดังนี้

2.1.2.1 พดั ลมแบบหมนุ แรงเหวยี่ ง (Centrifugal flow or radial fans)
พัดลมแบบแรงเหว่ียงหรือพัดลมซึ่งมีการไหลของอากาศในแนวรัศมี จะประกอบด้วย
ใบพัดหมุนอยู่ภายในตัวเรอื นของพดั ลม (Fan house) ชุดใบพัดจะประกอบดว้ ยแผ่นใบเล็กๆประกอบ
เข้าดว้ ยกนั เปน็ ลักษณะกงล้อ ความดันของอากาศจะถูกทาให้มีค่าสูงข้ึนภายในตัวเรือนของพัดลม ซึ่ง
สามารถเพิ่มค่าให้สูงข้ึนได้ด้วยการเพ่ิมขนาดความยาวของใบพัด ซึ่งจะทาให้แรงเหว่ียงหนีศูนย์กลาง
ภายในระบบมีค่ามากขึ้น อากาศจะไหลผ่านเข้าไปในท่อทางเข้าโดยมีทิศทางขนานกับแกนของใบพัด
และไหลออกในทิศทางต้ังฉากกับแกนของเพลาใบพัดในท่อทางออก พัดลมประเภทน้ีจาแนกตาม
ลกั ษณะรปู ร่างของใบพดั เป็น 3 แบบ (https://ienergyguru.com)

6
1) แบบใบพัดตรง (Straight blade หรือ Radial fans) พัดลมชนิดนี้มี
จานวนใบน้อยท่ีสุดประมาณ 6 ถึง 20 ใบและใบพัดจะอยู่ในระนาบรัศมีจากเพลา ใบพัดหมุนด้วย
ความเร็วรอบอย่างต่าประมาณ 500-3000 รอบ/นาที ดังนั้นจึงเหมาะกับงานที่ต้องการปริมาตรการ
ไหลน้อยๆ และมีคา่ ความดันของอากาศสงู ๆ (https://ienergyguru.com)

ภาพท่ี 2.3 แสดงการไหลของอากาศผา่ นตัวพดั ลมแบบหมุนเหวยี่ ง
2) แบบใบพัดโค้งไปข้างหน้า (Forward curved blade fans) พัดลมชนิดนี้

จะมใี บพดั โค้งไปข้างหนา้ ในทศิ ทางเดียวกับการหมนุ ชุดใบพัดจะมีจานวนแผ่นใบพัดประมาณ 20–60
ใบ ชุดใบพัดจะมีลักษณะคล้ายกับกรงกระรอก (Squirrel cage) เพลาใบพัดจะมีขนาดเล็กหมุนด้วย
ความเร็วรอบที่สูงกว่าพัดลมชนิดใบพัดตรง การทางานของพัดลมชนิดน้ีมีเสียงเบาท่ีสุด มีข้อเสียคือมี
โอกาสท่ีมอเตอร์จะทางานเกินกาลังและมีช่วงการทางานของพัดลมที่ไม่เสถียร ดังน้ันจึงไม่ควรใช้กับ
งานหรือระบบที่มีอัตราการไหลของอากาศเปล่ียนแปลงตลอดเวลา พัดลมชนิดน้ีจะให้ค่าความดันลม
และอตั ราการไหลของอากาศสูงที่สดุ (https://ienergyguru.com)

ภาพท่ี 2.4 แสดงพดั ลมแบบหมุนเหวีย่ งชนดิ ใบพดั โคง้ ไปข้างหน้า

7

3) แบบใบพัดโค้งไปข้างหลัง (Backward curved blade fans) พัดลมชนิดน้ี
จะมีใบพัดเอียงไปข้างหลัง ในทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางการหมุนของใบพัดจะมีจานวนใบพัด
ประมาณ 10 –50 ใบ และเป็นพัดลมที่มีความเร็วรอบสูง ไม่ก่อให้เกิดเสียงดังเกินควรไม่มีลักษณะที่
มอเตอร์จะทางานเกินกาลงั และไมม่ ีชว่ งการทางานทไ่ี ม่เสถยี รเหมาะท่ีจะใช้งานระบายอากาศและ [4]
อากาศทีใ่ ช้ตอ้ งสะอาดด้วย เน่ืองจากสามารถท่ีจะควบคมุ ความดันและปริมาณลมได้ง่าย พัดลมชนิดน้ี
จะมรี าคาสงู กวา่ ชนิดอน่ื ๆเม่อื เทียบขนาดเทา่ กัน (https://ienergyguru.com)

ภาพที่ 2.5 แสดงพัดลมแบบหมุนเหวยี่ งชนดิ ใบพดั โคง้ ไปข้างหลงั
2.1.2.2 พัดลมแบบหมุนแรงเหวี่ยง (Centrifugal flow or radial fans)
พัดลมแบบนี้อากาศจะไหลขนานกับแกนของใบพัด และตั้งฉากกับระนาบการหมุนของ
ใบพัด ชุดใบพัดจะถูกติดตั้งบนแกนเพลาขับของมอเตอร์ต้นกาลัง ซ่ึงอยู่ภายในตัวพัดลม ทาให้
มอเตอรส์ ามารถระบายความรอ้ นออกไปกับอากาศที่ถูกขับเคล่ือน พัดลมชนิดนี้มีราคาถูก การทางาน
ของพดั ลมมีเสยี งดังและมชี ว่ งการทางานของพดั ลมทไี่ ม่เสถียร จึงเหมาะกับงานระบายอากาศ มีขนาด
เลก็ เคล่ือนย้ายงา่ ย สามารถแบง่ ได้ 2 ลักษณะคอื (https://ienergyguru.com)

1) พัดลมท่ีให้ลมหมุนเป็นเกลียว (Tube axial fans) พัดลมแบบอากาศไหล
ตามแนวแกนชนิดนี้ มีโครงสร้างประกอบด้วยชุดใบพัดซึ่งหมุนอยู่ภายในท่อรูปทรงกระบอก ลมท่ีถูก
ขับเคลอ่ื นใหผ้ า่ นชุดใบพดั จะหมุนเป็นเกลียว มีลักษณะการไหลแบบปั่นป่วน พัดลมชนิดนี้ให้ค่าความ
ดนั ลมปานกลาง (https://ienergyguru.com)

ภาพที่ 2.6 แสดงพดั ลมแบบอากาศไหลตามแนวแกนชนิด Tube axial fans

8

2) พัดลมที่ให้ลมในแนวเส้นตรง (Vane axial fans) พัดลมแบบอากาศไหล
ตามแนวแกนชนิดน้ี จะมีแผ่นครีบเพ่ือใช้ในการบังคับการไหลของอากาศ ท่ีถูกขับเคล่ือน ติดตั้งอยู่
ภายในตัวเรอื นของพัดลม บริเวณทอ่ ทางออกบริเวณด้านหลงั ชดุ ใบพัด เพ่ือช่วยให้การไหลของอากาศ
ที่ถกู ขับเคลอื่ น มีทศิ ทางเป็นเส้นตรงมากท่ีสุด ซึ่งจะช่วยลดลักษณะการไหลของอากาศปั่นป่วนลดลง
และลดพลังงานสูญเสียเน่ืองจากการไหลของอากาศป่ันป่วนภายในระบบให้ น้อยลง ทาให้
ประสิทธภิ าพการใชง้ านและราคาสูงกว่าพดั ลมชนิด (https://ienergyguru.com)

ภาพท่ี 2.7 แสดงแสดงพัดลมแบบอากาศไหลตามแนวแกนชนดิ Vane axial fans
2.1.3 คณุ ลกั ษณะและสมรรถนะการทางานของพดั ลม
ขณะท่ีพัดลมทางาน จะทาให้อากาศเกิดการเคลื่อนที่ได้ด้วยค่าความดันต่างท่ีเกิดข้ึน เมื่อ
อากาศเคลื่อนท่ีออกไประยะทางท่ีเพ่ิมมากขึ้น จะทาให้ความดันลดลง ถ้านาค่าความดันในช่วงต่างๆ
มาเขียนกราฟเทียบกับอัตราการไหลของอากาศท่ีได้ในช่วงความดันน้ันๆ ถ้าค่าความดันดังกล่าวเป็น
ค่าความดันรวมของระบบ เม่ือนาค่าความดันรวมที่ลดลงของระบบมาหักออกจากค่าความดัน
ความเร็ว จะได้กราฟอีกเส้นซึ่งแสดงถึงความดันสถิตของระบบ เราสามารถนากราฟดังกล่าวไปใช้ใน
การเลอื กจุดทางานท่ีเหมาะสมที่ของพดั ลมชนดิ น้ันได้ (https://ienergyguru.com)

ภาพท่ี 2.8 แสดงการหาจุดทางานของพัดลมท่เี หมาะสมจากกราฟ

9

2.1.3.1 พัดลมแบบหมุนเหว่ียงชนิดใบพัดโค้งไปข้างหน้า (Forward curved blade
fans) รูปที่ 2.8 แสดงให้เห็นว่า เมื่อเปอร์เซ็นต์ของปริมาตรท่ีเปิดกว้างมีค่าสูงข้ึนจะทาให้ค่ากาลัง
งานที่ป้อนให้เพลาของพัดลมมีค่าสูงข้ึนตามไปด้วยซ่ึงมีผลทาให้มอเตอร์ของพัดลมทางานเกินกาลัง
ในขณะที่ความต้านทานของระบบมีค่าลดลง ดังนั้น จึงไม่ควรใช้พัดลมชนิดน้ีกับระบบท่ีมีอัตราการ
ไหลของอากาศเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ช่วงท่ีเหมาะสมสาหรับการทางานของพัดลมชนิดน้ีคือ ช่วง
เปอร์เซ็นต์ของปริมาตรที่เปิดกว้างประมาณ 30 – 50 % ซึ่งจะทาให้การทางานของพัดลมมีค่า
ประสทิ ธิภาพสงู สดุ เส้นกราฟค่าความดนั สถติ จะมีช่วงการทางานของพัดลมที่ไม่มีความเสถียรภาพคือ
ช่วงเปอร์เซ็นต์ของปริมาตรท่ีเปิดกว้างในช่วงไม่เกิน 40 %ดังน้ันจึงไม่ควรใช้ปริมาตรท่ีเปิดกว้างให้
(https://ienergyguru.com)

ภาพท่ี 2.9 แสดงสมรรถนะของพัดลมแบบหมนุ เหวยี่ งชนดิ ใบพัดโค้งไปข้างหน้า
2.1.3.2 พัดลมแบบหมุนเหว่ียงชนิดใบพัดโค้งไปข้างหลัง (Backward curved blade

fans) รูปที่ 2.9 จะเห็นได้ว่าช่วงท่ีเหมาะสม สาหรับการทางานของพัดลมชนิดน้ี คือ ช่วงเปอร์เซ็นต์
ของปริมาตรที่เปิดกว้างให้อากาศเข้าสู่ตัวเรือนของพัดลม มีค่าประมาณ 50 – 65 % ซึ่งจะทาให้การ
ทางานของพัดลมชนิดนม้ี ีประสิทธภิ าพสูงสุด ค่าประสิทธิภาพของพัดลมจะมีค่าสูงสุดเมื่อใช้กาลังงาน
ในการขับเพลาของพดั ลมสงู ดว้ ยเช่นกนั พดั ลมชนดิ น้ีจะไมม่ ีลักษณะท่มี อเตอรจ์ ะทางานเกินกาลังและ
ไม่มชี ว่ งการทางานของพัดลมทีไ่ ม่มีเสถียรภาพ (https://ienergyguru.com)

ภาพที่ 2.10 แสดงสมรรถนะของพัดลมแบบหมุนเหวยี่ งชนดิ ใบพัดโคง้ ไปข้างหลัง

10

2.1.4 การควบคมุ การทางานของพัดลม
2.1.4.1 ระบบปรับอัตราการไหลของพัดลมให้เหมาะสมกับภาระการใช้งาน เรียกว่า

ระบบปริมาตรอากาศแปร (VAV : Variable Air Volume) วิธีการควบคุมอัตราการไหลแปรผัน
(https://ienergyguru.com)

1) การควบคุมแดมเปอร์ขาออก-วาลว์ ขาเข้า
2) การควบคมุ ความเรว็ รอบ
3) การควบคมุ rotor blade
4) การควบคุม stationary blade
5) การควบคุมจานวนเครื่อง (กรณีทเี่ ดนิ เครอ่ื งขนานหรืออนกุ รม)
6) การควบคมุ บายพาส

ภาพท่ี 2.11 แสดงวธิ ีการควบคมุ อัตราการไหลหลายๆ แบบ
2.1.4.2 วธิ ีการเลือกระบบการขบั เคลื่อนของพดั ลม
ในกรณีท่ีไม่จาเป็นต้องปรับปริมาณลม การเดินเครื่องด้วยความเร็วคงที่ก็เพียงพอแล้ว
ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะใช้มอเตอร์เหนี่ยวนา 3 เฟสแบบกรงกระรอก สาหรับพัดลมท่ีมีขนาดปานกลาง
และขนาดใหญ่ ก็จะใช้มอเตอร์ซิงโครนัสท่ีมีเพาเวอร์แฟกเตอร์และประสิทธิภาพสูงกว่ามอเตอร์
เหนี่ยวนา ในกรณีนี้จะมีปัญหาตอนสตาร์ทเครื่องเท่าน้ัน ในรูป 11 ได้แสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะ
ความเร็ว-แรงบิด ภายใต้วาล์วขาเข้าแต่เปิดวาล์วขาออกและวาล์วบายพาสแต่ในพัดลม
(https://ienergyguru.com)

11

(axial flow) จะใช้วธิ เี ปลี่ยนมุมใบพดั แปรผนั จากรูปน้ี จะเห็นว่าแรงบิดตอนสตาร์ทเคร่ืองจะไม่เป็น
ปัญหาโดยท่ัวไปแล้วพัดลมแบบเทอร์โบจะให้ปริมาณลมมาก และเส้นผ่านศูนย์กลางของใบพัดก็จะมี
ขนาดใหญ่ตามไปด้วย ดังนั้น เม่ือเทียบกับภาระอ่ืนๆ แล้ว โมเมนต์ความเฉ่ือยจะมีค่าสูงกว่ามาก ซ่ึง
หากสตาร์ทมอเตอร์เหน่ียวนา 3 เฟสแบบกรงกระรอกด้วยวิธีจ่ายแรงดันไฟฟ้าเต็มที่ (full-voltage
starting) สดุ ท้ายแล้ว ความรอ้ นท่ีเทยี บเทา่ พลังงานขับเคลื่อนท่สี ะสมในโมเมนต์ความเฉื่อยจะเกิดข้ึน
ทีข่ ดลวดโรเตอร์ ดงั นนั้ จึงจาเป็นทีจ่ ะต้องพิจารณาว่าการเพิม่ ข้ึนของอุณหภมู ขิ องขดลวดกรงกระรอก
จะมปี ญั หาหรอื ไม่ ในกรณีท่ีไม่สามารถจ่ายกระแสไฟสตาร์ทเคร่ืองในปริมาณมากได้ หรือในกรณีต้อง
สตาร์ทเครื่องบ่อยๆ จะใช้มอเตอร์เหน่ียวนาแบบโรเตอร์พันขดลวด แต่ถ้าหากเดินเครื่องมอเตอร์
เหนี่ยวนาแบบกรงกระรอกด้วยความเร็วแปรผันโดยใช้อินเวอร์เตอร์ ก็จะทาให้ปัญหาในตอนสตาร์ท
เคร่ืองหมดไป และยงั มีประสิทธภิ าพในการอนุรักษพ์ ลงั งานอย่างมากอกี ด้วย ดังน้ัน ในระยะหลังน้ี จึง
มกี ารนาการขับเคลอ่ื นด้วยความเร็วแปรผันโดยใช้อินเวอร์เตอร์มาใช้ในการสตาร์ทเคร่ือง และในการ
เดินเครื่องปกตินั้น จะสลับเอาไฟฟ้าของการไฟฟ้ามาจ่ายใช้งานต่อไป ในการปรับปริมาณลม ทาได้
ด้วยกลไกเชงิ กล เชน่ ระบบ และด้วยการควบคุมความเร็ว (https://ienergyguru.com)

ภาพที่ 2.12 แสดงคุณลักษณะความเร็ว-แรงบิด ภายใต้เงอื่ นไขที่ปดิ วาล์วขาเข้า
2.1.5 แนวทางการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานในพดั ลม
จุดที่ต้องมีการตรวจสอบในการอนุรักษ์พลังงานในระบบพัดลม มีดังต่อไปน้ี พัดลมจ่ายลม
ออกไปในปริมาณที่มากกว่าที่จาเป็นต้องใช้หรือไม่พัดลมเดินเคร่ืองที่ประสิทธิภาพสูงหรือไม่ กรณีที่มี
การเปลย่ี นแปลงปริมาณลม พดั ลมยังคงท่ีสมรรถนะที่ดีแม้ในช่วงปริมาณลมน้อยๆ มีประสิทธิภาพสูง
สอดคล้องกับความต้องการของโรงงานหรือไม่ ในเรื่องความต้านทานของท่อ ความเร็วลมสูงเกินไป
หรือไม่ มคี วามต้านทานทีไ่ มจ่ าเป็น (https://ienergyguru.com)

12

2.1.5.1 เมือ่ ปรมิ าณลมทีต่ อ้ งการลดลงและมกี ารเปลี่ยนแปลงน้อย
หากวางแผนเผื่อไว้มากไปและต้องการลดปริมาณลมเน่ืองจากการลดกาลังการผลิต

หากใช้วธิ ีปรับด้วยแดมเปอร์ขาออกจะทาให้การเดินเคร่ืองมีกาลังขับสูญเสียสูง วิธีการแก้ไขในกรณีน้ี
คือ ลดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใบพัดเปลี่ยนไปใช้ใบพัดท่ีมีขนากเล็กลง ลดจานวนช้ันของโบล
เวอรแ์ บบหลายชน้ั ปรบั มุมใบพดั ของพดั ลมแบบ axial flow (https://ienergyguru.com)

2.1.5.2 การประหยดั พลงั งานโดยการควบคมุ ความเร็วของพดั ลม
ในการปรับเปลี่ยนปริมาณลมและกาลังอัดท่ีต้องการน้ัน เดิมที ใช่วิธีการปรับแดมเปอร์
แต่ในปัจจุบันมักใช้วิธีการควบคุมความเร็วแทนแดมเปอร์ ในการควบคุมปริมาณลมและความดัน ซ่ึง
จะทาให้สามารถอนุรักษ์พลงั งานไดอ้ ยา่ งมาก รูป 12 เปน็ รูปที่แสดงถึงหลักการข้างต้น ในกรณีที่ใช้วิธี
ปรับแดมเปอร์ให้แคบข้ึน จะมีผลต่อเส้นกราฟความต้านทานการส่งลม จุดการทางานของพัดลม จะ
เลื่อนไปท่ีจุดตัดจุดไหน ในขณะท่ี เม่ือใช้วิธีเปล่ียนแปลงความเร็ว เส้นกราฟความต้านทานการส่งลม
จะไม่เปลี่ยนแปลง จุดทางานของพัดลมจะเล่ือนไปอยู่ที่จุดตัดระหว่างค่าอัตราไหลที่ต้องการกับ
เส้นกราฟความต้านทาน หลักการเหล่านี้ จะเหมือนกับกรณีของป๊ัม แต่สาหรับปั๊มน้ัน เนื่องจากเป็น
เฮดจริง จึงมีจุดความเร็วต่าสุด แต่ในพัดลมน้ันจะไม่มีจุดความเร็วต่าสุด ทาให้มีประสิทธิภาพในการ
อนุรักษพ์ ลังงานสูง (https://ienergyguru.com)

ภาพท่ี 2.13 แสดงเปรียบเทียบการควบคมุ แดมเปอรก์ บั การควบคุมความเรว็

13

2.2 แนวคดิ เกย่ี วกบั สมาร์ทโฟน
2.2.1 ความหมายของโทรศัพท์
ในปจั จุบันสมาร์ทโฟนและแท็บเลต็ เปน็ สินคา้ อิเลคทรอนิกส์ท่ีได้รับความนิยมอย่างมาก ทั้งในแง่

ของการใช้งานท่ีหลากหลาย สามารถตอบโจทย์ผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของโทรศัพท์ กล้องถ่ายรูป
อินเทอร์เน็ต โซเชียลเน็ตเวิร์ค และอ่ืนๆ อีกมากมายถูกรวมเข้ามาไว้บนอุปกรณ์ช้ินเดียว ซ่ึงสามารถ
พกพาได้ง่าย อย่างไรก็ตาม เพ่ือให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ และเพ่ือป้องกันความสับสน จึงได้แบ่ง
ประเภทของอุปกรณ์มือถือและแท็บเล็ตออกเป็น 3 ประเภท โดยแบ่งตามขนาดความกว้างของ
หน้าจอ ได้แก่ มือถือ โดยในส่วนของมือถือนั้นสามารถแบ่งย่อยตามความสามารถในการใช้งานได้แก่
มือถอื , ฟีเจอร์โฟน และสมารท์ โฟน (https://news.siamphone.com)

2.2.1.1 มือถอื (Mobile Phone)
มือถือ คือ อุปกรณ์พกพาที่ผู้ใช้สามารถโทรออกและรับสายได้ เป็นอุปกรณ์ไร้สายท่ี
สามารถใช้งานในบริเวณกว้าง โดยเชื่อมต่อสัญญาณกับเครือข่ายของผู้ให้บริการ ที่เรียกมือถือน้ันมา
จากขนาดของตัวเคร่ืองท่เี ลก็ สามารถถือและสนทนาด้วยมือข้างเดียว จึงนิยมเรียกว่ามือถือ มือถือใน
บ้านเรา จะใชซ้ มิ การด์ เพือ่ ระบุและยืนยนั หมายเลขของผูใ้ ชง้ าน ซมิ การด์ ในปจั จุบันมีหลายขนาด เช่น
ซิมการ์ดขนาดปกติ (SIM), ซิมการ์ดขนาดเล็ก (mini-SIM), ไมโครซิม (micro-SIM) และ นาโนซิม
(nano-SIM) ข้อดีของมือถือคือมีราคาถูก ข้อเสียคือไม่สามารถใช้งานอย่างอ่ืนได้นอกจากโทรออก-
รบั สายเทา่ นนั้ (https://news.siamphone.com)

ภาพที่ 2.14 แสดงตวั อยา่ งมือถือ (Mobile Phone)
2.2.1.2 ฟเี จอร์โฟน (Feature Phone)
ฟีเจอรโ์ ฟน คือมอื ถือประเภทหนึง่ มคี วามสามารถมากกว่ามือถอื ธรรมดา นอกเหนือจาก
การโทรเข้า-โทรออก แล้วยังสามารถส่งข้อความ SMS/MMS, ใช้งานเป็นกล้องถ่ายรูป หรือเล่นวิทยุ
ฟังเพลง ดหู นงั รวมถงึ มแี อพพลเิ คช่ันท่ที างผูผ้ ลติ มอื ถือใสม่ าให้ เราเรียกมือถือแบบน้ีว่า "ฟีเจอร์โฟน"
ผู้ผลิตฟีเจอร์โฟนในปัจจุบัน นิยมใส่ออกาไนเซอร์พื้นฐาน เช่น นาฬิกาปลุก, ปฏิทิน, เครื่องคิดเลข,

14

ฉาย, สมดุ บนั ทกึ , เตอื นความจา บางร่นุ กใ็ ส่ฟเี จอร์ท่ีน่าสนใจอยา่ งเชน่ กลอ้ งถ่ายรูป, เคร่ืองเล่นเพลง
เครื่องเล่นวิดีโอ, ระบบหน้าจอสัมผัส, GPS นาทาง, Wi-Fi, 3G, Facebook จุดสังเกตของฟีเจอร์โฟน
คือมีแอปพลิเคชนั ใหเ้ ลือกค่อนข้างจากดั และเน้นจาหน่ายในตลาดระดับล่าง ข้อดีของฟีเจอร์โฟนคือ
มีราคาค่อนข้างถูก ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก ข้อเสียคือมีแอปพลิเคชัน ให้ใช้งานค่อนข้างน้อย
(https://news.siamphone.com)

ภาพที่ 2.15 แสดงตัวอย่างฟเี จอร์โฟน (Feature Phone)
2.2.1.3 สมารท์ โฟน (SmartPhone)
สมาร์ทโฟนคือมือถือที่นอกเหนือจากใช้งานโทรออก-รับสายแล้วยังมีแอพพลิเคชั่นให้
เลือกใช้เยอะ รองรับการใช้งาน 3G, Wi-Fi, Bluetooth, internet, โซเชียลเน็ตเวิร์ค, Youtube,
Facebook, Twitter ฯลฯ ผู้ใช้สามารถปรับแต่งลูกเล่นการใช้งานให้ตรงกับความต้องการได้มากกว่า
ฟเี จอรโ์ ฟน ผู้ผลิตสมาร์ทโฟนรุ่นใหมๆ่ นยิ มผลิตสมาร์ทโฟนแบบหน้าจอระบบสัมผัส, ใส่กล้องถ่ายรูป
ที่มีความละเอียดสูง, ดีไซน์ทันสมัย, มีแอพพลิเคชั่นและลูกเล่นเยอะ ระบบปฏิบัติการ (OS) บน
สมาร์ทโฟนท่ีนิยมใช้งานในปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ( Google),
ระบบปฏิบัติการ iOS (Apple), ระบบปฏิบัติการ (Microsoft), Symbian (Nokia), ระบบปฏิบัติการ
เป็นต้น แนวโน้มของสมาร์ทโฟนยังคงเป็นสินค้าขายดีในตลาด โดยในอนาคตผู้ผลิตจะเน้นไปที่
ความเร็วในการประมวลผล, การออกแบบหน้าจอมีขนาดใหญ่ มีความละเอียดสูงและคมชัด (สมาร์ท
โฟนหน้าจอใหญ่ บางรุ่นมีขนาดหน้าจอ 5-5.4 นิ้วขึ้นไปเลยทีเดียว), การปรับปรุงคุณภาพของกล้อง
ถ่ายรูป, การแก้ปัญหาแบตเตอรี่หมดไว, และการออกแอพพลิเคชั่นหรือลูกเล่นใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น
ข้อดีของสมาร์ทโฟนคือมีลูกเล่นหลากหลายมากกว่าฟีเจอร์โฟน รองรับการใช้งานครบถ้วนมากกว่า
สามารถปรับแต่งได้ แต่ข้อเสียท่ีเห็นชัดคือแบตเตอร่ีหมดไวเน่ืองจาก มีการทางานเบ้ืองหลัง
แอพพลิเคชัน่ ภายในเคร่อื งที่ค่อนขา้ งกินพลงั งานมาก (https://news.siamphone.com)

15

ภาพท่ี 2.16 แสดงตวั อย่างสมาร์ทโฟน (SmartPhone)
2.2.1.4 แฟบเล็ต (Phablet)
แฟบเล็ต คอื อปุ กรณส์ มาร์ทโฟนกงึ่ แท็บเลต็ ท่ีมขี นาดหน้าจออยู่ระหว่างสมาร์ทโฟนและ
แท็บเล็ต (5.5-7 นิ้ว) ถูกออกแบบมาเพ่ือเป็นทางเลือกให้กับผู้ที่ต้องการท้ังสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต
แตไ่ ม่สะดวกพกพาอุปกรณท์ ้ังสองช้ินในเวลาเดียวกัน Phablet เกิดจากการผสมคาว่า "Phone" และ
"Tablet" เข้าด้วยกัน นักวิจัยตลาดคาดว่าอุปกรณ์แฟบเล็ตจะกลายเป็นสินค้าที่น่าจับตามองใน
อนาคต โดยกระแสของ ในปี 2011-2012 ถือวา่ เร่ิมตน้ มาได้ดี และคาดว่าในอนาคตจะมีอุปกรณ์แฟต
เลต็ เข้าสู่ตลาดเป็นทางเลอื กให้ผู้บรโิ ภคมากขึ้นอยา่ งแนน่ อน (https://news.siamphone.com)

ภาพที่ 2.17 แสดงตัวอยา่ งแฟบเลต็ (Phablet)
2.2.1.5 แทบ็ เลต็ (Tablet)
แท็บเลต็ คอื อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ทม่ี ีหนา้ จอระบบสัมผสั ขนาดใหญ่ มีขนาดหน้าจอตั้งแต่
7 น้ิวขึ้นไป สามารถพกพาได้ สามารถใช้งานการสัมผัสผ่านปลายน้ิวได้โดยตรง มีแอพพลิเคช่ัน
มากมายใหเ้ ลอื กใช้ ไมว่ ่าจะรบั -ส่งอเี มล, เล่นอนิ เทอรเ์ น็ต, ดหู นัง, ฟังเพลง, เลน่ เกม หรือแม้กระท่ังใช้
ทางานเอกสารออฟฟิต ข้อดีของแท็บเล็ตคือมีหน้าจอที่กว้าง ทาให้มีพื้นท่ีการใช้งานเยอะ
(https://news.siamphone.com)

16
น้าหนักเบา พกพาได้สะดวกกว่าโน๊ตบุ๊คหรือคอมพิวเตอร์ สามารถจดบันทึกหรือใช้เป็นอุปกรณ์เพื่อ
การศึกษาได้เป็นอย่างดี แต่ข้อเสียคือ เม่ือจ้องมองหน้าจอขนาดใหญ่เป็นเวลานานจะทาให้สายตา
เม่ือยล้าแม้ว่าจะมีอุปกรณ์มือถือและอุปกรณ์แท็บเล็ตออกมาใหม่ๆ มากมาย แต่การทาความเข้าใจ
พื้นฐานของอุปกรณ์เหล่าน้ีก่อนตัดสินใจซ้ือเป็นเรื่องจาเป็นและใกล้ตัวอย่างย่ิง ที่สาคัญคืออย่าลืม
ศึกษาข้อมูล เช็คราคา สเปค และฟังก์ช่ันการใช้งาน รวมถึงฟีตแบคของผู้ที่เคยซ้ือก่อนหน้าน้ี เพื่อจะ
ได้อปุ กรณท์ ี่มคี วามต้องการของคุณมากท่ีสดุ (https://news.siamphone.com)

ภาพที่ 2.18 แสดงตัวอย่างแทบ็ เลต็ (Tablet)
2.2.2 ระบบปฏบิ ัติการบนสมาร์ทโฟน

2.2.2.1 ระบบปฏิบัติการ (Symbian) คือ ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ที่
ออกแบบมาเพ่ือรองรับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย (Wireless) ช่วยในการส่งข้อมูลของ
โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นหลัก เป็นระบบที่ใช้งานได้ง่าย มีความปลอดภัยสูง ช่วยประหยัดพลังงาน และ
ใช้หน่วยความจาที่มีขนาดเล็ก เพื่อรองรับกับโทรศัพท์มือถือท้ังในปัจจุบันและอนาคต
(https://sites.google.com)

ภาพท่ี 2.19 แสดงตัวอย่างระบบปฏิบัติการ (Symbian)

17

2.2.2.2 ระบบปฏิบัติการ (Android) เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับการตอบรับ และมี
การพัฒนาสมาร์ทโฟน จานวนมากให้รองรับการใช้งาน โดยเฉพาะจากผู้ผลิต เช่น HTC, LG,
Motorola, Samsung และ Sony Ericsson เป็นต้น รวมถึงบริษัทผู้ผลิตอ่ืนๆ อีกจานวนมาก ภายใต้
การผลักดันของ Google จนมีการคาดการณ์กันว่าภายใน พ.ศ. 2555 ระบบปฏิบัติการชนิด Open
Source อย่างแอนดรอยด์จะครองตลาดเคร่ืองสมาร์ทโฟนท่ัวโลกในสัดส่วนที่เหนือกว่า BlackBerry
และ iPhone ด้วยจุดเด่นเร่ืองการเปิดกว้างในการพัฒนาแอปพลิเคช่ัน Android ยังมีระบบการ
ทางานบนบรรดาโทรศัพท์ ตา่ งๆ ไมว่ ่าจะเป็นการส่งั การจากเสยี ง การจดั การอัลบ้มั รูปภาพในลักษณะ
เล่อื นซ้อน การเข้าถึงบญั ชรี ายชื่อโทรศัพท์อย่างรวดเร็วและหลากรูปแบบ ไม่ว่าจะต้องการติดต่อผ่าน
ทางโทรศัพท์ ทาง SMS ทาง e-mail หรือผ่านทาง Facebook รวมถึงการนาทางโดยใช้โปรแกรม
Google ร่วมกับระบบช้ีพิกดั GPS ทฝ่ี ังอยใู่ นตวั เครื่อง (https://sites.google.com)

ภาพที่ 2.20 แสดงตวั อย่างระบบปฏิบตั ิการ (Android)
2.2.2.3 ระบบปฏิบัตกิ าร (iOS) ระบบปฏิบัติการสาหรับสมาร์ทโฟนของบริษัทแอปเปิล
โดยเริ่มต้นพัฒนาสาหรับใช้ในโทรศัพท์สมาร์ตโฟนยี่ห้อไอโฟน และได้พัฒนาต่อใช้สาหรับ เครื่องเล่น
ไอพอดทัช และ ไอแพด โดยระบบปฏิบัติการนี้สามารถเช่ือมต่อไปยังแอ็ปสตอร์ สาหรับเข้าถึง
แอพพลเิ คชนั่ มากกว่า 300,000 ตวั ซ่งึ มีการดาวน์โหลดไปมากกว่า ห้าพันล้านครั้ง ระบบปฏิบัติการ
iOS จาก Apple นั้นกลายเป็นระบบท่ีมี ทางอินเตอร์เน็ตมากที่สุด มี สมาร์ทโฟนยี่ห้อไอโฟนได้อย่าง
ไม่จากัด นอกจากน้ันยังรองรับการเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ตแบบ ทาให้ สามารถใช้บริการอินเทอร์เน็ต
เช็คอเี มลล์ หรือเข้าสู่เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ไดอ้ ย่างงา่ ยดาย (https://sites.google.com)

ภาพที่ 2.21 แสดงตัวอยา่ งระบบปฏบิ ัตกิ าร (IOS)

18

2.2.2.4 ระบบปฏิบัติการ (BlackBerry) เป็นระบบปฏิบัติการที่เหมาะสาหรับผู้ใช้งานท่ี
ให้ความสาคัญกับการรับอีเมล์แบบอัตโนมัติ โดยไม่ต้องคอยกดปุ่มตรวจสอบ BlackBerry ใช้กลไก
การตรวจสอบอีเมล์แบบ Push Notification นอกจากน้ันยังมีการออกแบบคีย์บอร์ดท่ีดี Research
In Motion (RIM) ระบบปฏบิ ัตกิ ารดงั กลา่ วมีศักยภาพในการทางานท่ดี มี าก โดยเฉพาะการรองรับการ
ดาเนนิ การหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน (Multitasking) (https://sites.google.com)

ภาพที่ 2.22 แสดงตวั อย่างระบบปฏบิ ัตกิ าร (BlackBerry)
2.2.2.5 ระบบปฏิบตั ิการ (Windows Mobile)
ระบบปฏิบัติการ Windows Mobile ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนช่ือเป็น Windows Phone Starter Edition
(ตรงกับ Windows Mobile 6.5) ระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่น้ีมาพร้อมกับการทางานท่ีได้รับการพัฒนา
คุณภาพมากขึ้น รวมถึงบริการสนับสนุนพิเศษอื่นๆ เช่น My Phone ซึ่งใช้ทาการแบ็คอัพข้อมูล
ประเภทสมดุ บญั ชโี ทรศัพท์รวมถึงข้อมูลสาคัญอ่ืนๆ ไปเก็บไว้ในเครือข่าย Cloud Computing แต่ส่ิง
ท่ี ท า ใ ห้ ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร จ า ก ค่ า ย นี้ เ ป็ น ท่ี น่ า จั บ ต า ม อ ง ก ลั บ มิ ใ ช่ ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ตั ว
ระบบปฏบิ ตั ิการหากแตเ่ ป็นการพฒั นาต่อยอดของบรรดาผูผ้ ลิตSmartphoneเช่นในกรณี [6]
เคร่ือง HTC TouchFLO 3D มีการออกแบบให้ผู้ใช้งานสามารถเลื่อนหน้าจออีเมล รูปภาพ รายงาน
พยากรณ์อากาศ และแอปพลเิ คชน่ั อ่ืนๆ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ และดว้ ยปรัชญาการออกแบบระบบปฏิบัติการ
ที่ Microsoft ต้องการให้มีการเชื่อมต่อกับแอปพลิเคชั่นหลักอย่างMicrosoft Exchange, Office
และ Outlook จึงทาให้ระบบปฏิบัติการ Windows Phone Starter Edition เป็นตัวเลือกท่ีเหมาะ
สาหรับกลุ่มผู้ใช้งานในแวดวงธุรกิจ ระบบปฏิบัติการ Windows Mobile 6.5 มีการออกแบบระบบ
สัมผัสหน้าจอที่ใช้งานง่าย มีการพัฒนาระบบเชื่อมต่อผ่านหน้าจอรุ่นพิเศษให้กับ HTC และ
Samsung สามารถทางานร่วมกันได้ดีกับแอพพลิเคช่ัน Microsoft Exchange, Office และ
Outlook ช่วยให้ผู้ใช้งานอุ่นใจว่าสามารถกู้คืนข้อมูลกลับมาได้ทุกเมื่อแม้ในกรณีที่โทรศัพท์เสียหรือ
หายสูญหาย (https://sites.google.com)

19
2.3 โปรแกรมและแอปพลิเคชน่ั ทใี่ ช้

2.3.1 โปรแกรม Arduino IDE 1.6.9
ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการพัฒนางานสาหรับบอร์ด Arduino นั่นคือโปรแกรมที่เรียกว่า Arduino
IDE ในการเขียนโปรแกรมและคอมไพล์ลงบอร์ด IDE ย่อมาจาก (Integrated Development
Environment) คือ ส่วนเสริมของระบบการพัฒนาหรือตัวช่วยต่างๆท่ีจะคอยช่วยเหลือ Developer
หรือช่วยเหลือคนท่ีพัฒนา Application เพ่ือเสริมให้เกิดความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยา ตรวจสอบ
ระบบทจ่ี ัดทาได้ ทาใหก้ ารพัฒนางานต่างๆเรว็ มากขึ้น (http://www.sbt.ac.th)

2.3.1.1 ขนั้ ตอนการติดตงั้ โปรแกรม Arduino IDE 1.6.9
1) Download โปรแกรม Arduino IDE ตาม Link

(https://www.ab.in.th/article.net)

ภาพท่ี 2.23 แสดงLink Download โปรแกรม
2) ทาการตดิ ตังแบบ Install กด I Agree

ภาพที่ 2.24 แสดงตัวอยา่ งการตดิ ตง่ั โปรแกรม
3) กด Next ไปเล่ือยๆ (https://www.ab.in.th/article.net)

ภาพท่ี 2.25 แสดงตวั อยา่ งการติดต่ังโปรแกรม

20

4) ทาการเลือกท่ีเก็บไฟล์ของโปรแกรม

ภาพท่ี 2.26 แสดงตวั อย่างการเลือกทจ่ี ัดเก็บไฟล์โปรแกรม
5) กดตดิ ต้ังแล้วรอติดตง้ั ไฟล์ใหเ้ สรจ็

ภาพที่ 2.27 แสดงตวั อย่างรอการตดิ ตง้ั ของไฟล์
6) เม่อื ตดิ ต้งั เสร็จแล้วสามารถเข้าใช้โปรแกรมได้ปกติ (https://www.ab.in.th/article.net)

ภาพท่ี 2.28 แสดงตวั อยา่ งการเข้าใชโ้ ปรแกรม

21
2.3.2 แอพพลิเคช่นั Blynk

แอพพลเิ คชน่ั Blynk Platform ถกู ออกแบบมาเพ่ือใช้ในการควบคุมอปุ กรณ์
Internet of Things ซึ่งมีคณุ สมบัติในการควบคุมจากระยะไกลผา่ นเครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ต และยงั
สามารถแสดงผลคา่ จากเซนเซอร์ต่างๆ ไดอ้ ีกดว้ ย (https://iot.jpnet.co.th/blynk)

2.3.2.1 ขน้ั ตอนการตดิ ตัง้ แอพพลิเคชนั่ Blynk
1) เข้าไปท่ี Play Store หรอื Google play

ภาพที่ 2.29 แสดงตวั อยา่ งการเขา้ Play Store
2) ค้นหาแอพพลิเคชนั่ Blynk และกด ติดตั่ง

ภาพท่ี 2.30 แสดงตวั อยา่ งการค้นหาแอพพลเิ คชั่น Blynk แลการตดิ ต่ัง

22

3) เม่อื โหลดเสรจ็ แล้วให้กด เปิดแอพพลเิ คชั่น

ภาพที่ 2.31 แสดงตวั อย่างการกด เปดิ แอพพลิเคชั่น

0

4) สามารถเข้าใชโ้ ปรแกรมได้ปกติ

ภาพท่ี 2.32 แสดงตัวอยา่ งการเข้าใช้โปรแกรม

23

บทท่ี 3
วิธกี ารดาเนนิ งานโครงการ

การดาเนินโครงการ ระบบเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคชั่น Blynk
มรี ายละเอียดในการดาเนนิ งานโครงการ ดงั น้ี

3.1 การศึกษาขอ้ มูลเบอื้ งตน้
3.2 ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
3.3 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน
3.4 เครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3.5 ข้นั ตอนการดาเนินการและเก็บรวบรวมข้อมูล
3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
3.7 สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล

3.1 การศึกษาขอ้ มลู เบื้องตน้
3.1.1 ระบบการทางานของพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือระบบออโต้สามารถ

ปรบั ความเร็วตามอุณหภูมิได้ แสดงค่าอุณหภูมิและความเร็วของพัดลมบนจอ LCD เม่ืออุณหภูมิที่วัด
ได้อยู่ในค่าท่ีกาหนดไว้และระบบแมนนวล สามารถควบคุมความเร็วของพัดลมผ่านแอพพลิเคช่ันมือ
ถือได้

3.1.2 อุปกรณ์ต่างๆ ท่ีใช้ในการสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือซ่ึง
ประกอบไปดว้ ย พดั ลม, Arduino, โมดลู , Bluetooth-hc06, โทรศัพทม์ อื ถอื แอนดรอยด์, DHT11

3.1.3 การออกแบบและคานวณช้ินส่วนต่างๆเพื่อนาใช้งานออกแบบรูปแบบการสร้างพัดลม 2
ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคช่ันมือถือคณะผู้จัดทาได้รวบรวมเอกสารจากขั้นตอนต่างๆ ข้างต้นเพ่ือ
นามาออกแบบ พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือตามท่ีได้ออกแบบซึ่งประกอบด้วย
ข้ันตอนต่าง

3.1.4 กาหนดวัตถุประสงค์การสร้าง วิเคราะห์วัสดุท่ีจะนามาสร้างออกแบบโครงการ กาหนด
หลกั การทางานดาเนินการสร้างทดลองใชแ้ ละประเมินผลการใชง้ าน

24
3.2 ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง

3.2.1 ประชากร คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลยั เทคนิคระยอง จานวน 70 คน

3.2.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง จานวน 59 คน

ภาพท่ี 3.1 แสดงตารางทฤษฎีของมอร์แกน

25

3.3 ขั้นตอนการดาเนนิ งาน
3.3.1 การออกแบบผงั งาน

ภาพท่ี 3.2 แสดงการออกแบบผงั งาน

26
ภาพที่ 3.3 แสดงการออกแบบผงั งาน (ตอ่ )

27
ภาพที่ 3.4 แสดงการออกแบบผงั งาน (ตอ่ )

28
ภาพที่ 3.5 แสดงการออกแบบผงั งาน (ตอ่ )

29
ภาพที่ 3.6 แสดงการออกแบบผงั งาน (ตอ่ )

30
ภาพที่ 3.7 แสดงการออกแบบผงั งาน (ตอ่ )

31

3.3.2 วงจรการต่อระบบเปิดปิดพัดลมด้วยสมารท์ โฟนโดยแอปพลเิ คชั่น Blynk

ภาพที่ 3.8 แสดงวงจรของระบบ
1. สาย GND ของ Relay module 12v 4 channel
2. สาย VCC ของ Relay module 12v 4 channel
3. สาย D1-D4 ของ Relay module 12v 4 channel
4. สาย GND ของ Arduino NodeMCU 8266
5. สาย VIN ของ Arduino NodeMCU 8266
6. สาย D1-D4 ของ Arduino NodeMCU 8266
7. จุดจา่ ยไฟ 80V ออก ของ Relay module 12v 4 channel
8. จุดรับไฟบ้าน 220V ของ Relay module 12v 4 channel
9. จดุ รับไฟ 80V จาก Relay module 12v 4 channel เขา้ สมู่ อเตอร์พดั ลม
10. จดุ รบั ไฟบ้าน 220V เขา้ สมู่ อเตอร์

32

3.3.3 ขน้ั ตอนการสร้างชิ้นงาน
3.3.3.1 นาแผน่ ไมม้ าติดที่ฐานของพัดลม

ภาพท่ี 3.9 แสดงการนาแผน่ ไมม้ าติดทฐ่ี านของพดั ลม
3.3.3.2 นา Arduino และ Relay มาตดิ ท่แี ผ่นไม้

ภาพท่ี 3.10 แสดงการนา Arduino และ Relay มาตดิ ที่แผน่ ไม้
3.3.3.3 นาสายไมโคร USB เช่ืมตอ่ กบั สายไฟของพัดลม

ภาพที่ 3.11 แสดงสายไมโคร USB เช่ือมต่อกับสายไฟของพดั ลม

33

3.3.3.4 เชอื่ มสาย USB เพื่อจ่ายไฟให้ Arduino

ภาพท่ี 3.12 แสดงเช่ือมสาย USB เพื่อจ่ายไฟให้ Arduino
3.3.3.5 ตอ่ สายไฟเบอร์ของพัดลมเข้ากบั Relay ทงั่ 4 เบอร์

ภาพท่ี 3.13 แสดงตอ่ สายไฟเบอร์ของพัดลมเข้ากับ Relay
3.3.3.6 เปิดแอพพลิเคชัน่ ฺBlynk และ ทดลองเปดิ พัดลมด้วยแอพพลเิ คช่ัน

ภาพที่ 3.14 แสดงการเปดิ พัดลมด้วยแอพพลเิ คชน่ั ฺBlynk

34

3.4 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู
3.4.1 ระบบการเปิดปดิ พัดลมด้วยสมารท์ โฟนโดยแอปพลเิ คช่นั Blynk
3.4.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมีต่อระบบการเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดย
แอปพลิเคชั่น Blynk จานวน 10 ขอ้

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 ข้อมลู ความพงึ พอใจของระบบการเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลเิ คชนั่
Blynk มีลักษณะเปน็ แบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) แบง่ เป็น 5 ระดบั

5 หมายถงึ ความพงึ พอใจมากท่ีสดุ
4 หมายถึง ความพงึ พอใจมาก
3 หมายถึง ความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถงึ ความพงึ พอใจนอ้ ย
1 หมายถงึ ความพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ

ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะการจัดทาโครงการ”ระบบการเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดย
แอปพลเิ คชั่น Blynk”

3.5 ข้ันตอนการดาเนนิ การและเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.5.1 เชอ่ื มตอ่ พดั ลมกบั บอรด์ Arduino ด้วยการบัดกรีสายไฟใหเ้ ชื่อมต่อกนั ตามแผนวงจร
3.5.2 ลงมอื เขยี นโคด้ ในโปรแกรม Arduino IDE ซง่ึ เปน็ โปรแกรมเขยี นคาสั่งการทางาน

ของบอร์ด Arduino
3.5.3 ตรวจสอบการทางานของโค้ดวา่ มขี ้อผิดพลาด (BUG) หรือไม่
3.5.4 แก้ไขขอ้ ผิดพลาด (BUG) ของโปรแกรม Arduino IDE แลว้ ทาการตรวจสอบ

อกี หน่งึ รอบ
3.5.5 ทาการทดสอบอกี รอบกอ่ นทาการนาเสนอผลงาน
3.5.6 นาเสนอผลงานแก่คณะกรรมการและอธิบายความสามารถ

3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
เครอ่ื งมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้แก่ แบบสอบถาม เพื่อสารวจความพงึ พอใจของนักเรยี น

ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง
(https://drive.google.com)

35

3.6.1 สร้างแบบสอบถามซึง่ มีมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ดงั นี้
5 หมายถึง ความพึงพอใจมากทสี่ ุด
4 หมายถึง ความพงึ พอใจมาก
3 หมายถงึ ความพึงพอใจปาน
2 หมายถึง ความพงึ พอใจน้อยกลาง
1 หมายถงึ ความพงึ พอใจน้อยทีส่ ุด

3.6.2 เกณฑ์การประเมนิ คา่ ความพงึ พอใจ กาหนดคา่ คะแนนออกเปน็ 5 ระดบั ดังนี้
4.50 - 5.00 หมายถงึ ความพงึ พอใจระดับมากทส่ี ุด
3.50 - 4.49 หมายถงึ ความพงึ พอใจระดับมาก
2.50 – 3.49 หมายถึงความพงึ พอใจระดับปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถงึ ความพึงพอใจระดับนอ้ ย
0.00 – 1.49 หมายถึงความพึงพอใจระดับน้อยทส่ี ุด

หมายเหตุ เกณฑ์การผา่ นต้องอยู่ในระดับ 3.50 ถือว่าผา่ นเกณฑ์

3.7 สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
ในการจดั ทาโครงการ “ระบบเปดิ /ปดิ พัดลมดว้ ยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลเิ คชั่น Blynk” สถิตทิ ใี่ ช้

ในการวิเคราะห์ข้อมูลแบง่ ออกได้ ดังน้ี
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู สรปุ ผลโครงการได้ใช้สถิตเิ พ่ือเคราะห์ดังน้ี (https://drive.google.com)

3.7.1 ค่าสถติ ิร้อยละ (Percentage)

สูตร P = F x 100
n

เมอ่ื P แทน ร้อยละ
F แทน ความถี่ที่ต้องการแปลค่าให้เป็นรอ้ ยละ
n แทน จานวนความถ่ที ง้ั หมด

36

3.7.2 การหาค่าเฉลีย่ ( )

สตู ร = ∑ x
n

เมอ่ื แทน คา่ เฉลี่ยเลขคณิต
∑ แทน ผลบวกของข้อมลู ทกุ ค่า
n แทน จานวนข้อมลู ทงั้ หมด

3.7.3 การหาคา่ เฉลี่ยเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D. Standard Deviation)

สูตร S.D = n∑ x 2 -( ∑ x )2
n(n-1)

เมอ่ื x คือ ข้อมูล ( ตัวที่ 1,2,3…,n)
คอื ค่าเฉลยี่ เลขคณิต

n คอื จานวนข้อมลู ทัง้ หมด

37

บทที่ 4
ผลการดาเนนิ โครงการ

จากการดาเนนิ โครงการระบบเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคช่ัน Blynk ได้
มกี ารตดิ ตามประเมิน ผู้ประเมินมผี ลดาเนินการวเิ คราะห์ข้อมูลแปรความตามลาดบั ดงั นี้
4.1 ผลการดาเนินการ

ผลการดาเนินโครงการสร้างระบบการเปิดปิดพัดลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคช่ัน Blynk
จากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถามท่ังหมด 59 คน

ตารางท่ี 4.1 แสดงจานวนของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ

เพศ จานวน รอ้ ยละ

ชาย 15 25.4

หญิง 44 74.6

รวม 59 100

จากตารางท่ี 4.1 พบว่าจานวนของผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามเพศ ได้แก่ เพศชายจานวน
15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.4 และเพศหญิงจานวน 44 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 74.6

แผนภมู แิ สดงเพศของผตู้ อบแบบสอบถาม

ภาพที 4.1 แผนภูมิแสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม

38

ตารางท่ี 4.2 แสดงจานวนของผู้ตอบแบบสอบถามคิดเปน็ ร้อยละ่ จาแนกตามอายุ

อายุ จานวนคน รอ้ ยละ
15-16 ปี 45 76.3
17-18 ปี 10 16.9
19-20 ปี 4 6.8
59 100
รวม

จากตารางที่ 4.2 พบวา่ จานวนของผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 15-16 ปี จานวน 45
คน คิดเป็นร้อยละ 76.3 อายุ 17-18 ปี จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 16.9 และอายุ 19-20 ปี
จานวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.8

แผนภมู ิแสดงจานวนของผ้ตู อบแบบสอบถามคดิ เป็นรอ้ ยละ่ จาแนกตามอายุ

ภาพที่ 4.2 แผนภมู แิ สดงอายุของผ้ตู อบแบบสอบถาม

39

ตารางท่ี 4.3 แสดงความพึงพอใจดา้ นการออกแบบช้ินงาน

เร่ืองการประเมนิ ค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ยี งเบน ระดบั ความพึงพอใจ
4.63 มาตรฐาน มากทส่ี ดุ
1. ภาพรวมของชนิ้ งานมีความสมบรู ณ์ 4.53 0.52 มากทส่ี ดุ
2. ช้นิ งานมีความสวยงามและนา่ สนใจ 0.63
3. การจดั ว่างสัดสว่ นช้นิ งานมคี วาม 4.53 มากทส่ี ดุ
เหมาะสม 0.57
4. ความทันสมยั ของตวั ชิ้นงาน 4.78 มากทสี่ ดุ
4.62 0.42 มากทสี่ ดุ
รวมท้ังส้ิน 0.53

จากตารางที่ 4.3 พบว่าความพึงพอใจด้านการออกแบบช้ินงานอยู่ในระดับมากท่ีสุด
( =4.62, SD=0.53), เมื่อพิจารณาพบว่าความทันสมัยของตัวช้ินงานอยู่ในระดับมากท่ีสุด
( =4.78, SD=0.42), ภาพรวมของชิน้ งานมีความสมบรู ณ์อยู่ในระดบั มากท่สี ุด ( =4.63, SD=0.52) และ
ชิ้นงานมีความสวยงามและนา่ สนใจอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ( =4.53, SD=0.63) ตามลาดับ

แผนภูมิแสดงความพึงพอใจของชน้ิ งาน

ภาพที่ 4.3 แสดงความพงึ พอใจของชนิ้ งาน

40

ตารางท่ี 4.4 แสดงพึงพอใจด้านความสามารถในการทางาน

เร่อื งการประเมิน คา่ เฉลีย่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับความพึงพอใจ
1. ความสามารถในการเปดิ /ปิด 4.73 0.52 มากทส่ี ุด
ด้วยสมารท์ โฟน
2. เซนเซอร์ระยะของสญั ญาณ 4.47 0.63 มากท่ีสุด
3. ความสะดวกในการ 4.44 0.68 มากที่สุด
เคลื่อนยา้ ย
4.55 0.61 มากทีส่ ดุ
รวมทั้งสิน้

จากตารางท่ี 4.4 พบว่าความพึงพอใจด้านความสามารถในการทางานอยู่ในระดับมากที่สุด
( =4.55, SD=0.61), เมอื่ พจิ ารณาพบว่าความสามารถในการเปิด/ปิดดว้ ยสมาร์ทโฟนอยู่ในระดับมาก
ท่ีสุด ( =4.73, SD=0.52), เซนเซอร์ระยะของสัญญาณอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( =4.47, SD=0.63)
และความสะดวกในการเคลอื่ นย้ายอยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ ( =4.44, SD=0.68) ตามลาดบั

แผนภมู ิแสดงความพึงพอใจดา้ นความสามารถในการทางาน

ภาพท่ี 4.4 แสดงความพึงพอใจด้านความสามารถในการทางาน

41

ตารางที่ 4.5 แสดงดา้ นประสิทธภิ าพและความปลอดภัย

เร่ืองการประเมนิ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบย่ี งเบน ระดับความพึงพอใจ
1. ความคงทนของชิน้ งาน 4.63 มาตรฐาน มากทส่ี ดุ
2. ความปลอดถยั ของแผงวงจร 4.46 0.55 มากที่สดุ
3. ความแข่งแรงของอปุ กรณ์ที่ 4.59 0.63 มากที่สุด
นามาใช้ 0.59
4.56 มากที่สุด
รวมท้ังสิ้น 0.60

ตารางท่ี 4.5 พบว่าความพึงพอใจในด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัยอยู่ในระดับมาก
ท่ีสุด ( =4.56, SD=0.60), เมื่อพิจารณาพบว่าความคงทนของช้ินงานอยู่ในระดับมากที่สุด
( =4.63, SD=0.55), ความแข่งแรงของอุปกรณ์ท่ีนามาใช้อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.59, SD=0.59)
และความปลอดภัยของแผงวงจรอยู่ในระดบั มากท่ีสดุ ( =4.46, SD=0.63) ตามลาดบั

แผนภูมแิ สดงระดบั ความพงึ พอใจดา้ นประสทิ ธภิ าพและความปลอดภัย

ภาพท่ี 4.5 แสดงระดบั ความพงึ พอใจดา้ นประสทิ ธภิ าพและความปลอดภัย

42

ตารางที่ 4.6 แสดงถงึ สถิติระดับความพงึ พอใจของนกั เรียนนักศกึ ษาทีป่ ระเมนิ การเปิดปิด
พดั ลมดว้ ยสมารท์ โฟนโดยแอปพลเิ คชน่ั Blynk

สว่ นเบย่ี งเบน ระดับความพึง

เร่ืองประเมนิ ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน พอใจ
ด้านการออกแบบช้นิ งาน
1. ภาพรวมของชิน้ งานมคี วามสมบรู ณ์ 4.63 0.52 มากทส่ี ุด
2. ชนิ้ งานมคี วามสวยงามและน่าสนใจ 4.53 0.63 มากท่สี ุด
3. การจัดวางสดั สว่ นชนิ้ งานมคี วามเหมาะสม 4.53 0.57 มากท่ีสดุ
4. ความทันสมยั ของตัวช้ินงาน 4.78 0.42 มากทีส่ ดุ
ด้านความสามารถในการทางาน
1. ความสามารถในการเปดิ /ปิดดว้ ยสมาร์ทโฟน 4.73 0.52 มากทส่ี ุด
2. เซนเซอร์ระยะของสญั ญาณ 4.47 0.63 มากทส่ี ดุ
3. ความสะดวกในการเคลื่อนยา้ ย 4.44 0.68 มากที่สดุ
ดา้ นประสิทธิภาพและความปลอดภัย
1. ความคงทนของชิ้นงาน 4.63 0.55 มากที่สดุ
2. ความปลอดภัยของแผงวงจร 4.46 0.63 มากที่สดุ
3. ความแข็งแรงของอุปกรณท์ ่ีนามาใช้ 4.59 0.59 มากทสี่ ดุ
4.58 0.58 มากทสี่ ุด
รวมท้ังสิน้

43
จากตารางท่ี 4.6 พบว่าความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาท่ีประเมินแบบสอบถามโครงการเปิด-ปิด
พดั ลมด้วยสมาร์ทโฟนโดยแอปพลิเคชั่น Blynk อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.58, SD=0.58), ด้านการ
ออกแบบชิ้นงาน ( =4.62, SD=0.53), ด้านความสามารถในการทางาน ( =4.55, SD=0.61)
และดา้ นประสทิ ธภิ าพและความปลอดภัย ( =4.56, SD=0.60) ตามลาดับ

แผนภมู ิแสดงความพึงพอใจดา้ นสถิติ

ภาพที่ 4.6 แสดงความพึงพอใจด้านสถติ ิ


Click to View FlipBook Version