The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออิเล็กทรอนิค โฮโมเซเปียนส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสืออิเล็กทรอนิค โฮโมเซเปียนส์

หนังสืออิเล็กทรอนิค โฮโมเซเปียนส์

2

หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง ลำดบั ลำดบั ช่วงเวลำทำงประวตั ิศำสตร์ ของโฮโมเซเปี ยนส์

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
สำระเรียนรู้ ประวตั ิศำสตร์

จดั ทำโดย
นำยชินพฒั น์ โพธ์ินอก
รหสั นกั ศึกษำ 64054000316
หลกั สูตรครุศำสตร์มหำบณั ฑิต สำขำสังคมศึกษำ

เสนอ
อำจำรย์ ดร.ภทั ระ อินทรกำแหง

หนงั สือเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ ำภำษำไทยเพ่ือกำรสื่อสำรและเทคโนโลยดี ิจิทลั
รหสั วชิ ำ 2552554a หลกั สูตรครุศำสตร์มหำบณั ฑิต สำขำสงั คมศึกษำ
คณะมนุษยศ์ ษสตร์และสงั คมศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั สุรินทร์

3

คำนำ
กำรเขำ้ ใจประวตั ิศำสตร์ของมนุษยก์ ็คือกำรเขำ้ ใจปัจจุบนั และอนำคต โฮโมเซเปี ยนส์หรือมนุษยเ์ รำ
เป็ นเผ่ำพนั ธุ์ที่ประสบควำมสำเร็จบนโลกใบน้ี ท้งั ท่ีก่อนหน้ำน้ี 70,000ปี ก่อน บรรพบุรุษของเรำเป็ นเพียง
สัตวท์ ่ีแทบจะไม่ผลกระทบต่อส่ิงใดเลย แต่ในช่วง 70,000ปี ท่ีผำ่ น โฮโมเซเปี ยนส์ไดก้ ระจำยไปทวีปอื่น ๆ
ไปสู่กำรครองโลกจนเกิดววิ ฒั นำกำรและกำรปฏิวตั ิระบบระเบียบกฎเกณฑต์ ่ำง ๆบนโลกข้ึน
หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ี จะนำเสนอลำดบั ช่วงเวลำทำงประวตั ิศำสตร์ของโฮโมเซเปี ยนส์หรือ
เผำ่ พนั ธุ์มนุษยโ์ ลกในปัจจุบนั วำ่ มีววิ ฒั นำกำรจำกอดีตสู่ปัจจุบนั และจะส่งผลสู่อนำคตอยำ่ งไร
หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของวิชำภำษำไทยเพื่อกำรสื่อสำรและเทคโนโลยีดิจิทลั
รหสั วชิ ำ 2552554a หลกั สูตรครุศำสตร์มหำบณั ฑิต สำขำวชิ ำสังคมศึกษำ คณะมนุษศำสตร์และสังคมศำสตร์
มหำวิทยำลยั รำชภฏั สุรินทร์ โดยมีจุดประสงค์จดั ทำบทเรียนในรูปแบบ E book ใชป้ ระกอบกำรเรียนกำร
สอนในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม สำระเรียนรู้ที่ 4 ประวตั ิศำสตร์
กำรจดั ทำหนังสืออิเล็กทรอนิคเล่มน้ี ผูจ้ ดั ทำต้องขอขอบพระคุณ ท่ำน ดร.ภทั ร อินทรกำแหง
อำจำรยป์ ระจำวิชำภำษำไทยเพื่อกำรส่ือสำรและเทคโนโลยีดิจิทลั ตลอดจนเพ่ือนๆนักศึกษำ ครุศำสตร์
มหำบณั ฑิต สำขำสังคมศึกษำ มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั สุรินทร์ รุ่นที่ 7 ทุกท่ำน ท่ีคอยใหค้ ำปรึกษำและช่วยเหลือ
จนสำมำรถรวบรวมเน้ือหำเพื่อจดั ทำเป็ นบทเรียนในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำศำสนำและวฒั นธรรม
จนกลำยเป็ นบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ไดส้ ำเร็จ ในกำรน้ีผูจ้ ดั ทำหวงั วำ่ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ี จะเป็ น
ประโยชน์แก่ผอู้ ่ำนทุกๆทำ่ น
หำกแตบ่ ทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์เล่มน้ีผดิ พลำดประกำรใด ผจู้ ดั ทำขออภยั มำ ณ โอกำสน้ี ดว้ ย

ผจู้ ดั ทำ
นำยชินพฒั น์ โพธ์ินอก
นกั ศึกษำหลกั สูตรครุศำสตร์มหำบณั ฑิต สำขำวชิ ำสงั คมศึกษำ

สำรบญั 4
เรื่อง
หนำ้
คำนำ
1.ววิ ฒั นำกำรสกลุ โฮโม ( The Homo Genus Evolution) 5
2.โฮโมเซเปี ยน (Homo sapiens) 12
3.ลำดบั ลำดบั ช่วงเวลำทำงประวตั ิศำสตร์ ของโฮโมเซเปี ยนส์ 16
4.เผำ่ พนั ธุ์มนุษยใ์ นปัจจุบนั 33
อำ้ งอิง 36

5

ววิ ฒั นาการสกลุ โฮโม
( The Homo Genus Evolution)

ท่ีมำของภำพ https://www. http://huexonline.com/knowledge/30/227/

Infographic ขำ้ งตน้ แสดงถึงววิ ฒั นำกำรของมนุษยใ์ นสกุลโฮโม (Homo) ซ่ึงเป็นสกุลของมนุษยใ์ น
สำยพนั ธุ์ปัจจุบนั โดยสกุลโฮโมจะประกอบไปดว้ ยสปี ชีส์ (Species) ท่ีสำคญั หลำกหลำยสปี ชีส์ โดยสปี ชีส์
ที่สำคญั ท่ีสุดก็คือ โฮโม เซเปี ยนส์ (Homo sapiens) อนั เป็ นสปี ชีส์ของมนุษยท์ ่ีครอบครองโลกอยใู่ นขณะน้ี
ซ่ึงถือกำเนิดข้ึนในรำว 3 แสนปี ก่อน

6

มนุษยส์ กุลโฮโมไดร้ ับกำรวิวฒั นำกำรจำกมนุษยใ์ นสกุลออสตรำโลพิเธคคสั (Australopithecus)
ซ่ึงถือกำเนิดข้ึนในรำว 5 ลำ้ นปี ก่อน โดยมนุษยใ์ นสกุลออสตรำโลพเิ ธคคสั ท่ีมีควำมใกลช้ ิดกบั สกลุ โฮโม
มำกท่ีสุดก็คือ ออสตรำโลพเิ ธคคสั แอฟริกำนสั (Australopithecus africanus)

มนุษยส์ กลุ โฮโมในกลุ่มแรก ๆ คือ โฮโม แฮบิลิส (Homo habilis) ซ่ึงววิ ฒั นำกำรต่อมำเป็น โฮโม
เออร์แกสเตอร์ (Homo ergaster) หลงั จำกน้นั โฮโม เออร์แกสเตอร์ ไดว้ วิ ฒั นำกำรแยกออกมำเป็น โฮโม อิ
เร็กตสั (Homo erectus) และโฮโม ไฮเดลแบร์กเอนซิส (Homo Heidelbergensis) โดยกลุ่มแรกไดส้ ูญพนั ธุ์ใน
รำว 1 แสนปี ก่อน ส่วนกลุ่มที่สองไดว้ วิ ฒั นำกำรต่อไป

โฮโม ไฮเดลแบร์กเอนซิส ไดว้ วิ ฒั นำกำรแยกออกมำเป็น 2 สปี ชีส์สำคญั คือ โฮโม นีแอนเดอธลั
(Homo neanderthalensis) และโฮโม ซำเปี ยนส์ ซ่ึงทำ้ ยท่ีสุด มนุษยใ์ นสกลุ โฮโมก็หลงเหลืออยเู่ พียงสปี ชีส์
เดียวคือ โฮโม ซำเปี ยนส์

7

สกลุ โฮโม The Homo Genus

1. ออสตรำโลพิเธคสั (Australopithecus) ช่วง 2.5 ลำ้ นปี มำแลว้

ที่มำของภำพ: www.britannica.com,
วำนรสกลุ แรก ๆ ช่ือ ออสตรำโลพเิ ธคสั (Australopithecus) แปลวำ่ "วำนรแดนใต้ Southern
Ape" ถือกำเนิดท่ีแอฟริกำตะวนั ออก
ตวั อยำ่ ง หลกั ฐำนท่ีคน้ พบที่สำคญั คือ กระดูกฟอสซิลของ "ลูซ่ี - Lucy" พบในเอธิโอเปี ย
2.โฮโมนีแอนเดอร์ธลั เลนซิส (Homo neanderthalensis) 2 ลำ้ นปี มำแลว้

มนุษยโ์ บรำณ "นีแอนเดอร์ธลั ส์" ท่ีมำของภำพ: humanorigins.so.edu,
มนุษยโ์ บรำณละทิง้ บำ้ นเกิด เดินทำง ต้งั ฐำนใหมใ่ นแอฟริกำเหนือ ยโุ รป และเอเชีย ดว้ ยภูมิประเทศ
ภูมิอำกำศแตกต่ำงกนั มนุษยโ์ บรำณพฒั นำกำรแตกตำ่ งกนั ออกไปโดยมีเป็นภำษำละติน ดงั น้ี มนุษยใ์ นยโุ รป
และเอเชียตะวนั ตกววิ ฒั น์เป็ น โฮโมนีแอนเดอร์ธลั เลนซิส (Homo neanderthalensis: มนุษยจ์ ำกหุบเขำนีแอน
เดอร์ - Man from the Neander Valley() ซ่ึงเป็นท่ีรู้จกั กนั ดีในนำม "นีแอนดอร์ธลั ส์-Neanderthals" จมูกของ
มนุษยโ์ บรำณน้ีจะมีขนำดใหญ่ โพรงจมูกกวำ้ ง เป็ นววิ ฒั นำกำรเพ่อื รองรับอำกำศที่แหง้ และเยน็ ในเขตหนำว
ของยโุ รปไดด้ ี

8

3.โฮโม อีเร็คตสั (Homo erectus) เกือบ 2 ลำ้ นปี มำแลว้

มนุษยโ์ บรำณ "โฮโม อีเร็คตสั -Homo erectus" ที่มำ: humanorigins

ทำงตะวนั ออกถดั มำของทวปี เอเชียถูกครอบครองโดย โฮโม อีเร็คตสั (Homo erectus) แปลวำ่
มนุษยย์ นื ตวั ตรง (Upright man) ซ่ึงมีชีวติ รอดยำวนำนถึงเกือบ 2 ลำ้ นปี ถือเป็นสปี ชีส์มนุษยท์ ี่อยยู่ ้งั ยนื ยง
ที่สุดเท่ำที่เคยมีมำ ซ่ึงแมแ้ ต่เซเปี ยนส์ท่ีเป็นสปี ชีส์ของเรำเองกไ็ มน่ ่ำจะทำลำยสถิติน้ีลงได้

4.โฮโม โซโลเอนซิส (Homo soloensis)

Homo Erectus Soloensis, ท่ีมำ: id.wikipedia.org,

มนุษยโ์ บรำณ โฮโม โซโลเอนซิส (Homo soloensis) "มนุษยจ์ ำกหุบเขำโซโล" ในเกำะชวำ ประเทศ
อินโดนีเซีย เป็นถ่ินท่ีอยขู่ องมนุษยโ์ บรำณน้ี เป็นมนุษยท์ ่ีจะดำรงชีพอยใู่ นเขตเส้นศูนยส์ ูตร

9

5.โฮโม ฟลอเรไซเอนซิส (Homo floresiensis)

Homo floresiensis, ท่ีมา: humanorigins.si.edu,

มนุษย์ โฮโม ฟลอเรไซเอนซิส (Homo floresiensis) - ช่ือเล่นคือ "ฮอบบิท - Hobbit" มนุษยโ์ บรำณ
น้ี พบกระดูกอยบู่ นเกำะฟลอเรส (Flores island) เป็นมนุษยท์ ่ีมีขนำดเลก็ มีกำรววิ ฒั นำกำรจนกลำยเป็นคน
แคระ โดยคนที่สูงมำกท่ีสุดเพยี ง 1 เมตร มีน้ำหนกั ไมเ่ กิน 25 กิโลกรัม เนื่องดว้ ยเกำะมีพ้นื ที่และอำหำรจำกดั
ววิ ฒั นำกำรของมนุษยโ์ บรำณจึงจำตอ้ งปรับตวั ใหอ้ ยรู่ อดได้

6.โฮโม เดนิสโซวำ (Homo denisova)

Homo denisova, ที่มา: flickr.com,

มนุษย์ โฮโม เดนิสโซวำ (Homo denisova) เดือนมีนำคม ค.ศ.2010 นกั วทิ ยำศำสตร์พบชิ้นส่วน
กระดูกนิ้วของหญิงสำวที่พบในถ้ำเดนิโซวำ ในเทือกเขำอลั ไต ไซบีเรีย สหพนั ธรัฐรัสเซีย ใกลพ้ รมแดนจีน
และมองโกเลีย

10

7.โฮโม รูดอลฟ์ เฟนซิส (Homo rudolfensis)

Homo rudolfensis, ที่มา: humanorigin.si.edu,

มนุษย์ โฮโม รูดอลฟ์ เฟนซิส (Homo rudolfensis) พบโดยทีมนกั มำนุษยวทิ ยำ, สตั ววทิ ยำเม่ือปี ค.ศ.
1972 ที่ Koobi Fora ดำ้ นตะวนั ออกของทะเลสำบ Turkana ในประเทศเคนยำ

8.โฮโม เออร์แกสเตอร์ (Homo ergaster)

Homo ergaster, ที่มา: course.lumenlearning.com,

มนุษย์ โฮโม เออร์แกสเตอร์ (Homo ergaster) ภำษำละติน ergaster แปลวำ่ มนุษยง์ ำน (Workman)
มนุษยโ์ บรำณน้ีมีอำยรุ ะหวำ่ ง 1.9-1.4 ลำ้ นปี มำแลว้ พบในทำงตะวนั ออกและใตข้ องแอฟริกำ

11

9.โฮโม เซเปี ยนส์ (Homo sapiens)

มนุษยป์ ัจจุบนั (Homo sapiens), ที่มา: www.printerest.com,

โฮโม เซเปี ยนส์ (Homo sapiens) เป็นมนุษยป์ ัจจุบนั ในภำษำละติน คำวำ่ Sapiens แปลวำ่ ฉลำด
(wise) แปลรวมเป็นกำรขนำนนำมตวั เองอยำ่ งหยงิ่ ผยองที่แปลวำ่ "มนุษยผ์ มู้ ีสติปัญญำ"

12

โฮโมเซเปี ยน (Homo sapiens)

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= โฮโมเซเปี ยนส์

พฒั นาการของมนุษย์ในยคุ โฮโมเซเปี ยนส์

มนุษยก์ ลุ่มแรกถือกำเนิดและมีชีวติ อยเู่ มื่อประมำณ 20,000,000 ปี มำแลว้ แต่กม็ ีคำถำมมำกมำยที่ยงั
ไม่สำมำรถหำคำตอบไดว้ ำ่ ท่ีผำ่ นมำน้นั มนุษยใ์ ดมีกำรเปลี่ยนแปลงเป็นไปในลกั ษณะใดและอยำ่ งไรบำ้ ง
นอกเหนือจำกปัญหำซ่ึงเป็ นท่ียอมรับกนั แน่นอนวำ่ มนุษยแ์ ละวำนรน้นั สืบเช้ือสำยมำจำกบรรพบุรุษเดียวกนั
นกั มำนุษยวทิ ยำเป็นผศู้ ึกษำคน้ ควำ้ เก่ียวกบั มนุษยโ์ ดยตรง นกั วชิ ำกำรสำขำน้ีพยำยำมคน้ ควำ้ หำหลกั ฐำนเพื่อ
อธิบำยแหล่งกำเนิด ควำมเป็ นมำและววิ ฒั นำกำรทำงดำ้ นกำยภำพและทำงดำ้ นวฒั นธรรม (ควำมคิด) ของ
มนุษย์ ส่วนนกั วชิ ำกำรดำ้ นอ่ืนๆ ที่มีควำมสำคญั ไมน่ อ้ ยกวำ่ กนั ในกำรศึกษำเกี่ยวกบั ควำมเป็นมำของมนุษย์
ก็คือ นกั โบรำณคดี นกั ชีววทิ ยำ นกั กำยวภิ ำคศำสตร์ เป็นตน้ มนุษยเ์ ป็นส่ิงมีชีวติ จำพวกไพรเมต (Primate)
สนั นิษฐำนวำ่ ไพรเมตเร่ิมแรกเป็นพวกสัตวก์ ินแมลงอำศยั อยตู่ ำมตน้ ไม่มีลกั ษณะคลำ้ ยกระแต หำกินในเวลำ
กลำงคืน ต่อมำปรับตวั หำกินในเวลำกลำงวนั หอ้ ยโหนตน้ ไมค้ ล่องข้ึน และววิ ฒั นำกำรมำเป็นลิง

13

ลาดับข้นั ไพรเมต แยกเป็ น 2 ลาดับข้นั ย่อย คือ

1.พวกไพรเมตช้นั ต่ำ ไดแ้ ก่ พวกลิงลม และลิงทำร์ซิเมอร์ ซ่ึงถือวำ่ เป็นบรรพบุรุษของพวกไพรเมต
ช้นั สูง มีนิ้วบำงนิ้วเริ่มมีเลบ็ แบน และมีหำงยำวคลำ้ ยกบั ลิงอื่นๆ แต่หนำ้ ยงั ยนื่ ยำวคลำ้ ยหนูและมีเบำ้ ตำลึก

2.พวกไพรเมตช้นั สูง แบง่ เป็ น 3 พวก ดงั น้ี
- พวกท่ี 1 ลิงโลกใหม่ เป็นลิงที่มีรูจมูลกวำ้ ง มีหำงทำหนำ้ ท่ีคลำ้ ยมือและเทำ้ ในกำรจบั กิ่งไม้ แขนขำยำว
หอ้ ยโหนเตม็ ท่ี พบมำกในทวปี อเมริกำใตแ้ ละอเมริกำกลำง
- พวกท่ี 2 ลิงโลกเก่ำ เป็นลิงที่มีรูจมูกใหญ่หำงไมไ่ ดท้ ำหนำ้ ท่ีช่วยจบกิ่งไมเ้ หมือนกบั พวกที่ 1 พบมำกท่ีทวปี
แอฟริกำใต้ เอเชียและยโุ รป จึงเรียกวำ่ เป็ นลิงในโลกเก่ำ ไดแ้ ก่ ลิงบำบูน ลิงแสม ลิงกงั ค่ำง
- พวกที่ 3 ลิงไม่มีหำง เขำ้ ใจกนั วำ่ มีววิ ฒั นำกำรสืบทอดมำจำกลิงในโลกเก่ำ แบง่ เป็น 2 กลุ่ม คือ พวกวำนร
มนุษยซ์ ่ึงมีเข้ียวใหญ่เลยระดบั ฟันแถวเดียวกนั จนตอ้ งมีช่องวำ่ งระหวำ่ งฟันไวร้ ับปลำยเข้ียว มีกำรเดินโดย
ใช้ 4 ขำ ไดแ้ ก่ ชะนี อุรังอุตงั ชิมแปนชี กอริลลำ อีกกลุ่มคือ พวกมนุษย์

ลกั ษณะสำคญั ของตระกลู โฮมินิเด คือ มีเข้ียวเล็กและอยใู่ นระดบั เดียวกบั ฟันอ่ืน เดิน 2 ขำ จำกกำร
พบซำกดึกดำบรรพ์ ทำใหแ้ บ่งตระกูลน้ีไดเ้ ป็ น 3 สำยพนั ธุ์ คือ รำมำพเิ ธคสั ออสตรำโลพิเธคสั และโฮโม
ฉะน้นั นกั วชิ ำกำรเก่ียวกบั มนุษยส์ ำขำตำ่ งๆ สรุปควำมเห็นตรงกนั วำ่ ทวปี แอปริกำคือถ่ินกำเนิดของมนุษย์
มนุษยใ์ นยคุ แรกๆ ที่พบหลกั ฐำนคือ มนุษยว์ ำนร กล่ำวกนั วำ่ มนุษยว์ วิ ฒั นำกำรมำจำกสตั วส์ กุลลิงใหญ่
(Ape) เม่ือประมำณ 4 ลำ้ นปี มำแลว้ คือเร่ิมลงมำเดินสองขำที่เรำเรียกวำ่ ออสตรำโลพิเธคสั
(Australopithecus) และต่อมำไดว้ วิ ฒั นำกำรมำเป็ นโฮโม แฮบิลิส (Homa Habilis) หรือมนุษยท์ ี่รู้จกั ใช้
เครื่องมือ 2.5 ลำ้ นปี มำแลว้ ) และพฒั นำตอ่ มำเป็นโฮโม อีเรคตสั (Homo Erectus) หรือมนุษยท์ ี่ยนื ตวั ตรง
1.5-2 ลำ้ นปี ) และววิ ฒั นำกำรตอ่ มำเป็ นมนุษยป์ ัจจุบนั คือ โฮโม เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์ (Homo Sapiens
Sapiens หรือมนุษยผ์ ชู้ ำญฉลำดยงิ่ ) เมื่อประมำณ 1-2 แสนปี ที่ผำ่ นมำ ในช่วงก่อนววิ ฒั ำนกำรมำสู่ข้นั โฮโม
เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์ ตน้ บรรพบุรุษมนุษยว์ วิ ฒั นำกำรโดยอำศยั หลกั เดียวกบั สิ่งที่มีชีวติ สตั ว์ พชื อ่ืนๆ คือ
กำรปรับตวั เพือ่ กำรเคล่ือนไหวท่ีใชส้ องขำ กำรเพิ่มขนำดของสมองฯลฯ เป็นตน้ โดยมีปัจจยั พิเศษเพม่ิ เติม
คือ กำรรู้จกั ใชเ้ ครื่องมือหยำบๆ ต้งั แตย่ คุ ของโฮโม แฮบิลิสเม่ือ 2.5 ลำ้ นปี มำแลว้ รวมท้งั กำรรู้จกั ใชไ้ ฟ กำร
รวมกลุ่ม กำรสร้ำงที่พกั อำศยั ในช่วงของโฮโมอีเรตสั เมื่อ 1.5 ลำ้ นปี มำแลว้ แต่ไม่ปรำกฏหลกั ฐำนชดั เจน

14

ของกำรใชร้ ะบบภำษำ ถำ้ เรำถือวำ่ ภำษำเป็นปัจจยั สำคญั สุดของควำมเป็นมนุษย์ เรำกค็ งเรียกช่วงน้ีวำ่ เป็น
ช่วงก่อนวฒั นธรรม (pre-culture) หรือก่ึงวฒั นธรรม (quasi culture) ในช่วงกำรเกิดโฮโม เซเปี ยนส์ เซ
เปี ยนส์ มีลกั ษณะพเิ ศษเกิดข้ึนกบั มนุษย์ นนั่ คือกำรพฒั นำสมองซ่ึงนอกจำกจะมีขนำดใหญข่ ้ึนจำก 1,000
ลูกบำศกเ์ ซนติเมตรของโฮโม อีเรคตสั เป็น 1,300 ลูกบำศกเ์ ซนติเมตรแลว้ ยงั เป็ นกำรพฒั นำกำรสมองใน
ส่วนซ่ึงมีบทบำทช่วยในควำมสำมำรถในกำรใชภ้ ำษำกบั กำรคิดที่เป็ นรูปธรรมข้ึนดว้ ย จำกจุดน้ีไดน้ ำมนุษย์
ไปสู่กำรววิ ฒั นำกำรทำงควำมคิดและวฒั นธรรม ช่วงกำรพฒั นำควำมสำมำรถทำงภำษำและจินตนำกำรของ
มนุษยป์ ัจจุบนั จึงเกิดมำเมื่อเพียง 5 หมื่นปี เศษมำน้ีเอง เพรำะเป็นช่วงท่ีเรำพบในเชิงศิลปะ พิธีกรรม ของ
มนุษยอ์ ยำ่ งแพร่หลำย กวำ้ งขวำง และนบั จำกน้นั มนุษยก์ ็ไดอ้ ำศยั ภำษำ ศิลปะ จินตนำกำรของตน พฒั นำ
ตวั เอง ท้งั ในดำ้ นเคร่ืองมือ เส้ือผำ้ เคร่ืองใชไ้ มส้ อยอ่ืนๆ จนพฒั นำตวั เองไปอยำ่ งรวดเร็ว เรำจึงอำจเรียก
ววิ ฒั นำกำรในช่วงน้ีของมนุษยว์ ำ่ เป็นข้นั ตอนของกำรใชว้ ฒั นธรรมท้งั ควำมคิดและวตั ถุ (Ideational กบั
material culture) เป็ นปัจจยั สำคญั และก็เป็นที่สังเกตไดว้ ำ่ มนุษยไ์ ดห้ ยดุ กระบวนกำรวิวฒั นำกำรเชิงกำยภำพ
ในช่วงน้ี ยกเวน้ แตก่ ำรปรับตวั เลก็ นอ้ ยเพื่อเขำ้ กบั สภำพแวดลอ้ มเฉพำะ

โฮโม เซเปี ยนส์ เริ่มปรำกฏข้ึนเม่ือประมำณ 300,000 ปี มำแลว้ แตว่ วิ ฒั นำกำรแตกตำ่ งจรำกโฮโม
อีเรคตสั อยำ่ งชดั เจนเม่ือประมำณ 100,000 ปี ที่ผำ่ นมำ โฮโม เซเปี ยนส์ แบง่ ออกเป็ น 2 ชนิดยอ่ ย
(subspecies) ไดแ้ ก่ โฮโม เซเปี ยนส์นีแอนเดอร์ธลั เลนซิส (Homo Sapiens Neandertalensis) หรือมนุษยน์ ี
แอนเดอร์ธลั และโฮโม เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์ (Homo Sapiens Sapiens)

1.มนุษย์นีแอนเดอร์ธัล ปรำกฏเมื่อประมำณ 75,000 ปี กมำแลว้ เน่ืองจำกขดุ พบคร้ังแรกบริเวณท่ี
รำบลุ่มนีแอนเดอร์ (Neander) ของประเทศเยอรมนั จึงต้งั ช่ือตำมท่ีรำบลุ่มท่ีขดุ พบ คำวำ่ tal ในภำษำเยอรมนั
หมำยถึงท่ีรำบลุ่ม (valley) ลกั ษณะทำงกำยวภิ ำคของมนุษยน์ ีแอนเดอร์ธลั คือ มีกะโหลกศีรษะใหญ่ มีควำม
จุสมองมำกข้ึน คือ ประมำณ 1,300 ลูกบำศก์ เซนติเมตร ซ่ึงมีควำมใกลค้ ียงกบั มนุษยป์ ัจจุบนั สันคิ้วและ
กระดูกโหนกหนำ้ ผำกลำดเอียง มนุษยน์ ีแอนเดอร์ธลั มีขนำดควำมสูงประมำณกวำ่ 5 ฟุตเล็กนอ้ ยกำร
ประดิษฐเ์ ครื่องมือหินแบบมูส์เตเรียน (Mousterian) ซ่ึงมีขนำดเล็กลงและมีขอบคมกวำ่ เคร่ืองมือหินแบบอำ
ชูเลี่ยน แสดงใหเ้ ห็นวำ่ นีแอนเดอร์ธลั ใชเ้ คร่ืองมือในกำรทำงำนท่ีละเอียดประณีตมำกข้ึน เช่น แกะสลกั ไม้
และกระดูกสตั ว์ เร่ิมมีศิลปะกำรตกแตง่ เกิดข้ึน และจำกซำกโครงกระดูกท่ีจดั อยำ่ งเป็นระเบียบ รำยรอบดว้ ย
เครื่องมือใชท้ ท่ ำดว้ ยหินและกระดูกสตั วท์ ำใหส้ ันนิษฐำนวำ่ คนเหล่ำน้ีมีพธิ ีทำสพและอำจมีแนวควำมคิด
เก่ียวกบั เร่ืองวญิ ญำณเป็ นอมตะ ซำกโครงกระดูกของนีแอนเดอร์ธลั พบในประเทศเบลเยย่ี ม ฝร่ังเศส สเปน
ยโู กสลำเวยี อิสรำเอล อิตำลี เป็นตน้ เช่ือกนั วำ่ มนุษยโ์ ฮโม เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์ ซ่ึงเป็นอีกสำยพนั ธุ์หน่ึง ซ่ึง
พฒั นำตวั เองข้ึนในอำฟริกำ ไดก้ ำ้ วเขำ้ มำแทนท่ีมนุษยน์ ิแอนเดอร์ธลั ที่สูญพนั ธุ์ไป สนั นิษฐำนวำ่ อำจ
เนื่องจำกถูกตำมล่ำฆำ่ หมดหรือถูกกดดนั หลบไปอยตู่ ำมที่ห่ำงไกลจนสูญพนั ธุ์หมดไป หรืออำจมีบำง
ส่วนผสมพนั ธุ์ กบั โฮโม เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์ แลว้ ค่อย ๆ กลำยมำเป็นโฮโม เซเปี ยนส์ ในปัจจุบนั จุดหลงั น้ี
เป็นขอ้ สนั นิษฐำนซ่ึงยงั ไมม่ ีกำรพสิ ูจน์ กำรมีภำษำเบ้ืองตน้ น่ำจะพฒั นำในช่วงของโฮโม เซเปี ยนส์ เน่ืองจำก

15

กำรวเิ ครำะห์โครงสร้ำงกำยภำพ พบวำ่ โฮโม เซเปี ยนส์ มีกล่องเสียงเคล่ือนลงมำอยบู่ ริเวณกลำงลำคอซ่ึงเป็น
ตำแหน่งท่ีจะเปล่งเสียงเป็นภำษำพูดไดใ้ นขณะท่ีสัตวไ์ พรเมตส์ชนิดอื่น รวมท้งั มนุษยก์ ่อนหนำ้ น้ีมีกล่อง
เสียงอยใู่ นตำแหน่งบนสุดของลำคอ ทำใหไ้ มน่ ่ำจะสำมำรถเปล่งเสียงเป็นคำพูดไดน้ อกจำกน้ี พฒั นำกำรของ
ภำษำพูดยงั สัมพนั ธ์กนั กบั สมองส่วนหนำ้ ซ่ึงเก่ียวขอ้ งกบั กำรใชค้ วำมคิดสร้ำงสรรคไ์ ดพ้ ฒั นำข้ึน ภำษำเป็ น
เคร่ืองมือสำคญั ในกำรถ่ำยทอดวฒั นธรรมและวถิ ีชีวติ นกั มำนุษยวทิ ยำพบวำ่ มนุษยน์ ีแอนเดอร์ธลั อำจเริ่มมี
กำรประกอบพธิ ีกรรม โดยเฉพำะพธิ ีฝังศพ ซ่ึงสะทอ้ นวำ่ เร่ิมมีจินตนำกำรเรื่องโลกหลงั ควำมตำม แต่ก็มีผู้
แยง้ หลกั ฐำนน้ีวำ่ ดอกไมท้ ี่พบในหลุมศพอำจเป็ นเกสรดอกไมป้ ่ ำท่ีปลิวมำได้

2.โฮโม เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์ หมำยถึงมนุษยผ์ ชู้ ำญฉลำดยง่ิ มีลกั ษณะทำงกำยวภิ ำคตำ่ งจำกมนุษยน์ ี
แอนเดอร์ธลั คือมีหนำ้ ผำกต้งั ข้ึน สันคิ้วเล็กลง ไมย่ ำวติดกนั ทำ้ ยทอยเรียบมนกลม มีฟันซี่เล็กลง กระดูก
บอบบำงและเดินตวั ตรงกวำ่ นีแอนเดอร์ธลั ในขณะท่ีนีแอนเดอร์ธลั เวลำเดินจะหลงั คอ่ มเล็กนอ้ ยและใบหนำ้
ยน่ื ไปขำ้ งหนำ้ โฮโม เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์ ในระยะเริ่มแรกจดั อยใู่ นยคุ หินเก่ำตอนปลำย ตวั แทนแรกๆ ของ
มนุษยใ์ นยคุ น้ีก็คือ มนุษย์ Klasie ขดุ พบในอำฟริกำ มนุษย์ Qafzeh และ Skuhl ขุดพบในอิสรำเอล มนุษยโ์ คร
มนั ยอง (Cro-Magnon) ขดุ พบคร้ังแรกท่ีแหล่งโครงมนั ยอง ในประเทศฝร่ังเศส มนุษยโ์ ครมนั ยองมีหนำ้ ผำก
ต้งั ใบหนำ้ ยำว มีควำมจุสมองประมำณเกือบ 1,400 ลูกบำศก์ เซนติเมตร ส่วนโฮโม เซเปี ยนส์ เซเปี ยนส์
ปัจจุบนั มีควำมจุสมองประมำณ 1,350 ลูกบำศก์ เซนติเมตร มีสมองส่วนหนำ้ ท่ีพฒั นำต้งั ตรงข้ึนมำกท่ีสุด จึง
น่ำจะเป็นปัจจยั สำคญั ท่ีสุดของกำรมีระบบภำษำท่ีสมบูรณ์ (full language) เตม็ ท่ีข้ึน และทำใหเ้ ผำ่ พนั ธุ์น้ี
ประสบควำมสำเร็จมำกกวำ่ สำยพนั ธุ์อื่นๆ ซำกโครงกระดูกของมนุษยโ์ ครมนั ยองพบเป็นคร้ังแรกที่แควน้
เวลลใ์ นประเทศองั กฤษ เมื่อ ค.ศ. 1823 และเม่ือ ค.ศ. 1868 ไดพ้ บซำกโครงกระดูกของมนุษยพ์ วกเดียวกนั น้ี
อีกในประเทศฝรั่งเศส พวกน้ีมีชีวติ อยเู่ ม่ือประมำณ 35,000 ปี มำแลว้ มีส่วนสูงต่ำกวำ่ 6 ฟุตเล็กนอ้ ย มีขนำด
มนั สมองใกลเ้ คียงกบั ชำวยโุ รปในปัจจุบนั พวกโครมนั ยองมีชีวติ อยใู่ นตอนปลำยสมยั หินเก่ำและเป็นมนุษย์
พวกแรกท่ีไดส้ ร้ำงงำนดำ้ นศิลปะคือรูปวำดตำมฝำผนงั ถ้ำ รูปแกะสลกั คนและสัตวท์ ี่ทำข้ึนอยำ่ งหยำบๆ

ลกั ษณะท่ีสำคญั ของมนุษยใ์ นปัจจุบนั พอสรุปไดด้ งั ต่อน้ี

1. ยนื ตวั ตรง และเคล่ือนท่ีดว้ ยสองขำ
2. ช่วงขำยำวกวำ่ แขน
3. หวั แมม่ ือ หวั แม่เทำ้ ส้นั โดยหวั แมม่ ือพบั งอเขำ้ หำอุง้ มือได้ อุง้ มือและนิ้วท้งั สี่งอได้
4. กระดูกสนั หลงั ต้งั ตรง โคง้ เป็ นรูปตวั เอส (S)
5. ร่ำงกำยไมค่ ่อยมีขน
6. สมองมีขนำดใหญเ่ ม่ือเปรียบเทียบกบั ขนำดร่ำงกำย
7. หนำ้ ส้ันและแบน หนำ้ ผำกคอ่ นขำ้ งต้งั ตรง
8. ขำกรรไกรส้นั และแนวฟันตำมเพดำนปำกโคง้ เกือบเป็นรูปคร่ึงวงกลม

16

ท่ีมำของภำพ https://www.google.com/search?q- โฮโมเซเปี ยนส์ และ นีแอนเดอร์ทลั

ลาดบั ลาดบั ช่วงเวลาทางประวตั ศิ าสตร์ ของโฮโมเซเปี ยนส์
Homo sapiens Time line of History

13,500 ลำ้ นปี ก่อนปัจจุบนั สสำรและพลงั งำนปรำกฏข้ึน ฟิ สิกส์เร่ิมตน้ ข้ึน อะตอมและโมเลกุล
ปรำกฏข้ึน เคมีเริ่มตน้ ข้ึน

ท่ีมำ: www.bbc.co.uk,
4,500 ลำ้ นปี ก่อนปัจจุบนั กำรก่อตวั ของดำวเครำะห์โลก

17

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= ระบบสุริยะจกั รรวำล
3,800 ลำ้ นปี ก่อนปัจจุบนั กำรเกิดข้ึนของส่ิงมีชีวติ ชีววทิ ยำเร่ิมตน้ ข้ึน

ท่ีมำของภำพ https://www.google.com/search? = กำรเกิดข้ึนของส่ิงมีชีวติ ชีววทิ ยำเร่ิมตน้ ข้ึน
6 ลำ้ นปี ก่อนปัจจุบนั บรรพบุรุษร่วมสุดทำ้ ยของมนุษยแ์ ละชิมแปนซีเกิดข้ึน

18

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search? = ววิ ฒั นำกำรสัตวโ์ ลก
2.5 ลำ้ นปี ก่อนปัจจุบนั ววิ ฒั นำกำรของสกุลโฮโมในแอฟริกำและเครื่องมือหินชิ้นแรก

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search? = ววิ ฒั นำกำรของสกลุ โฮโม
2 ลำ้ นปี ก่อนปัจจุบนั มนุษยแ์ พร่กระจำยจำกแอฟริกำสู่ยเู รเซีย และววิ ฒั นำกำรของมนุษยส์ ปี ชีส์

ตำ่ งๆ

19

ท่ีมำของภำพ https://www.google.com/search? = ววิ ฒั นำกำรของมนุษยส์ ปี ชีส์ตำ่ งๆ
500,00 ปี ก่อนปัจจุบนั นีแอนเดอร์ทลั (Neanderthals) ววิ ฒั นำกำรข้ึนในยโุ รป และตะวนั ออกกลำง
มนุษยโ์ บรำณ "นีแอนเดอร์ธลั ส์" ท่ีมำของภำพ: humanorigins.so.edu,

20

300,000 ปี ก่อนปัจจุบนั กำรรู้จกั ใชไ้ ฟในชีวติ ประจำวนั

โปสเตอร์ภำพยนตร์เร่ือง ด้นั ดน้ หำไฟ (Quest for fire) กำกบั กำรแสดงโดย Jean-Jacques Annaud เม่ือปี ค.ศ.
1981, ที่มำ: makeminecriterion.wordpress.com

200,000 ปี ก่อนปัจจุบนั โฮโมเซเปี ยนส์ (Homo sapiens) ววิ ฒั นำกำรข้ึนในแอฟริกำตะวนั ออก

21

ท่ีมำของภำพ https://www.google.com/search?q= โฮโมเซเปี ยนส์
70,000 ปี ก่อนปัจจุบนั กำรปฏิวตั ิกำรรับรู้ กำรเกิดข้ึนของภำษำ เร่ิมตน้ ประวตั ิศำสตร์ เซเปี ยนส์ข

ยำยถ่ินฐำนออกจำกแอฟริกำ

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= โฮโมเซเปี ยนส์

22
45,000 ปี ก่อนปัจจุบนั เซเปี ยนส์ต้งั ถิ่นฐำนในออสเตรเลีย กำรสูญพนั ธุ์ของสตั วข์ นำดใหญใ่ น
ออสเตรเลีย

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= โฮโมเซเปี ยนส์
30,000 ปี ก่อนปัจจุบนั นีแอนเดอร์ทลั สูญพนั ธุ์

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= นีแอนเดอร์ทลั ฮ

23
16,000 ปี ก่อนปัจจุบนั เซเปี ยนส์ต้งั ถ่ินฐำนในอเมริกำ กำรสูญพนั ธุ์ของสตั วข์ นำดใหญ่ในอเมริกำ

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= ทวปี อเมริกำ

24
13,000 ปี ก่อนปัจจุบนั กำรสูญพนั ธุ์ของโฮโมฟลอเรไซเอนซิส (Homo floresiensis) โฮโมเซเปี ยนส์
เป็นเพยี งมนุษยส์ ปี ชีส์เดียวท่ีรอดมำได้

โฮโมฟลอเรไซเอนซิส (Homo floresiensis)

โฮโมเซเปี ยนส์เป็ นเพียงมนุษยส์ ปี ชีส์เดียวที่รอดมำได้
ท่ีมำของภำพ https://www.google.com/search?q= โฮโมเซเปี ยนส์

25
12,000 ปี ก่อนปัจจุบนั กำรปฏิวตั ิเกษตรกรรม รู้จกั กำรเพำะปลูกและเล้ียงสัตว์ มีกำรต้งั ถิ่นฐำนถำวร

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= โฮโมเซเปี ยนส์ กำรปฏิวตั ิเกษตรกรรม

26
5,000 ปี ก่อนปัจจุบนั เกิดอำณำจกั รแรก กำรจำรึก และเงินตรำ ศำสนำท่ีนบั ถือเทพเจำ้ หลำยองค์

ท่ีมำของภำพ https://www.google.com/search?q= เทพเจำ้
4,250 ปี ก่อนปัจจุบนั จกั รวรรดิแรกคือ จกั รวรรดิอคั คำเดียนของพระเจำ้ ซำร์กอน

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= จกั รวรรดิอคั คำเดียน

27
2,500 ปี ก่อนปัจจุบนั กำรประดิษฐเ์ หรียญ – ระบบเงินตรำสำกล ,จกั รวรรดิเปอร์เซีย – ระเบียบแบบ
แผนกำรเมืองสำกล “เพ่อื ประโยชนส์ ุขแห่งมวลมนุษยชำติ” ,พทุ ธศำสนำในอินเดีย - ควำมจริงสำกล “เพือ่
ปลดปล่อยสิ่งมีชีวติ จำกควำมทุกข”์

จกั รวรรดิเปอร์เซีย

กำเนิดพทุ ธศำสนำในอินเดีย

28
ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= จกั รวรรดิเปอร์เซีย และพทุ ธศำสนำ

2,000 ปี ก่อนปัจจุบนั จกั รวรรดิฮน่ั ในประเทศจีน ,จกั รวรรดิโรมนั ในเมดิเตอร์เรเนียน ,ศำสนำคริส

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= จกั รวรรดิฮนั่ ในประเทศจีน
1,400 ปี ก่อนปัจจุบนั ศำสนำอิสลำม

29
ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= ศำสนำอิสลำม

500 ปี ก่อนปัจจุบนั กำรปฏิวตั ิวทิ ยำศำสตร์ มนุษยชำติยอมรับในควำมไมร่ ู้และเริ่มไดอ้ ำนำจท่ีไม่
คำดคิดมำก่อน ชำวยโุ รปพิชิตอเมริกำและหว้ งมหำสมุทร โลกท้งั หมดกลำยเป็นผนื ประวตั ิศำสตร์เดียว กำร
เกิดข้ึนของระบบทุนนิยม

กำรปฏิวตั ิวทิ ยำศำสตร์ มนุษยชำติยอมรับในควำมไม่รู้และเร่ิมไดอ้ ำนำจท่ีไมค่ ำดคิดมำก่อน

ชำวยโุ รปพิชิตอเมริกำและหว้ งมหำสมุทร โลกท้งั หมดกลำยเป็นผนื ประวตั ิศำสตร์เดียว

กำรเกิดข้ึนของระบบทุนนิยม
ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= ระบบทุนนิยม

30
200 ปี ก่อนปัจจุบนั กำรปฏิวตั ิอุตสำหกรรม ครอบครัวและชุมชนถูกแทนท่ีดว้ ยรัฐชำติและตลำด
กำรสูญพนั ธุ์ขนำนใหญข่ องพชื และสตั วต์ ำ่ งๆ

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= กำรปฏิวตั ิอุตสำหกรรม

31
ปัจจุบนั มนุษยไ์ ปไดไ้ กลเกินกวำ่ เขตแดนของดำวเครำะห์โลก อำวธุ นิวเคลียร์คุกคำมกำรอยรู่ อด
ของมนุษยชำติ ส่ิงมีชีวติ มีรูปแบบท่ีเพม่ิ ข้ึนดว้ ยกำรออกแบบท่ีชำญฉลำดแทนที่จะเป็นกำรคดั สรรโดย
ธรรมชำติ

ท่ีมำของภำพ https://www.google.com/search?q= ยำนอวกำศ

32
อนำคต กำรออกแบบที่ชำญฉลำดกลำยเป็นหลกั กำรพ้ืนฐำนของชีวติ ? โฮโมเซเปี ยนส์ถูกแทนที่
ดว้ ย อภิมนุษย์ ?

ที่มำของภำพ https://www.google.com/search?q= ไอร่อนแมน

33

เผ่าพนั ธ์ุของมนุษย์ในปัจจุบัน
ปัจจุบนั นกั มำนุษยวทิ ยำไดแ้ บ่งเผำ่ พนั ธุ์ของมนุษยอ์ อกเป็ น 4 เผำ่ (แบ่งตำมลกั ษณะของเส้นผม)
ดงั น้ี

ชนพวกนีกรอยด์ หรือนิโกร มีผมหยกิ ขอดผวิ ดำ จมูกกวำ้ งและแฟบ ริมฝีปำกหนำ สวนมำกมี
กะโหลกศีรษะแคบ พบมำกในทวปี แอฟริกำ ตอนใตข้ องทะเลทรำยซะฮำรำ มำเลเชีย และแถบหมู่เกำะเมลำ-

นิเซียในมหำสมุทรแปซิฟิ ก

ชนพวกคอเคซอยด์ หรือยโุ รป มีผมหยกิ สลวย ผวิ ขำวหรือน้ำตำลอ่อน จมูกโด่ง หนวดเครำดก ขน
รุ่งรังทว่ั ตวั ขนำดกะโหลกศีรษะไม่แน่นอน ส่วนใหญ่พบในทวปี ยโุ รป ประเทศแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
เอเชียไมเนอร์และอินเดีย ชนเผำ่ น้ีไดอ้ พยพไปอยทู่ วปี อเมริกำเหนือซ่ึงกลำยเป็นประเทศสหรัฐอเมริกำและ

34

แคนำดำในปัจจุบนั

ชนพวกมองโกลอยด์ หรือมองโกล มีผมเหยยี ดตรง ผวิ เหลือง หนวดเครำและขนตำมร่ำงกำยนอ้ ย
จมูกแฟบ โหนกแกม้ สูงตำช้นั เดียว กะโหลกศีรษะค่อนขำ้ งกวำ้ ง พบมำกในทวปี เอเชียและประเทศ

มองโกเลีย

ชนพวกออสเตรลอยด์ หรือพวกออสเตรเลียและหมู่เกำะใกลเ้ คียง มีผมหยกิ หยกั ศกคลำ้ ยพวก
คอเคซอยด์ จมูกกวำ้ งคลำ้ ยพวกนีกรอยด์ ผวิ ดำ ขนและเครำดำ ไดแ้ ก่ ชนกลุ่มนอ้ ยซ่ึงเป็นพวกฟ้ื นเมืองขอ
งอสสเตรเลีย คือ พวกอะบอริจินส์ (Aborigines) นกั มำนุษยวทิ ยำไม่สำมำรถระบุไดว้ ำ่ มนุษยเ์ ผำ่ พนั ธุ์ใดมี
ววิ ฒั นำกำรเหนือกวำ่ กนั แต่ไมว่ ำ่ จะเป็นเผำ่ พนั ธุ์ใดกจ็ ดั อยใู่ นสปี ชีส์เดีวกนั ท้งั สิ้น เพรำะสำมำรถผสมขำ้ ม

35

เผำ่ พนั ธุ์และสืบพนั ธุ์ต่อไปได้

36

อ้างองิ

ยวู ลั โนอำห์ แฮรำรี่. (2557) เซเปี ยนส์ ประวตั ิยอ่ มนุษยชำติ . ดร.นำชยั ชีวววิ รรธน์ (2561. แปล)
https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-1/human/06.html คน้ หำเมื่อ 11 ตุลำคม 2565
http://huexonline.com/knowledge/30/227/ คน้ หำเมื่อ 11 ตุลำคม 2565
https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=33&chap=4&page=t33-4-
infodetail16.html คน้ หำเม่ือ 11 ตุลำม 2565
www.britannica.com คน้ หำเมื่อ 11 ตุลำคม 2565
https://www.google.com/search?q= โฮโมเซเปี ยนส์ คน้ หำเมื่อ 11 ตุลำคม 2565
https://www.se-ed.com/product/Sapiens-A-Brief-History-ofHumankind.aspx?no=9786163016560

37

ครุศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขาสังคมศึกษา
คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสุรินทร์


Click to View FlipBook Version