The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chainarong.center, 2022-05-04 00:42:40

งานวิจัย คณิตศาสตร์

เรื่อง อัตราส่วน

51

แผนภาพ 2 ความพงึ พอใจนาไปสู่ผลการปฏิบตั งิ านทมี่ ีประสิทธิภาพ

จากแนวคดิ ดงั กล่าว ครูผสู้ อนทต่ี อ้ งการใหก้ ิจกรรมการเรียนรู้ทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็น ศูนยก์ ลาง
บรรลุผลสาเร็จ จงึ ตอ้ งคานึงถึงการจดั บรรยากาศ และสถานการณ์รวมท้งั สื่ออุปกรณ์ การเรียนการ
สอนท่ีเอ้ือต่อการเรียน เพอ่ื ตอบสนองความพงึ พอใจของผเู้ รียน ใหม้ ีแรงจูงใจใน การทากิจกรรมจน
บรรลุตามวตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร

2. ผลของการปฏิบตั ิงานนาไปสู่ความพงึ พอใจ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความพงึ พอใจ และ
ผลการปฏบิ ตั งิ านจะถูกเชื่อมโยงดว้ ยปัจจยั อื่น ๆ ผลการปฏิบตั ิงานทดี่ ีจะนาไปสู่ผลตอบแทนท่ี
เหมาะสม ซ่ึงในท่สี ุดจะนาไปสู่การตอบสนองความพงึ พอใจ ผลการปฏิบตั ิงานยอ่ มไดร้ ับการ
ตอบสนองในรูปของรางวลั หรือผลตอบแทนซ่ึงแบง่ ออกเป็ นผลตอบแทนภายใน (Intrinsic Rewards)
และผลตอบแทนภายนอก (Extrinsic Rewards) โดยผา่ นการรบั รูเ้ กี่ยวกบั ความยตุ ิธรรมของผลตอบแทน
ซ่ึงเป็นตวั บ่งช้ีปริมาณของผลตอบแทนทผี่ ปู้ ฏิบตั ไิ ดร้ บั นน่ั คอื ความพงึ พอใจในงานของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน
จะถูกกาหนดโดยความแตกต่างระหวา่ งผลตอบแทนทเี่ กิดข้ึนจริง และการรบั รูเ้ กี่ยวกบั ความยตุ ิธรรม
ของผลตอบแทนทีร่ ับรูแ้ ลว้ ความพงึ พอใจยอ่ มเกิดข้ึน (สมยศ นาวกี าร 2521 : 119)

จากแนวคดิ พน้ื ฐานดงั กล่าว เมื่อนาไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนผลตอบแทน
ภายในหรือรางวลั ภายใน เป็นผลดา้ นความรู้สึกของผเู้ รียนทเี่ กิดแก่ตวั ผเู้ รียนเอง เช่นความรู้สึกตอ่
ความสาเร็จทเ่ี กิดข้ึนเมื่อสามารถเอาชนะความยงุ่ ยากตา่ ง ๆ และสามารถดาเนินงานภายใตค้ วามยงุ่ ยาก
ท้งั หลายไดส้ าเร็จ ทาให้เกิดความภาคภมู ิใจ ความมนั่ ใจ ตลอดจนไดร้ บั การยกยอ่ งจากบุคคลอน่ื ส่วน
ผลตอบแทนภายนอก เป็นรางวลั ที่ผอู้ ่ืนจดั หาใหม้ ากกวา่ ท่ีตนเองใหต้ นเองเช่น การไดร้ ับคายกยอ่ ง
ชมเชยจากครูผสู้ อน พอ่ แม่ ผปู้ กครอง หรือแมแ้ ตก่ ารไดค้ ะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในระดบั ทนี่ ่า
พอใจ

สรุปไดว้ า่ ความพงึ พอใจในการเรียนและผลการเรียนจะมีความสมั พนั ธก์ นั ในทางบวก
ท้งั น้ีข้นึ อยกู่ บั วา่ กิจกรรมที่ผเู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิน้นั ทาใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการตอบสนองความตอ้ งการท้งั
ทางดา้ นร่างกายและจติ ใจ ซ่ึงเป็นส่วนสาคญั ท่ีจะทาใหเ้ กิดความสมบูรณ์ของชีวติ มากนอ้ ยเพยี งใดนน่ั

52

คอื สิ่งทคี่ รูผสู้ อนตอ้ งคานึงถึงองคป์ ระกอบต่าง ๆ ในการเสริมสรา้ งความพงึ พอใจในการเรียนรู้ใหก้ บั
ผเู้ รียน

งานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วข้อง

งานวิจัยในประเทศ
วชิรนุช สินธุชยั (2541: บทคดั ยอ่ ) ไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ อิสระ เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริม
ทกั ษะการคดิ เลขเร็ว เรื่อง การคูณ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ พบวา่ แบบฝึกเสริม
ทกั ษะการคิดเลขเร็ว ท่ีผศู้ กึ ษาคน้ ควา้ สรา้ งข้นึ มีประสิทธิภาพ 92.85/86.16 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑ์ ท่ีต้งั ไวแ้ ละ
คะแนนทกั ษะการคดิ เลขเร็วหลงั ฝึกดว้ ยแบบฝึกสูงกวา่ คะแนนก่อนฝึกดว้ ยแบบฝึกเสริมทกั ษะคิดเลข
เร็ว เรื่อง การคูณ อยา่ งมีนยั สาคญั ทรี่ ะดบั 0.01
จรีพร สามารถ (2543 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เร่ือง การพฒั นาความสามารถในการ
แกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ โดยใชช้ ุดการฝึก สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษา
ปี ท่ี 5 พบวา่ ผลการทดสอบหลงั ใชช้ ุดการฝึกมีค่าเฉลี่ยสูงกวา่ ผลการทดสอบก่อนใชช้ ุดการฝึก ซ่ึงมี
ความแตกต่างของคา่ เฉลี่ยก่อนฝึกอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .01 ชุดการฝึกมีประสิทธิภาพ
โดยรวมเท่ากบั 82.83/80.58 แสดงวา่ ชุดการฝึ กที่สร้างมีประสิทธิภาพในการพฒั นาความสามารถการ
แกป้ ัญหาโจทยค์ ณิตศาสตร์ไดเ้ พมิ่ ข้ึน
วหิ าญ พละพร (2545 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เร่ือง การพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะวชิ า
คณิตศาสตร์ เร่ือง โจทยป์ ัญหาการคูณการหาร สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 4
ผลการศกึ ษา พบวา่
1. ชุดฝึกเสริมทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทยป์ ัญหาการคูณการหาร สาหรับนกั เรียน
ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 ทผ่ี วู้ จิ ยั สรา้ งข้นึ มีประสิทธิภาพเทา่ กบั 82.47/76.77 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑ์ 75/75 ทตี่ ้งั
ไว้
2. หลงั จากใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะแลว้ นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 4 มีผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรียน วชิ าคณิตศาสตร์ เร่ือง โจทยป์ ัญหาการคูณการหาร สูงกวา่ ก่อนการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะอยา่ งมี
นยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดบั .01
สุเทวี แกว้ นิมิตดี (2547 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 ผลการศึกษา พบวา่

53

1. แบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 4 มีประสิทธิภาพ 79.13/76.00 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน
ท่ีต้งั ไว้

2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วชิ าคณิตศาสตร์ เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .01

อาจารีย์ สฤษด์ิไพศาล (2547 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา การพฒั นาแบบฝึกทกั ษะวชิ า
คณิตศาสตร์ เร่ือง การบวก การลบ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ผลการศึกษาพบวา่

1. แบบฝึกทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกการลบ สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถม ศึกษา
ปี ที่ 3 ทผ่ี วู้ จิ ยั ไดส้ รา้ งข้ึนมีประสิทธิภาพ เท่ากบั 81.29/78.76

2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก การลบ สาหรับนกั เรียนช้นั
ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 ท่ไี ดร้ บั การสอนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมี
นยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01

จกั รพงษ์ ทองสิงห์ (2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง การบวกและการลบจานวนเตม็ สาหรบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ผลการวจิ ยั พบวา่

1. แบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง
การบวกและการลบจานวนเตม็ สาหรบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ทผ่ี วู้ จิ ยั สร้างข้นึ จานวน 12 ชุด มี
ประสิทธิภาพ เท่ากบั 84.44/81.11 ซ่ึงไดม้ าตรฐานตามเกณฑท์ ี่กาหนดไว้

2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสาระการเรียนรูข้ องนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ทไ่ี ดร้ บั การ
สอนโดยใชช้ ุดฝึกทกั ษะหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01

ธนพร สาลี (2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เร่ือง การพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะ กลุ่ม
สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ เรื่อง โจทยป์ ัญหาอตั ราส่วนและร้อยละ สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี
ที่ 2 ผลการศกึ ษาพบวา่

1. ชุดฝึกเสริมทกั ษะกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ เร่ืองโจทยป์ ัญหาอตั ราส่วนและรอ้ ย
ละ สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ท่ผี วู้ จิ ยั ไดส้ ร้างข้นึ ประกอบดว้ ยคาช้ีแจง วตั ถุประสงค์ เน้ือหา
สาระ และแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ มีประสิทธิภาพเท่ากบั 84.13/79.19 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน
75/75 ทตี่ ้งั ไว้

2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ เร่ืองโจทยป์ ัญหาอตั ราส่วน
และรอ้ ยละ สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 ท่ีไดร้ ับการสอนโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะหลงั เรียนสูง
กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01

54

นฤชล ศรีมหาพรหม (2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง การแกโ้ จทยป์ ัญหาสมการ สาหรบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 โรงเรียนนางรอง
อาเภอนางรอง จงั หวดั บุรีรัมย์ ผลการวิจยั พบวา่

1. แบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง การแกโ้ จทยป์ ัญหาสมการ สาหรับ
ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 ทผี่ วู้ จิ ยั สร้างข้ึน มีประสิทธิภาพ เท่ากบั 86.00/84.95

2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การแกโ้ จทยป์ ัญหาสมการ หลงั เรียนโดยใชแ้ บบฝึก
ทกั ษะ สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .01

ประนอม ประทมุ แสง (2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เร่ือง การพฒั นาแผนการจดั
กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบกลุ่มร่วมมือ Learning Together โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ย
ละ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ผลการศกึ ษา พบวา่

1. แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ Learning Together โดยใชแ้ บบฝึก
ทกั ษะ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 มีประสิทธิภาพ
เทา่ กบั 84.30/77.30 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ต่ี ้งั ไว้

2. คา่ ดชั นีประสิทธิผล ของแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ Learning
Together โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ช้นั
มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 มีคา่ เท่ากบั 0.6379 หรือคดิ เป็ นร้อยละ 63.79

3. นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 มีความพงึ พอใจต่อการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม
ร่วมมือ Learning Together โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ โดยรวมและเป็ นรายขอ้
อยใู่ นระดบั มาก

วรี พงษ์ มุลทา และปนดั ดา แกว้ เสทอื น (2550 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เร่ือง การ
พฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ผลการศกึ ษา พบว่า

1. แบบฝึกเสริมทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
เรื่อง เศษส่วน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ทผี่ ศู้ ึกษาคน้ ควา้ ไดส้ รา้ งข้นึ มีประสิทธิภาพ เท่ากบั 78.44/76.43
ซ่ึงไดม้ าตรฐานตามเกณฑท์ ีต่ ้งั ไว้

2. ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนการจดั การเรียนการ
สอน โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ท่ีผศู้ กึ ษาคน้ ควา้ ได้
สร้างข้นึ ไดค้ ะแนนหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .01

3. ความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มีตอ่ การเรียน โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์เรื่อง
เศษส่วน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 มีความพอใจระดบั มาก

55

ศริ ประภา พาหลง (2550 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เร่ือง การพฒั นาแผนการจดั การ
เรียนรู้โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ความรูเ้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั จานวนจริง ช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ท่ี 2 ผลการศึกษา พบวา่

1. แผนการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง ความรูเ้ บ้ืองตน้
เกี่ยวกบั จานวนจริง ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 มีประสิทธิภาพ เท่ากบั 78.44/76.46 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ี่กาหนด
ไว้

2. คะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วชิ า คณิตศาสตร์ เรื่อง ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั จานวน
จริง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .01

3. ความพงึ พอใจของนกั เรียนทีม่ ีตอ่ การเรียนดว้ ยแผนการจดั การเรียนรู้โดยใชแ้ บบฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั จานวนจริง ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 มีคา่ เฉล่ีย
เทา่ กบั 3.87 ซ่ึงเห็นวา่ มีความพอใจระดบั มาก

กีรติ สายสิงห์ (2551 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เรื่อง การพฒั นาชุดฝึกทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง เลขยกกาลงั สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ผลการศึกษา พบวา่

1. ชุดฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลงั สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ที่
ผวู้ จิ ยั สร้างข้นึ มีประสิทธิภาพ เทา่ กบั 85.63/80.27 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 75/75 ท่ีต้งั ไว้

2. คะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลงั สาหรบั นกั เรียนช้นั
มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ทไ่ี ดร้ ับการสอนโดยใชช้ ุดฝึกหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ี่
ระดบั .01

มาลินี อุ่นสี (2552 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เรื่อง การพฒั นาชุดฝึกทกั ษะกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง บทประยกุ ต์ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 5 ผลการศกึ ษา พบวา่

1. ชุดฝึกทกั ษะกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ เร่ือง บทประยกุ ต์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 5
มีประสิทธิภาพ เท่ากบั 85.16/83.33 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 75/75 ทตี่ ้งั ไว้

2. หลงั จากการใชช้ ุดฝึกทกั ษะกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ือง บทประยกุ ต์ ช้นั
ประถมศกึ ษาปี ท่ี 5 มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงกวา่ ก่อนใชช้ ุดฝึกทกั ษะกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั .01

งานวจิ ยั ต่างประเทศ
Advision (1975 : 102 – A) ไดศ้ กึ ษาผลของการฝึกท่ีมีต่อความสามารถในการบวกเลข ถา้
เด็กไดร้ ับการฝึกตวั เลขคูบ่ วกตา่ ง ๆ จนครบทกุ ตวั จะมีผลต่อการบวก ลบเลข โดยใชน้ กั เรียนช้นั
ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา จานวน 1,007 คน ต้งั แต่ระดบั เกรด 1–9 แบง่ เป็ น 2 กลุ่มคอื กลุ่มควบคุม

56

และกลมุ่ ทดลอง เดก็ ทุกคนไดร้ ับการทดลอง 3 คร้งั โดยแบบทดสอบบวกเลขอยา่ งงา่ ย 100 ขอ้ และการ

ลบอีก 100 ขอ้ ผลการวจิ ยั พบวา่

1. เดก็ นกั เรียนระดบั เกรด 1 ยงั ไม่ไดร้ ับประโยชนจ์ ากการฝึกคร้ังน้ี

2. เด็กนกั เรียนระดบั เกรด 2 เร่ิมมีความเขา้ ใจและไดร้ ับประโยชน์จากการฝึกคร้งั น้ี

Clarkson (1979 : 4101-A) ไดศ้ กึ ษา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทกั ษะการแปลความหมายใน

วชิ าคณิตศาสตร์ กบั ความหมายในการแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ และศึกษาดูวา่ นกั เรียนจะใชก้ าร

แปลความหมายในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์หรือไม่ ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ทีเ่ รียนพชี คณิต

จานวน 5 หอ้ งเรียน นามาทดสอบความสามารถในการแปลความหมาย 3 ฉบบั คอื ลกั ษณะทเี่ ป็น

ภาษาไทย ลกั ษณะท่ีเป็นสญั ลกั ษณ์ และลกั ษณะที่เป็นรูปภาพ แลว้ นาคะแนนไปหาความสมั พนั ธก์ บั

คะแนนความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหา แตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ นอกจากน้ียงั พบวา่

ทกั ษะการแปลความหมายเป็นองคป์ ระกอบหน่ึงของความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์

Hall and Dudly William. (1979 : 6325–A) ไดศ้ ึกษา ผลการสอนวเิ คราะหก์ ารแกป้ ัญหา

คณิตศาสตร์ และความสามารถในการวเิ คราะห์ ตวั อยา่ งประชากรเป็ นนกั เรียน

ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 5 จานวน 60 คน ซ่ึงแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคุม กลุม่ ละ 30 คน โดยแต่

ละกลุม่ ประกอบดว้ ยนกั เรียนท่คี าดคะเนเก่งและไม่เก่ง กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองไดเ้ รียนเก่ียวกบั การ

วเิ คราะหเ์ ป็นเวลาเรียน 8.5 ชว่ั โมง แลว้ ทาการทดสอบการวเิ คราะหแ์ ละการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์

พบวา่

1. นกั เรียนทมี่ ีความสามารถในการวเิ คราะหส์ ูง มีความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหา

คณิตศาสตร์สูงกวา่ นกั เรียนท่ีมีความสามารถในการวเิ คราะห์ต่า

2. นกั เรียนทีเ่ รียนการวเิ คราะห์ มีความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์สูงกวา่

นกั เรียนทไ่ี ม่ไดเ้ รียนการวเิ คราะห์

Chukwu (1987 : 2492 – A) ไดศ้ กึ ษาเกี่ยวกบั ผลการสอนโจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ ได้

สรุปวา่ การสอนโจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ท่ีไดผ้ ลจะตอ้ งมีการฝึกใหน้ กั เรียนสามารถวเิ คราะห์โจทย์

เสียก่อน และผลจากการพฒั นาความสามารถในการวเิ คราะหโ์ จทยป์ ัญหาน้ีเอง จะช่วยใหน้ กั เรียนมี

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนโจทยป์ ัญหาสูงข้ึน

Siemens (1986 : 2956–A) ไดศ้ ึกษาผลของการทาแบบฝึกหดั วชิ าเรขาคณิตทมี่ ีตอ่ การทา

แบบฝึกหดั ในเวลาเรียนกบั นอกเวลาเรียน โดยศึกษาจากนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 4

หอ้ งเรียน ในรฐั อิลินอย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี 1985 โดยแบ่งเป็ น 2 หอ้ งเรียนใหท้ าแบบฝึกหดั

เรขาคณิตนอกเวลาเรียนและกลุ่มควบคุม 2 หอ้ งเรียน ทาแบบฝึกหดั เรขาคณิตในเวลาทาการทดลอง 9

เดือน ผลการทดลองพบวา่ ท้งั กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคมุ มีผลสมั ฤทธ์ิทาง การเรียนไม่แตกต่าง

57

Morton (1988 : 455–458) ไดศ้ กึ ษาถึง ส่ิงทมี่ ีอิทธิพลตอ่ ความสาเร็จในการแกโ้ จทยป์ ัญหา

โดยมีองคป์ ระกอบทน่ี ามาศึกษาไดแ้ ก่ ทกั ษะในการบวก ลบ คูณ หาร ผลปรากฏวา่ ทกั ษะ การบวก ลบ

คูณ หาร มีความสาคญั กบั ผลสาเร็จในการแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์

จากการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวขอ้ งดงั ไดเ้ สนอมาขา้ งตน้ พอสรุปไดว้ า่ ชุดฝึก

เสริมทกั ษะ เป็นเคร่ืองมือทีช่ ่วยพฒั นาศกั ยภาพของนกั เรียน ทาใหน้ กั เรียนเรียนรู้ไดร้ วดเร็วส่งเสริม

ความสามารถในการเรียนรู้ของนกั เรียนใหม้ ีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้นึ และชุดฝึกเสริมทกั ษะยงั ช่วยให้

การเรียนน่าสนใจ เพลิดเพลินสนุกสนาน จึงเป็ นส่ิงเร้าใหน้ กั เรียนสนใจการเรียนเป็นการสรา้ งเสริมเจต

คตทิ ่ีดี นกั เรียนพงึ พอใจตอ่ การเรียนคณิตศาสตร์ ทาใหน้ กั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้นึ

สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ คอื เปิ ดโอกาสใหเ้ ยาวชนทุกคนไดเ้ รียนรู้

คณิตศาสตร์อยา่ งตอ่ เนื่อง ตามศกั ยภาพ คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคญั ยงิ่ ตอ่ การพฒั นาความคดิ มนุษย์ ทา

ใหม้ นุษยม์ ีความคิดสร้างสรรค์ คดิ อยา่ งมีเหตผุ ล เป็ นระบบมีแบบแผน สามารถวเิ คราะห์ปัญหาหรือ

สถานการณ์ไดอ้ ยา่ งถี่ถว้ น รอบคอบ ช่วยใหค้ าดการณ์ วางแผนตดั สินใจ แกป้ ัญหาและนาไปใชใ้ น

ชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม สมควรทีผ่ รู้ ายงานจะนาเอาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์มาใช้

สาหรบั การจดั การเรียนการสอน วชิ าคณิตศาสตร์

ค22101 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 เพอื่ ใหน้ กั เรียนไดศ้ กึ ษาและฝึกทกั ษะอยา่ งสม่าเสมอและตอ่ เน่ือง

บทที่ 3

วธิ ีดาเนินการศึกษาทดลอง

58

การดาเนินการศกึ ษาทดลองใช้ ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ
ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนวดั บางกะพอ้ ม สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสมุทรสาครใน
คร้งั น้ี ผรู้ ายงานไดด้ าเนินการตามข้นั ตอนสาคญั ดงั น้ี

1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
2. เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล
3. การสรา้ งและพฒั นาหาคุณภาพเครื่องมือ
4. แบบแผนทีใ่ ชใ้ นการทดลอง
5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
6. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
7. สถิติทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง

ประชากร ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ในคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ นกั เรียนระดบั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ทกี่ าลงั เรียนใน
ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนวดั บางกะพอ้ ม จานวน 1 หอ้ งเรียน 12 คน

เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการรวบรวมข้อมูล

1. ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ จานวน 8 ชุด และมีคู่มือ
ประกอบการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์

2. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 1 ท่ีผรู้ ายงานสรา้ งข้นึ
เป็นแบบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 40 ขอ้

3. แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มีต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชช้ ุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 1

การสร้างและพฒั นาหาคณุ ภาพเครื่องมือ

1. ชุดฝึ กเสริมทกั ษะคณติ ศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี
ที่ 1 จานวน 8 ชุด ผูร้ ายงานไดด้ าเนินการตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ี

59

1.1 ศกึ ษาหลกั สูตร เอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั หลกั สูตรและกาหนดการจดั การเรียนรู้ วชิ า
คณิตศาสตร์พ้นื ฐาน แบบเรียนวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 เพอ่ื ให้
ทราบแนวทางในการสรา้ งแผนการจดั การเรียนรู้

1.2 ศึกษาทฤษฎีและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวกบั การสรา้ งและพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะ เพอ่ื ใชเ้ ป็ น
แนวทางในการสร้างชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์

1.3 วเิ คราะหห์ ลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 พทุ ธศกั ราช 2556 เก่ียวกบั สาระการ
เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สมถรรถนะรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ วชิ าคณิตศาสตร์
พ้นื ฐาน เพอื่ นาไปเป็นกรอบในการทาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 1

1.4 กาหนดสาระทจี่ ะนาไปออกแบบและจดั ทาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง
อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 1 โดยจดั ทาท้งั หมด 8 ชุด ดงั น้ี

1.4.1 ชุดฝึกท่ี 1 อตั ราส่วน
1.4.2 ชุดฝึกที่ 2 อตั ราส่วนทีเ่ ทา่ กนั
1.4.3 ชุดฝึกที่ 3 อตั ราส่วนของจานวนหลาย ๆ จานวน
1.4.4 ชุดฝึกท่ี 4 สดั ส่วน
1.4.5 ชุดฝึกท่ี 5 การแกโ้ จทยป์ ัญหาโดยใชส้ ดั ส่วน
1.4.6 ชุดฝึกท่ี 6 ร้อยละ
1.4.7 ชุดฝึกท่ี 7 การคานวณเกี่ยวกบั ร้อยละ
1.4.8 ชุดฝึกที่ 8 การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกบั รอ้ ยละ
1.5 สรา้ งแบบฝึกหดั ในชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั
เรียนของชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์แตล่ ะชุด โดยใหส้ มั พนั ธก์ บั เน้ือหา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ใน
แตล่ ะชุดและเขียนคาช้ีแจงการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
1.6 จดั ทาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่องอตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั ประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพ ปี ที่ 1 ท้งั 8 ชุด
1.7 นาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพ ปี ท่ี 1 ทีส่ รา้ งข้ึนเสนอต่อผเู้ ชี่ยวชาญจานวน 5 ทา่ น เพอ่ื ตรวจสอบ ความเท่ียงตรงของโครงสรา้ ง
และเน้ือหา เพอื่ นามาปรบั ปรุงแกไ้ ขอีกคร้งั หน่ึงหากมีขอ้ บกพร่อง ผเู้ ชี่ยวชาญประกอบดว้ ย
1.7.1 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วรี ะยทุ ธ ชาตะกาญจน์ หวั หนา้ ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นสถิตใิ นการวจิ ยั

60

1.7.2 นายบุญฤทธ์ิ สมเขาใหญ่ รองผอู้ านวยการชานาญการพเิ ศษโรงเรียนสิชลคุณา
ธารวทิ ยา ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นหลกั สูตร

1.7.3 นางสาวสุพรรณี จิตตต์ ้งั ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการ สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา
ประถมศกึ ษา นครศรีธรรมราช เขต 4 ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นวดั ผลและประเมินผล

1.7.4 นางสาวถนอมศรี สุขศิริ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนพรหมครี ีพทิ ยาคม
ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นคณิตศาสตร์

1.7.5 นายโชติ พรหมเชก็ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนวดั เขานอ้ ย ผเู้ ช่ียวชาญดา้ น
ภาษาไทย

1.8 นาขอ้ เสนอแนะจากผเู้ ชี่ยวชาญ เพอ่ื ปรับปรุงชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง
อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 1

1.9 ปรบั ปรุงแกไ้ ขชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ
ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 แลว้ นาไปจดั พมิ พเ์ ป็นรูปเล่ม เป็ นเครื่องมือท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวม
ขอ้ มูลตอ่ ไป

1.10 นาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพ ปี ที่ 1 ที่ปรับปรุงแกไ้ ขแลว้ ไปทดลองใชก้ บั นกั เรียนในการทดสอบแบบเด่ียว (1:1) นกั เรียนช้นั
มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 ท่กี าลงั เรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2553 โรงเรียนสิชลคุณาธารวทิ ยา ที่ไม่ใช่
กลุ่มตวั อยา่ งจานวน 3 คนโดยการสุ่ม อยา่ งงา่ ย คือ นกั เรียนเก่ง 1 คน ปานกลาง 1 คน และอ่อน 1
คน แลว้ นาคะแนนมาคานวณหาประสิทธิภาพ และหาขอ้ บกพร่องท้งั ในดา้ น ความชดั เจนของคาช้ีแจง
วธิ ีการในการทาชุดฝึกเสริมทกั ษะ ภาษา ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการฝึก ซ่ึงไดค้ ่าประสิทธิภาพของชุดฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ (E1/E2) เทา่ กบั 64.33/61.25 ปัญหาท่ีเกิดข้ึน คอื ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
มีการพมิ พผ์ ดิ การใชภ้ าษาไม่ชดั เจนและเวลาไม่เหมาะสม แบบฝึกหดั มากใส่สีมากตวั การ์ตนู ไม่
เหมาะสมผรู้ ายงานจึงไดน้ าชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์มาปรับปรุงแกไ้ ขตามขอ้ มูลทีไ่ ดม้ า

1.11 นาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2ที่

ปรบั ปรุงแกไ้ ขแลว้ ไปทดลองใชก้ บั นกั เรียนในการทดสอบแบบกลุ่ม(1:10)กบั นกั เรียนระดบั

ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 ทีก่ าลงั เรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 25601 วยิ าลยั สารพดั ช่างสระบุรี

จานวน 6 คน ทไ่ี ม่ใช่กลุ่มตวั อยา่ ง โดยการสุ่มอยา่ งง่าย คอื นกั เรียนเก่ง 2 คน ปานกลาง 2 คนและ

อ่อน 2 คน แลว้ นาคะแนนมาคานวณหาประสิทธิภาพและหาขอ้ บกพร่องท้งั ในดา้ นความชดั เจน ความ
เขา้ ใจและความสมบรู ณ์ของชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ ซ่ึงไดค้ า่ ประสิทธิภาพของชุดฝึกเสริมทกั ษะ

คณิตศาสตร์ (E1/E2) เท่ากบั 75.54/77.71 ปัญหาที่พบในการทดลองคร้งั น้ี คอื เน้ือหาไม่สมบูรณ์

61

ตวั อยา่ งนอ้ ย แบบฝึกหดั คาถามไม่ชดั เจน การเนน้ ขอ้ ความท่สี าคญั ไม่ครบในบางชุดฝึกเสริมทกั ษะ

คณิตศาสตร์ ผรู้ ายงานไดน้ าขอ้ มูลทไี่ ดท้ ้งั หมดมาพจิ ารณาปรบั ปรุงแกไ้ ขจนได้ ชุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ฉบบั ที่สมบรู ณ์ แลว้ จงึ ไปจดั ทาเป็นรูปเล่มเพอ่ื ใชท้ ดสอบภาคสนามและประเมินผลเป็น

คร้งั สุดทา้ ย

1.12 จดั พมิ พเ์ ป็นฉบบั สมบรู ณ์ นาไปทดสอบภาคสนาม (1:100) กบั ประชากรคือ นกั เรียน
ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 ทก่ี าลงั เรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2560 วยิ าลยั สารพดั ช่าง
สระบรุ ี จานวน 12 คนนาผลการวเิ คราะห์หาประสิทธิภาพของชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ต่อไป

เพอ่ื ใหก้ ารทดลองมีประสิทธิภาพ ผรู้ ายงานจึงจดั ทาคู่มือประกอบการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 เป็นแผนการจดั การเรียนรู้
จานวน 8 แผน โดยดาเนินการ ดงั น้ี

1. ศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 1 พทุ ธศกั ราช 2556 และหลกั สูตรวทิ ยาลยั
สารพดั ช่างสระบุรี กลมุ่ วชิ าคณิตศาสตร์ และคูม่ ือครูวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ระดบั ประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพ ปี ท่ี 1 ของสถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

2. วเิ คราะห์หลกั สูตร สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั เพอื่ ดาเนินการเขยี น
แผนการจดั การเรียนรูต้ ่อไป

3. ดาเนินการเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ โดยมีส่วนประกอบ ดงั น้ี
3.1 แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3.2 วชิ า ช้นั ภาคเรียนท่ี
3.3 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ เร่ือง เวลาท้งั หมด
3.4 แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ เร่ือง เวลา
3.5 สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรูช้ ่วงช้นั
3.6 สาระสาคญั
3.7 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.8 สมรรถนะของผเู้ รียน
3.9 สาระการเรียนรู้
3.10 ภาระงาน / ช้ินงาน
3.11 กิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั ท่ี 1 ข้นั นา
ข้นั ท่ี 2 ข้นั สอน

62

ข้นั ที่ 3 ข้นั สรุป เหมาะสมและนา
ข้นั ท่ี 4 ข้นั ฝึกทกั ษะ
3.12 ส่ือ/แหล่งเรียนรู้
3.13 การวดั และประเมินผล
3.14 ขอ้ เสนอของผบู้ ริหารหรือผทู้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย
4. นาแผนการจดั การเรียนรูใ้ ห้ผเู้ ชี่ยวชาญพจิ ารณาความถูกตอ้ ง
ขอ้ เสนอแนะมาปรบั ปรุงแกไ้ ข

2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ

คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 1 เป็นแบบปรนยั ชนิด

เลือกตอบ4 ตวั เลือก จานวน 40 ขอ้ ผรู้ ายงานสรา้ งข้ึนเองโดยดาเนินการ ดงั น้ี

2.1 ศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2556 และวเิ คราะหห์ ลกั สูตร
วทิ ยาลยั สารพดั ช่างสระบรุ ี คู่มือครู แบบเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์
พน้ื ฐาน ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 เก่ียวกบั สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั เพอื่
สรา้ งแบบทดสอบตามกรอบเน้ือหา 8 ชุด

2.2 ศึกษาเก่ียวกบั ทฤษฎี และวธิ ีการสร้างแบบทดสอบ จากหนงั สือเทคนิคการเขียน
ขอ้ สอบของ ชวาล แพรตั กุล (2520 : 1-161) และการวดั ผลและประเมินผลการเรียนการสอน
คณิตศาสตร์ จากหนงั สือการจดั การประเมินผลในสถานศึกษาของ ไพศาล หวงั พานิช (2531 : 57-62)
ศึกษาวธิ ีการวเิ คราะห์เน้ือหาและจดุ ประสงค์

2.3 สรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 เป็นแบบปรนยั ชนิด
เลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 50 ขอ้ โดยใหค้ รอบคลุมเน้ือหาและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ในชุดฝึ กเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ท่จี ดั ทาข้ึนท้งั 8 ชุด

2.4 นาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 ทีส่ รา้ งข้ึนให้
ผเู้ ช่ียวชาญจานวน 5 ทา่ น เพอื่ ตรวจพจิ ารณาความถูกตอ้ งเหมาะสมและตรวจสอบความสอดคลอ้ งของ
เน้ือหา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั และความครอบคลมุ ของคาถาม

63

2.5 นาผลการประเมินมาวเิ คราะห์ หาค่าดชั นีความสอดคลอ้ ง ระหวา่ งขอ้ คาถามของ
แบบทดสอบกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ (IOC) จากผเู้ ช่ียวชาญท้งั 5 ท่าน เลือกแบบทดสอบทมี่ ีคา่ ดชั นี
ความสอดคลอ้ งต้งั แต่ 0.50 ข้ึนไป และปรบั ปรุงแบบทดสอบมีค่าดชั นีความสอดคลอ้ งนอ้ ยกวา่ 0.50
แลว้ นาไปใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญดูเพอ่ื ตรวจสอบอีกคร้ัง

2.6 ปรับปรุงและจดั พมิ พแ์ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียน
โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1

2.7 นาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 ทไ่ี ดป้ รับปรุงแกไ้ ข
แลว้ ไปทดสอบกบั ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 2 ทกี่ าลงั เรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2560
วทิ ยาลยั สารพดั ช่างสระบรุ ี ซ่ึงเคยเรียนผา่ นมาแลว้ จานวน 25 คน โดยการสุ่มอยา่ งง่าย เพอ่ื หาคุณภาพ
ของแบบทดสอบ

2.8 นาผลการทดสอบมาวเิ คราะห์ขอ้ สอบเป็นรายขอ้ เพอ่ื หาคา่ ความยากงา่ ย (P) และคา่
อานาจจาแนก (r) ของขอ้ สอบรายขอ้ และเลือกแบบทดสอบเฉพาะขอ้ ทมี่ ีคา่ ความยากง่ายระหวา่ ง 0.30
– 0.75 และมีค่าอานาจจาแนก 0.2 ข้นึ ไปจานวน 40 ขอ้

2.9 นาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 1 ทเี่ ลือกไวจ้ านวน
40 ขอ้ ไปทดสอบกบั นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 2 ทกี่ าลงั เรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปี
การศกึ ษา 2560 วทิ ยาลยั สารพดั ช่างสระบรุ ี จานวน 25 คน ท่เี คยเรียนมาแลว้ โดยการสุ่มอยา่ งง่าย เพอ่ื
หาความเช่ือมน่ั ของแบบทดสอบ ซ่ึงไดค้ า่ ความเช่ือมน่ั เท่ากบั 0.75

2.10 จดั พมิ พแ์ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใช้
ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ที่ 1 จานวน
40 ขอ้ เป็นฉบบั สมบูรณ์ สาหรับนาไปใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ ง

3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อการจดั การเรียนรู้ โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ

3.1 ศึกษาเอกสาร ศึกษาทฤษฏีจากตารา งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ งและศึกษาการวดั เจตคติ ตา่ ง ๆ
เพอ่ื นามาเป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนทีม่ ีต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดย
ใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ

3.2 สร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มีต่อการจดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ

64

3.3 นาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนทีม่ ีต่อการจดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ทผ่ี รู้ ายงานสรา้ งข้ึนใหผ้ เู้ ช่ียวชาญดา้ นหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ดา้ นเน้ือหา และดา้ นการวดั ผลและประเมินผล จานวน 5 ทา่ น เพอื่
ตรวจสอบความเหมาะสมถูกตอ้ งตามเน้ือหา ตรวจสอบคุณภาพและความถูกตอ้ งของภาษา เพอ่ื นา
ขอ้ เสนอแนะมาปรับปรุงแกไ้ ข

3.4 นาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนทมี่ ีต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้ ชุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ทีไ่ ดจ้ ากการปรบั ปรุงแกไ้ ขแลว้ ไปทดลอง ท่กี าลงั เรียน

3.5 หาคา่ อานาจจาแนกของแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการจดั การ
เรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ และเลือกขอ้ ทม่ี ีคา่ อานาจ
จาแนกต้งั แต่ 0.2 ข้นึ ไป

3.6 การหาคา่ ความเชื่อมน่ั (Reliability) นาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียน ที่มี
ตอ่ การจดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์เรื่องอตั ราส่วนและรอ้ ยละมาหาคา่ ความ
เชื่อมนั่ โดยใชส้ ูตรสมั ประสิทธ์ิแอลฟา (Alpha Coeffcient) ของครอนบาค (Cronbach) ไดค้ า่ ความ
เชื่อมน่ั เท่ากบั 0.767

3.7 นาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนทีม่ ีต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชช้ ุดฝึก เสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ไปพมิ พเ์ ป็นฉบบั สมบรู ณ์ เพอื่ นาไปใชจ้ ริงกบั กลุ่ม
ตวั อยา่ งตอ่ ไป

แบบแผนทใ่ี ช้ในการทดลอง

1. การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังการเรียน โดยใชช้ ุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ใชก้ ารทดลองแบบกลุ่มเดียว มีการวดั ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนก่อนทดลอง 1 คร้งั และหลงั การทดลอง 1 คร้งั ( The Single Group Pretest Posttest
Design ) ( ประวติ เอราวรรณ์ 2545 : 55)

1.1 แบบแผนในการทดลอง

O1 X O2

O1 หมายถึง การวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนการทดลองใช้
ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ

65

X หมายถึง การทดลองใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
O2 หมายถึง การวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั การทดลองใช้

ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ
O1 และ O2 วดั ดว้ ยแบบทดสอบชุดเดียวกนั

1.2 การดาเนินการทดลอง
1) นาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ของชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์

เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ใหน้ กั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทาง การเรียน
( Pretest ) ตรวจผลการสอบและเก็บคะแนนของแต่ละคนไว้

2) กลุ่มตวั อยา่ งศึกษาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ
โดยช้ีแจงจุดประสงคพ์ รอ้ มวธิ ีการศกึ ษาใหท้ ราบและใหก้ ลุ่มตวั อยา่ งทาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละแลว้ จงึ วดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั การศกึ ษาชุดฝึก เสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ( Posttest )โดยทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนอีก
คร้งั ตรวจผลการสอบและเกบ็ คะแนนของนกั เรียนแตล่ ะคนไว้

2. การศึกษาความพงึ พอใจ ของนกั เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ตอ่ การศกึ ษาชุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ใชก้ ลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วดั ผลหลงั การทดลอง (The
single group Posttest -only-design) (ประวติ เอราวรรณ์ 2545 : 54)

2.1 แบบแผนในการทดลอง

X O2

X หมายถึง การทดลองใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและ
รอ้ ยละ

O2 หมายถึง การวดั ความพงึ พอใจต่อการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง
อตั ราส่วนและรอ้ ยละ

2.2 การดาเนินการทดลอง
1) ใหก้ ลุ่มตวั อยา่ งศกึ ษาและใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่องอตั ราส่วนและ

รอ้ ยละ ใหจ้ บทุกชุดฝึกภายในเวลาทก่ี าหนด
2) ใหน้ กั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งทาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีตอ่ การ

จดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ

66

3) นาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนทีม่ ีต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้
ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ

4) นาคะแนนทไี่ ดม้ าวเิ คราะห์ทางสถิติ

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ผรู้ ายงานไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลกบั นกั เรียนทีเ่ ป็ นกลุ่มตวั อยา่ ง มีข้นั ตอนการ
ดาเนินการ ดงั น้ี

1. ทาการทดสอบก่อนเรียน โดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและ
หลงั เรียน โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพ ปี ท่ี 1 ทผ่ี รู้ ายงานสรา้ งข้ึน ซ่ึงผา่ นกระบวนการหาคุณภาพแลว้ ไปทดลองกบั นกั เรียนทเี่ ป็ นกลุ่ม
ตวั อยา่ งทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ตรวจใหค้ ะแนนและเก็บขอ้ มูลไว้

2. ดาเนินการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้ ในคูม่ ือประกอบการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 โดยใชเ้ วลาในการสอน
18 ชว่ั โมง

3. ทดสอบหลงั เรียน โดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั
เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ืองอตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ
ปี ที่ 1 ซ่ึงเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกบั ทใี่ ชท้ ดสอบก่อนเรียน ตรวจใหค้ ะแนนและเกบ็ ขอ้ มูลไว้

4. สอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียน โดยใชแ้ บบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียน ที่
มีตอ่ การจดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ืองอตั ราส่วนและร้อยละ 5. นาคะแนนจาก
การทาแบบฝึกหดั และแบบทดสอบทา้ ยชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ทุกชุด มาวเิ คราะห์หา
ประสิทธิภาพของชุดฝึกเสริมทกั ษะและเพอ่ื ทดสอบสมมติฐาน นาคะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนจาก
การทดสอบท้งั ก่อนเรียนและหลงั เรียน มาวเิ คราะหเ์ พอ่ื ทดสอบสมมติฐานและนาคะแนนระดบั ความ
พงึ พอใจมาวเิ คราะหเ์ พอ่ื ทดสอบสมมติฐาน

การวเิ คราะห์ข้อมลู

ผรู้ ายงานไดด้ าเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ตามวตั ถุประสงคข์ องการดาเนินการสอดคลอ้ งกบั
ลกั ษณะของเคร่ืองมือและวธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล จาแนกตามวตั ถุประสงคข์ องการดาเนินการ ดงั น้ี

67

1. วเิ คราะห์หาประสิทธิภาพของชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและ
ร้อยละ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80

2. เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั ประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพ ปี ที่ 1 ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ
วเิ คราะหโ์ ดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t – test

3. วเิ คราะห์ความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการจดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ วเิ คราะหโ์ ดยหาคา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนของแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนทีม่ ีต่อการจดั การเรียนรู้

ดว้ ยชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์

5 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจมากทีส่ ุด
4 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจมาก
3 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง
2 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ย
1 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ุด
การแปลความหมายขอ้ มูล ผรู้ ายงานใชค้ ะแนนเฉล่ียระดบั ความพงึ พอใจ ดงั น้ี(บญุ ชม ศรี
สะอาด 2545 : 103)

ค่าเฉลี่ย มีระดบั ความพงึ พอใจมากท่สี ุด
4.50 - 5.00 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจมาก
3.50 - 4.49 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง
2.50 - 3.49 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ย
1.50 - 2.49 หมายถึง มีระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ยท่ีสุด
1.00 - 1.49 หมายถึง

สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล

การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเพอ่ื การศึกษาทดลองคร้งั น้ี ใชส้ ถิติดงั น้ี
1. สถิติทใี่ ชห้ าประสิทธิภาพของชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ย
ละ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี ท่ี 1 ตามเกณฑ์ 80/80 จากสูตร ศิริพร คาภกั ดี (2549 : 68 - 69)
ดงั น้ี

68

แทน คา่ ประสิทธิภาพกระบวนการท่จี ดั ไวใ้ นชุดฝึก คิดเป็นร้อยละจาก
การทากิจกรรมระหวา่ งเรียน ของชุดฝึกไดถ้ ูกตอ้ ง

แทน คะแนนรวมของผเู้ รียนทไ่ี ดจ้ ากการทาแบบฝึกหดั
A แทน คะแนนเตม็ ของแบบฝึกหดั
N แทน จานวนผเู้ รียนในกลุ่มตวั อยา่ ง

แทน คา่ ประสิทธิภาพของผลลพั ธค์ ดิ เป็นร้อยละ จากการทา
แบบทดสอบทา้ ยชุดฝึกหลงั เรียนไดถ้ ูกตอ้ งอยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80
ของคะแนนเตม็

แทน คะแนนรวมของนกั เรียนทีไ่ ดจ้ ากการทาแบบทดสอบหลงั เรียน
B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบทา้ ยชุดฝึก
N แทน จานวนผเู้ รียน (กลุ่มตวั อยา่ งท้งั หมด)

2. สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการหาคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
2.1 หาคา่ ความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหาของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน โดย

ใชส้ ูตรดชั นีคา่ ความสอดคลอ้ ง (สมนึก ภทั ทยิ ธนี 2537 : 167) ดงั น้ี

เม่ือ แทน ดชั นีความสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ สอบกบั จุดประสงค์
แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ช่ียวชาญ
แทน จานวนผเู้ ชี่ยวชาญเน้ือหาวชิ า

69

2.2 คา่ ความยากง่าย (p) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและ
หลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อย โดยใชส้ ูตรของ Brennan (บุญ
ชม ศรีสะอาด 2535 : 81) ดงั น้ี

เม่ือ แทน ระดบั ความยากง่ายของขอ้ สอบ
แทน จานวนผตู้ อบถูกท้งั หมด
แทน จานวนคนในกลุ่มสูงและกลุ่มตา่

2.3 ค่าอานาจจาแนก (r) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและ
หลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ โดยใชส้ ูตรของ Brennan
(บุญชม ศรีสะอาด 2535 : 81) ดงั น้ี

เม่ือ แทน คา่ อานาจจาแนก
แทน จานวนคนกลุ่มสูงท่ตี อบถูก
แทน จานวนคนกลุ่มตา่ ทตี่ อบถูก
แทน จานวนคนในกลุ่มสูงหรือกลมุ่ ต่าซ่ึงเท่ากนั

2.4 หาความเช่ือมน่ั ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั
เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ คานวณจากสูตร KR – 20 ของ
คูเดอร์ ริชาร์ดสนั (ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ 2538 : 197-199) ดงั น้ี

เมื่อ แทน ค่าความเชื่อมนั่ ของแบบทดสอบ
n แทน จานวนขอ้ สอบของแบบทดสอบ
P แทน สดั ส่วนของนกั เรียนท่ตี อบถูกในแต่ละขอ้

70

P= จานวนนกั เรียน
จานวนนกั เรียน

แทน สดั ส่วนของผทู้ าผดิ ในแตล่ ะขอ้

= 1–

แทน คะแนนความแปรปรวนของแบบทดสอบท้งั ฉบบั

=

เม่ือ แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด

2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตวั ยกกาลงั สอง

แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมดยกกาลงั สอง
แทน จานวนนกั เรียนทีเ่ ขา้ สอบท้งั หมด

2.5 สถิตทิ ่ีใชใ้ นการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดย
ใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ โดยการทดสอบคา่ ทีแบบไม่อิสระ โดย
ใชส้ ูตร (พวงรัตน์ ทวรี ตั น์ 2538 : 125) ดงั น้ี

เมื่อ แทน ผลตา่ งระหวา่ งคะแนนเฉล่ียของการทดสอบก่อนเรียน
และหลงั เรียน

D แทน ความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียน
N แทน จานวนคน

3. สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนทม่ี ีต่อการจดั การเรียนรู้ โดยใชช้ ุดฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ คอื

3.1 คา่ เฉล่ีย ( ) โดยใชส้ ูตร (กานดา พนู ลาภทวี 2539 : 42) ดงั น้ี

71

เมื่อ แทน คะแนนเฉลี่ย
แทน ผลรวมของขอ้ มูลท้งั หมด

N แทน จานวนผเู้ รียน
3.2 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) โดยใชส้ ูตร (ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ
2538 : 79) ดงั น้ี

S=
เมื่อ S แทน ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน

แทน ผลรวมของคะแนนของนกั เรียนกลุม่ ตวั อยา่ ง
แทน ผลรวมของคะแนนของนกั เรียนกลุม่ ตวั อยา่ ง

แตล่ ะคนยกกาลงั สอง
N แทน จานวนนกั เรียนในกลุ่มตวั อยา่ ง
4. สถิติทีใ่ ชห้ าประสิทธิภาพของแบบสอบถามความพงึ พอใจ
4.1 หาค่าอานาจจาแนก ของแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มีต่อการ
จดั การเรียนรู้ โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ โดยคานวณจากสูตร
การแจกแจงที (t-distribution) (สุนี รักษาเกียรติศกั ด์ิ 2539 : 117) ดงั น้ี

เม่ือ แทน คา่ อานาจจาแนกของแบบสอบถาม
แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มสูง
แทน ค่าเฉล่ียของกลุ่มต่า
แทน ความแปรปรวนของกลุ่มสูง
แทน ความแปรปรวนของกลุ่มต่า
แทน จานวนของกลุ่มตวั อยา่ งในกลุ่มสูง

72

แทน จานวนของกลุ่มตวั อยา่ งในกลุ่มต่า
4.2 หาความเช่ือมนั่ ของแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนทม่ี ีตอ่ การจดั การ
เรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ืองอตั ราส่วนและร้อยละ คานวณโดยใชส้ ูตรสมั ประสิทธ์ิ
แอลฟา (Alpha Coefficient) ของคอนบาค (Cronbach) (พวงรัตน์ ทวีรตั น์ 2538 : 125)

เม่ือ แทน ค่าสมั ประสิทธ์ิของความเชื่อมน่ั
แทน จานวนขอ้ ของแบบสอบถาม
แทน คะแนนความแปรปรวนเป็นรายขอ้

แทน คะแนนความแปรปรวนของเครื่องมือน้นั ท้งั ฉบบั

บทท่ี 4

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ศกึ ษาการทดลอง เรื่อง รายงานการสรา้ งและพฒั นา
ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ โรเงรียนวดั บางกะ
พอ้ ม สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ในคร้งั น้ีผรู้ ายงานไดน้ าเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
และการแปรผลท่ไี ดจ้ ากการวเิ คราะห์แบ่งเป็น 3 ตอน ดงั น้ี

73

ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพของการพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์เร่ือง
อตั ราส่วนและรอ้ ยละ

ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะห์ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดย
ใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ

ตอนท่ี 3 ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั เรียนทม่ี ีตอ่ การจดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ

สัญลกั ษณ์ทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู
แทน คะแนนเฉล่ีย

S แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
N แทน จานวนนกั เรียนในกลุ่มตวั อยา่ ง
D แทน ความแตกตา่ งของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริม

ทกั ษะคณิตศาสตร์
แทน ผลรวมของผลตา่ งของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึก

เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
แทน ผลรวมของกาลงั สองของผลตา่ งของคะแนนก่อนและหลงั การใชช้ ุดฝึก

เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
t แทน คา่ วกิ ฤติใน t–distribution
E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ
E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์
ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพของการพฒั นาชุดฝึ กเสริมทกั ษะคณติ ศาสตร์ เร่ือง
อัตราส่วนและร้อยละ ระดบั มัธยมศึกษาปี ที่ 1
การหาประสิทธิภาพของการพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วน

และร้อยละ มีข้นั ตอนในการหาประสิทธิภาพของกระบวนการและผลลพั ธ์ (E /E ) คือ การทดสอบ
แบบเด่ียว การทดสอบแบบกลุ่มและการทดสอบภาคสนาม ซ่ึงผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพของการ
พฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ มีดงั น้ี

1.1 ผลการทดสอบแบบเด่ียว (1:1)
ผลการวเิ คราะหป์ ระสิทธิภาพของการพฒั นาโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์

เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ตามเกณฑ์ 80/80 ในการทดสอบแบบเด่ียว มีผล
การทดสอบแต่ละชุด และค่าเฉลี่ยดงั น้ี

74

ตาราง 1 แสดงคะแนนเฉล่ีย ค่าประสิทธิภาพ ของกระบวนการ(E1) และค่าประสิทธิภาพของผลลพั ธ์
(E2)โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์เรื่องอตั ราส่วนและรอ้ ยละรวม 8 ชุด และคา่ เฉล่ีย
ในการทดสอบแบบเดี่ยว (1:1)

ชุดฝึ กที่ คะแนนเตม็ คะแนน E1 คะแนนเตม็ คะแนน E2 E1/E2
แบบฝึ กหดั เฉล่ีย ทดสอบทา้ ย เฉล่ีย
ระหวา่ งเรียน
ชุดฝึ ก

1 40 23.67 59.17 10 6.00 60.00 59.17/60.00

2 80 52.00 65.00 10 5.67 56.67 65.00/56.67

3 60 40.00 66.67 10 6.00 60.00 66.67/60.00

4 60 41.00 68.33 10 6.67 66.67 68.33/66.67

5 60 40.00 66.67 10 6.33 63.33 66.67/63.33

6 20 12.00 60.00 10 6.33 63.33 60.00/63.33

7 40 24.00 60.00 10 5.67 56.67 60.00/56.67

8 40 24.67 61.67 10 6.33 63.33 61.67/63.33

รวม/เฉล่ีย 400 64.33 80 61.25 64.33/61.25

N=3

จากตาราง 1 พบวา่ คา่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ(E1) โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ จานวน 8 ชุด มีค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ(E1) เท่ากบั
64.33 และคะแนนแบบทดสอบทา้ ยชุดฝึก มีคา่ ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ (E2) เท่ากบั 61.25 ดงั น้นั
ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ทผี่ รู้ ายงานสร้างข้นึ มีประสิทธิภาพต่ากวา่
เกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ทตี่ ้งั ไว้

1.2 ผลการทดสอบแบบกลุ่ม (1:10)

ผลการวเิ คราะหป์ ระสิทธิภาพของการพฒั นาโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์

เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ย ตามเกณฑ์ 80/80 ในการทดสอบแบบกลุ่ม มีผลการทดสอบแตล่ ะชุด และ

คา่ เฉลี่ยดงั น้ี
ตาราง 2 แสดงคะแนนเฉล่ีย คา่ ประสิทธิภาพ ของกระบวนการ(E1) และคา่ ประสิทธิภาพของ

ผลลพั ธ์ (E2) โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ
รวม 8 ชุด และค่าเฉล่ียในการทดสอบแบบกลมุ่ (1:10)

75

ชุดฝึ กท่ี คะแนนเตม็ คะแนน E1 คะแนนเตม็ คะแนน E2 E1/E2
แบบฝึ กหดั เฉล่ีย ทดสอบทา้ ย เฉล่ีย
ระหวา่ งเรียน
ชุดฝึ ก

1 40 31.33 78.33 10 8.00 80.00 78.33/80.00

2 80 62.00 77.50 10 7.67 76.67 77.50/76.67

3 60 44.50 74.17 10 7.50 75.00 74.17/75.00

4 60 45.00 75.00 10 7.83 78.33 75.00/78.33

5 60 45.50 75.83 10 7.83 78.33 75.83/78.33

6 20 15.50 77.50 10 8.00 80.00 77.50/80.00

7 40 28.67 71.67 10 7.50 75.00 71.67/75.00

8 40 29.67 74.17 10 7.83 78.33 74.17/78.33

รวม/เฉล่ีย 400 75.54 80 77.71 75.54/77.71

N=6
จากตาราง 2 พบวา่ คา่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ(E1) โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ

คณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ จานวน 8 ชุด มีค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ(E1) เทา่ กบั
75.54 และคะแนนแบบทดสอบทา้ ยชุดฝึกโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและ
รอ้ ยละ มีคา่ ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ (E2) 77.71 ดงั น้นั ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วน
และรอ้ ยละ ทผี่ รู้ ายงานสร้างข้ึน ยงั มีประสิทธิภาพต่ากวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ทตี่ ้งั ไว้

1.3 ผลการทดสอบภาคสนาม (1:100)

ผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพของการพฒั นาโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ตามเกณฑ์ 80/80 ในการทดสอบภาคสนาม มีผลการทดสอบแตล่ ะชุด
และค่าเฉล่ียดงั น้ี

ตาราง 3 แสดงคะแนนเฉลี่ย คา่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ(E1) และคา่ ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์
(E2) โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ
รวม 8 ชุด และคา่ เฉล่ียในการทดสอบภาคสนาม (1:100)

ชุดฝึ กท่ี คะแนนเตม็ คะแนน E1 คะแนนเตม็ คะแนน E2 E1/E2
แบบฝึ กหดั เฉลี่ย ทดสอบทา้ ย เฉลี่ย
ระหวา่ งเรียน
ชุดฝึ ก

1 40 33.50 83.75 10 8.24 82.35 83.75/82.35

76

2 80 67.12 83.90 10 8.29 82.94 83.90/82.94

3 60 50.32 83.77 10 8.03 80.29 83.77/80.29

4 60 50.32 83.87 10 8.15 81.47 83.87/81.47

5 60 49.38 82.30 10 8.18 81.76 82.30/81.76

6 20 16.62 83.09 10 8.29 82.94 83.09/82.94

7 40 33.41 83.53 10 8.15 81.47 83.53/81.47

8 40 32.53 81.32 10 8.06 80.59 81.32/80.59

รวม/เฉล่ีย 400 83.29 80 81.72 83.29/81.72

N = 34

จากตาราง 3 พบวา่ คา่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ(E1) โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ จานวน 8 ชุด มีค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ(E1) เทา่ กบั
83.29 และคะแนนแบบทดสอบทา้ ยชุดฝึกโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ืองอตั ราส่วนและร้อย

ละ มีคา่ ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ (E2)เท่ากบั 81.72 ดงั น้นั ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่องอตั ราส่วน
และรอ้ ยละ ท่ีผรู้ ายงานสร้างข้นึ มีประสิทธิภาพสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ที่ต้งั ไว้

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้
ชุดฝึ กเสริมทกั ษะคณติ ศาสตร์ เร่ือง อัตราส่วนและร้อยละ
ระดบั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ดังตาราง

ตาราง 4 การวเิ คราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใช้ชุดฝึ กเสริมทกั ษะ

คณติ ศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ
ในการทดสอบแบบเดี่ยว (1:1)

กลุ่มทดลอง N t

กลุ่มทดลอง 3 21 161 4.582

N=3
มีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั .01 , t(0.1 : df 2) = 6.695

77

จากตาราง 4 พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใช้ชุดฝึ กเสริมทกั ษะ
คณติ ศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ในการทดสอบแบบเด่ยี วไม่แตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .01
ตาราง 5 การวเิ คราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใช้ชุดฝึ กเสริมทกั ษะ
คณติ ศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ
ในการทดสอบแบบกล่มุ (1:10)

กลุ่มทดลอง N t

กลุ่มทดลอง 6 44 352 7.416**

N=6

**มีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 , t(0.1 : df 5) = 3.365

จากตาราง 5 พบว่า ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ

คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ในการทดสอบแบบกลุ่มแตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01

ตาราง 6 การวเิ คราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใช้ชุดฝึ กเสริมทกั ษะ

คณติ ศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ

ในการทดสอบภาคสนาม (1:100)

กลุ่มทดลอง N t

กลุ่มทดลอง 34 302 2950 18.190**

N = 34
** มีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั .01 , t(0.1 : df33) = 2.457
จากตาราง 6 พบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึก

เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ในการทดสอบภาคสนามแตกต่างกนั อยา่ งมี
นยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .01

ตอนท่ี 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนท่มี ีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึ กเสริมทกั ษะ
คณติ ศาสตร์ เร่ือง อัตราส่วนและร้อยละ ระดบั มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ดงั ตาราง 7

ตาราง 7 แสดงความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1

รายการความพึงพอใจ S แปลผล

1. เน้ือหามีความเหมาะสมกบั นกั เรียน 4.35 0.812 มาก
2. เน้ือหาเรียงจากง่ายไปหายาก 4.32 0.726 มาก

78

3. ช่วยเพมิ่ ความรู้ดา้ นการคานวณ การแกโ้ จทยป์ ัญหา 4.56 0.660 มากทีส่ ุด

และสามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้

4. ภาษาทใี่ ชเ้ ขา้ ใจง่าย 4.35 0.543 มาก

5. ความเหมาะสมขนาดของตวั อกั ษร 4.44 0.704 มาก

6. ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนรูจ้ กั คดิ วเิ คราะห์ 4.44 0.612 มาก

7. มีคาช้ีแจง คาอธิบายแต่ละกิจกรรม เขา้ ใจงา่ ย ปฏิบตั ิตาม 4.47 0.662 มาก

ไดถ้ ูกตอ้ ง

8. มีรูปแบบน่าสนใจ สวยงาม ภาพประกอบชดั เจน 4.21 0.729 มาก

9. มีความสะดวกในการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ 4.29 0.798 มาก

10. ผเู้ รียนสามารถกลบั ไปศึกษาเน้ือหา อีกคร้ังเมื่อไม่ 4.00 0.778 มาก

เขา้ ใจ

รวม 4.34 0.712 มาก

จากตาราง 7 พบวา่ ในภาพรวมนกั เรียนมีความพงึ พอใจต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชช้ ุดฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ อยใู่ นระดบั มาก ( = 4.34 , S = 0.712) เมื่อดูใน
รายละเอียด พบวา่ นกั เรียนมีความพงึ พอใจระดบั มากทส่ี ุด ช่วยเพม่ิ ความรูด้ า้ นการคานวณ การแก้
โจทยป์ ัญหาและสามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ ( = 4.56, S = 0.660) และนกั เรียนมีความพงึ
พอใจระดบั มาก มีคาช้ีแจง คาอธิบายแต่ละกิจกรรม เขา้ ใจงา่ ย ปฏิบตั ิตามไดถ้ ูกตอ้ ง( = 4.47 , S =
0.662) รองลงมาคือ ความเหมาะสมขนาดของตวั อกั ษร ( = 4.44 , S = 0.704) ส่งเสริมให้ผูเ้ รียน
รู้จกั คดิ วเิ คราะห์ ( = 4.44, S = 0.612) เน้ือหามีความเหมาะสมกบั นกั เรียน ( = 4.35, S = 0.543)
ภาษาทใ่ี ชเ้ ขา้ ใจงา่ ย ( = 4.35, S = 0.543) เน้ือหาเรียงจากง่ายไปหายาก ( = 4.32, S = 0.726) มี
ความสะดวกในการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ ( = 4.29, S = 0.798) มีรูปแบบน่าสนใจ สวยงาม
ภาพประกอบชดั เจน ( = 4.21, S = 0.729) ผเู้ รียนสามารถกลบั ไปศกึ ษาเน้ือหา อีกคร้ังเม่ือไม่เขา้ ใจ (

= 4.00, S = 0.778) ตามลาดบั

79

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

การศกึ ษาทดลองคร้งั น้ี เป็นการสร้างและพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง
อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 โรงเรียนวดั บางกะพอ้ ม(คงลาภยงิ่ ประชานุสรณ์)
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน มสี าระสาคญั สรุปไดด้ งั น้ี

สรุปผล อตั ราส่วนและรอ้ ยละ

วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพอ่ื พฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง

ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80

80

2. เพอื่ เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใช้
ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1

3. เพอื่ ศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนท่มี ีตอ่ การจดั การเรียนรู้ โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1

สมมติฐานในการศึกษา
1. ป ระสิทธิภาพการจดั การเรียนรู้ โดยใชช้ ุดฝึ กเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วน

และร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80
2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน วชิ าคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ จาก

การจดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน อยา่ งมีนยั สาคญั ทาง
สถิติทีร่ ะดบั .01

3. ความพงึ พอใจของนกั เรียนทมี่ ีตอ่ การจดั การเรียนรู้ โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มาก

วิธีการศึกษาค้นคว้า
1. ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง
1.1 ประชากร ไดแ้ ก่ นกั เรียนระดบั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ทกี่ าลงั เรียนในภาคเรียนท่ี 1ปี

การศึกษา 2564 โรงเรียนวดั บางกะพอ้ ม(คงลาภยงิ่ ประชานุสรณ์) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั
พ้นื ฐาน จานวน 1 หอ้ งเรียน 12 คน

1.2 กลุ่มตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาในเร่ืองน้ี เป็นนกั เรียนระดบั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ทกี่ าลงั
เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนวดั บางกะพอ้ ม สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั
พน้ื ฐาน จานวน 12 คน

เครื่องมือท่ีใช้ในการทดลอง
1. ชุดฝึกเสริมทกั ษะ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 จานวน 8 ชุด

และมีคมู่ ือประกอบการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์
2. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชช้ ุดฝึกเสริม

ทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ทผี่ รู้ ายงานสรา้ งข้ึน เป็น
แบบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 40 ขอ้

3. แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มีต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชช้ ุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1

81

4. เครื่องมือวเิ คราะหข์ อ้ มูลในการศกึ ษาคร้ังน้ี ไดแ้ ก่
4.1 สถิตทิ ่ีใชใ้ นการหาประสิทธิภาพของชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ คือ สถิตทิ ่ี

แสดงค่า E1/E2
4.2 สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์แบบทดสอบคือ คา่ ความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก(r)

และคา่ ความเชื่อมนั่
4.3 สถิตทิ ่ีใชเ้ ปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน คอื คา่ t-test
4.4 สถิตทิ ีใ่ ชศ้ ึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนทมี่ ีต่อการจดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึก

เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ คือ คา่ เฉล่ีย ( ) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S)
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผรู้ ายงานไดน้ าชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ท่ีสรา้ งข้นึ ไป

ทดลองกบั นกั เรียนระดบั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนวดั บางกะพอ้ มที่
ไม่เคยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์มาก่อน เพอ่ื ทดสอบหาประสิทธิภาพของชุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ ดงั น้ีคือ (1) ทดสอบแบบเด่ียวกบั นกั เรียน 3 คน (2) ทดสอบแบบกลมุ่ กบั นกั เรียน 6 คน (3)
ทดสอบภาคสนามกบั นกั เรียนทเ่ี ป็นกลุ่มตวั อยา่ งจานวน 25 คน ตามข้นั ตอนของการสร้างและพฒั นา
ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์และหลงั จากทศี่ ึกษาชุดฝึกเสริมทกั ษคณิตศาสตร์แลว้ ผรู้ ายงานไดข้ อ
ความร่วมมือจากนกั เรียนใหต้ อบแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนดว้ ยตนเองแลว้ รวบรวม
ขอ้ มูลไวว้ เิ คราะหต์ อ่ ไป

การวิเคราะห์ข้อมลู
จากการทดสอบในแตล่ ะคร้งั ผรู้ ายงานไดน้ าขอ้ มูลมาวเิ คราะห์ทางสถิติดงั น้ี (1) นา

คะแนนจากกิจกรรมระหวา่ งเรียนอและคะแนนประเมินตนเองหลงั เรียนแตล่ ะชุดฝึกมาวเิ คราะห์หา
ประสิทธิภาพของชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ (E1/E2) (2) นาคะแนนจากการทดสอบก่อนเรียนและ
หลงั เรียนมาเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนโดยทดสอบคา่ t-test (3) นาคะแนนจากการตอบ
แบบสอบถามความพงึ พอใจหลงั จากการทดสอบภาคสนามมาคานวณหาคา่ เฉลี่ย ( ) และส่วน
เบยี่ งเบนมาตรฐาน ( S )

ผลการทดลอง
ในการทดลองคร้ังน้ี ไดผ้ ลการทดลองเป็ นไปตามท่ตี ้งั สมมติฐานไว้ ดงั น้ี
1. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและ

รอ้ ยละ พบวา่ ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ทีพ่ ฒั นาข้ึน ชุดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 มีประสิทธิภาพ
E1/E2 ตามเกณฑ์ 80/80 ดงั น้ี คือ 83.75/82.35, 83.90/82.94, 83.77/80.29, 83.87/81.47, 82.30/81.76,

82

83.09/82.94, 83.53/81.47 และ81.32/80.59 ตามลาดบั เฉลี่ยท้งั 8 ชุด มีค่าประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากบั
83.29/81.72

2. ผลการวเิ คราะห์ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียน พบวา่ ชุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ทาให้ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึนอยา่ งมี
นยั สาคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .01

3. ผลการวเิ คราะหแ์ บบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้
ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ พบวา่ ความพงึ พอใจของนกั เรียนทีม่ ีต่อการจดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ อยใู่ นระดบั มาก ( = 4.34) และมีส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.712

อภปิ รายผล

การพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่องอตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1
โรงเรียนวดั บางกะพอ้ ม สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มีประเด็นสาคญั ท่คี วรนามา
อภิปรายผลดงั น้ี

1. ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่องอตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 มี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ซ่ึงผลการทดลองพบวา่ ประสิทธิภาพของ ชุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 เท่ากบั 83.29/81.72 หมายความวา่
ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ทีพ่ ฒั นาข้ึนสามารถช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ เฉลี่ยร้อยละ 83.29 และ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนจากการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ ไดค้ ะแนน รอ้ ยละ 81.72
ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ทีต่ ้งั ไว้ และเป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ องการศึกษา ขอ้ ที่ 1 และ
ผลการศึกษาในคร้งั น้ียงั สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของวชิรนุช สินธุชยั (2541 : บทคดั ยอ่ ) ไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้
อิสระ เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะการคดิ เลขเร็ว เร่ือง การคูณ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 ผล
การศึกษาคน้ ควา้ พบวา่ แบบฝึกเสริมทกั ษะการคิดเลขเร็ว ท่ีผศู้ กึ ษาคน้ ควา้ สรา้ งข้ึนมีประสิทธิภาพ
92.85/86.16 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ี่ต้งั ไว้ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ จรีพร สามารถ (2543 : บทคดั ยอ่ ) ได้
ทาการศกึ ษา เร่ือง การพฒั นาความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง รอ้ ยละ โดยใชช้ ุด
การฝึก สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 5 พบวา่ ชุดการฝึกมีประสิทธิภาพโดยรวมเท่ากบั
82.83/80.58 แสดงวา่ ชุดการฝึกท่ีสร้างมีประสิทธิภาพในการพฒั นาความสามารถการแกป้ ัญหาโจทย์
คณิตศาสตร์ไดเ้ พม่ิ ข้ึนสอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของวหิ าญ พละพร (2545 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา
เร่ือง การพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทยป์ ัญหาการคูณการหาร สาหรับนกั เรียนช้นั
ประถมศกึ ษาปี ท่ี 4 ผลการศึกษา พบวา่ ชุดฝึกเสริมทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์ เร่ือง โจทยป์ ัญหาการคูณการ
หาร สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 4 ทผี่ ูว้ จิ ยั สรา้ งข้นึ มีประสิทธิภาพเท่ากบั 82.47/76.77 ซ่ึงสูง

83

กวา่ เกณฑ์ 75/75 ทต่ี ้งั ไวส้ อดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของสุเทวี แกว้ นิมิตดี (2547 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา
เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 4 ผลการศกึ ษา
พบวา่ แบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ สาหรบั
นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 4 มีประสิทธิภาพ 79.13/76.00 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐานทต่ี ้งั ไว้
สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของอาจารีย์ สฤษด์ิไพศาล (2547 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา การพฒั นาแบบฝึก
ทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์ เร่ือง การบวก การลบ สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 ผลการศึกษา
พบวา่ แบบฝึกทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก การลบ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ที่
ผวู้ จิ ยั ไดส้ รา้ งข้นึ มีประสิทธิภาพ เทา่ กบั 81.29/78.76 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของจกั รพงษ์ ทองสิงห์
(2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการวจิ ยั เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง การบวก และ
การลบจานวนเตม็ สาหรบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ผลการวจิ ยั พบวา่ แบบฝึกเสริมทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์
เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง การบวก และการลบจานวนเตม็ สาหรับช้นั
มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ท่ีผวู้ จิ ยั สรา้ งข้ึนจานวน 12 ชุด มีประสิทธิภาพ เทา่ กบั 84.44/81.11 ซ่ึงไดม้ าตรฐาน
ตามเกณฑท์ กี่ าหนดไว้ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของธนพร สาลี (2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เร่ือง
การพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ือง โจทยป์ ัญหาอตั ราส่วนและรอ้ ยละ
สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 ผลการศกึ ษาพบวา่ ชุดฝึกเสริมทกั ษะกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ เร่ืองโจทยป์ ัญหาอตั ราส่วนและร้อยละ สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 ท่ีผวู้ จิ ยั ได้
สร้างข้นึ ประกอบดว้ ยคาช้ีแจง วตั ถุประสงค์ เน้ือหาสาระ และแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ มี
ประสิทธิภาพเท่ากบั 84.13/79.19 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 75/75 ทีต่ ้งั ไว้ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั
ของนฤชล ศรีมหาพรหม (2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง การแกโ้ จทยป์ ัญหาสมการ สาหรับช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนนางรอง อาเภอ
นางรอง จงั หวดั บุรีรัมย์ ผลการวจิ ยั พบวา่ แบบฝึกเสริมทกั ษะ วชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง การพฒั นาแบบ
ฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การแกโ้ จทยป์ ัญหาสมการ สาหรับช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 ท่ผี วู้ จิ ยั สร้าง
ข้ึน มีประสิทธิภาพ เทา่ กบั 86.00/84.95 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของประนอม ประทมุ แสง (2549 :
บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เรื่อง การพฒั นาแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบกลุ่มร่วมมือ Learning
Together โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั
มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ผลการศึกษา พบวา่ แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบกลุ่มร่วมมือ Learning
Together โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั
มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 มีประสิทธิภาพ เท่ากบั 84.30/77.30 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ตี่ ้งั ไว้ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั
ของวรี พงษ์ มุลทาและปนดั ดา แกว้ เสทอื น (2550 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เร่ือง การพฒั นาแบบฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง เศษส่วน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ผลการศึกษา พบวา่ แบบฝึกเสริมทกั ษะ

84

วชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง เศษส่วน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1

ที่ผศู้ กึ ษาคน้ ควา้ ไดส้ ร้างข้นึ มีประสิทธิภาพ เทา่ กบั 78.44/76.43 ซ่ึงไดม้ าตรฐานตามเกณฑท์ ่ตี ้งั ไว้

สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ ศิรประภา

พาหลง (2550 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เรื่อง การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้ โดยใชแ้ บบฝึกเสริม

ทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกี่ยวกบั จานวนจริง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ผลการศกึ ษา พบวา่

แผนการจดั การเรียนรู้โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั จานวนจริง

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 มีประสิทธิภาพ เท่ากบั 78.44/76.46 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ี่กาหนดไว้ สอดคลอ้ งกบั

งานวจิ ยั ของกีรติ สายสิงห์ (2551 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เร่ือง การพฒั นาชุดฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์

เรื่อง เลขยกกาลงั สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ผลการศึกษา พบวา่ ชุดดฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์

เร่ือง เลขยกกาลงั สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ทวี่ จิ ยั สร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ เท่ากบั

85.63/80.27 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 75/75 ท่ตี ้งั ไว้ และยงั สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของมาลินี อุ่นสี

(2552 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เร่ือง การพฒั นาชุดฝึกทกั ษะกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ เรื่อง

บทประยกุ ต์ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 5 ผลการศกึ ษา พบวา่ ชุดฝึกทกั ษะกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์

เรื่อง บทประยกุ ต์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 5 มีประสิทธิภาพ เท่ากบั 85.16/83.33 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑ์

มาตรฐาน 75/75 ที่ต้งั ไว้

1.1 ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ท่ผี วู้ จิ ยั สรา้ งข้ึนไดผ้ า่ นข้นั ตอนกระบวนการสร้าง

อยา่ งมีระบบและวธิ ีการท่ีเหมาะสม โดยเร่ิมต้งั แต่การเลือกเน้ือหา การเรียบเรียงเน้ือหา การศกึ ษา

เอกสารหลกั สูตร คู่มือครู และเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเรียนการสอนวชิ าคณิตศาสตร์ การ

วเิ คราะห์เน้ือหา และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ กาหนดเน้ือหายอ่ ยท้งั 8 เน้ือหา การกาหนดความคดิ รวบ

ยอด การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตลอดจนการวดั ประเมินผลการเรียนรู้ โดยคานึงถึงตวั ผเู้ รียน

อายุ พ้นื ฐานความรู้ หรือประสบการณ์เดิม คานึงผลทีต่ อ้ งการหรือจุดประสงคก์ ารเรียนรูว้ า่ ควรเสนอ

ในรูปแบบใด เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั เน้ือหากลมุ่ สาระเป็นเน้ือหาทเ่ี รียงจากเน้ือหาง่ายไปหาเน้ือหายาก

ภาษาที่ใชช้ ดั เจนมีความตอ่ เนื่องในแต่ละกรอบ มีคาถาม คาช้ีแจง ใหผ้ เู้ รียนตอบสนองแตล่ ะเรื่องน้นั

โดยตรง (ธีระชยั ปูรณโชติ 2539 : 27-37) ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั แนวคิดของวลี สุมิพนั ธ์ (2530 : 189–190)

กล่าววา่ ชุดฝึกที่ดีควรเก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองทเี่ รียนมาแลว้ เหมาะสมกบั ระดบั วยั ความสามารถของเดก็ มี

คาช้ีแจงส้นั ๆ กะทดั รดั ซ่ึงจะทาใหเ้ ดก็ เขา้ ใจวธิ ีทาไดง้ ่ายใชเ้ วลาเหมาะสม เป็ นชุดฝึกที่น่าสนใจทา้ ทาย

ความสามารถ ฉววี รรณ กีรติกร (2537 : 11–12) กล่าววา่ ชุดฝึกแตล่ ะชุดเริ่มตน้ จากเน้ือหาที่ง่ายไปยาก

เนน้ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล มีภาษาทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย และยงั สอดคลอ้ งกบั ทฤษฎีการเรียนของ Har Less

(n.d. : 93–94, อา้ งถึงในวหิ าญ พละพร 2545 : 47) ไดใ้ หค้ าแนะนาวา่ ชุดฝึกควรสรา้ งโดยใชจ้ ิตวทิ ยา

ในการเร้าใจใหน้ กั เรียนเกิดความสนใจและมีโอกาสตอบสนองสิ่งเร้าดว้ ยความทา้ ทาย

85

1.2 ชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ท่ีผวู้ จิ ยั สรา้ งข้ึน ผา่ นการตรวจหาคุณภาพโดยไดร้ ับ
การประเมินผลจากผเู้ ช่ียวชาญ 5 ทา่ น เพอ่ื ตรวจสอบเน้ือหาและภาษาทใ่ี ชใ้ นแตล่ ะชุดฝึก และนา
ขอ้ เสนอแนะมาปรบั ปรุงแกไ้ ข จากน้นั ผวู้ จิ ยั ไดน้ าชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ไปทดลองตามข้นั ตอน
ของ การหาคุณภาพของชุดฝึกในการทดสอบแบบเด่ียว แบบกลุ่ม เม่ือผา่ นการทดลองแตล่ ะข้นั ตอนได้
นาขอ้ ปัญหาตา่ ง ๆ ทพ่ี บเห็นมาปรบั ปรุงแกไ้ ข ก่อนจะนาไปทดสอบภาคสนาม ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ทฤษฎี
การเรียนรู้ของ John Dewey ทกี่ ล่าววา่ การจดั การเรียนการสอน ตอ้ งเนน้ เดก็ เป็ นสาคญั เรียนรูโ้ ดย
การกระทาและฝึกปฏบิ ตั จิ ริง และการทผี่ เู้ รียนไดฝ้ ึกหดั หรือทาซ้า ๆ บอ่ ย ๆ ยอ่ มจะทาใหเ้ กิดความ
สมบูรณ์ถูกตอ้ ง ซ่ึงจะเป็นความมน่ั คงของสิ่งทีเ่ รียน ความรูท้ ีไ่ ดค้ งทนถาวร กติกา สุวรรณสงพงศ์
(2541 : 42–43)

2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน วชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ จากการ
จดั การเรียนรู้โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน ท้งั น้ี เน่ืองจาก ชุดฝึก
เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์มีลาดบั เน้ือหาเรียงจากงา่ ยไปยาก มีการเสริมแรงเม่ือนกั เรียน ทาแบบฝึกหดั
ถูกตอ้ ง มีการสรุป กฎ นิยามท่ีชดั เจน และยงั เชื่อมโยงความรู้เดิมก่อนท่จี ะเรียนความรู้ใหม่ทาให้
ผเู้ รียนเกิดความทา้ ทายท่ยี ากจะเรียนรู้ เกิดเจตคติทด่ี ีต่อวชิ าคณิตศาสตร์ ส่งผลให้ชุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์มีประสิทธิภาพ และทาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน ซ่ึงสอดคลอ้ ง
กบั งานวจิ ยั ของวชิรนุช สินธุชยั (2541 : บทคดั ยอ่ ) ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ อิสระ เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริม
ทกั ษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง การคูณ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 6 ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ พบวา่ คะแนนทกั ษะการ
คดิ เลขเร็วหลงั ฝึกดว้ ยแบบฝึกสูงกวา่ คะแนนก่อนฝึกดว้ ยแบบฝึกเสริมทกั ษะคดิ เลขเร็ว เรื่อง การคูณ
อยา่ งมีนยั สาคญั ท่รี ะดบั 0.01 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของจรีพร สามารถ (2543 : บทคดั ยอ่ ) ได้
ทาการศึกษา เร่ือง การพฒั นาความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ โดยใชช้ ุด
การฝึก สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 5 พบวา่ ผลการทดสอบหลงั ใชช้ ุดการฝึกมีคา่ เฉลี่ยสูงกวา่
ผลการทดสอบก่อนใชช้ ุดการฝึก ซ่ึงมีความแตกต่างของค่าเฉล่ียก่อนฝึกอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ี
ระดบั .01 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของวหิ าญ พละพร (2545 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เรื่อง การพฒั นา
ชุดฝึกเสริมทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทยป์ ัญหาการคูณการหาร สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี
ที่ 4 ผลการศึกษา พบวา่ หลงั จากใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะแลว้ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 มีผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง โจทยป์ ัญหาการคูณการหาร สูงกวา่ ก่อนการใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .01 สอดคลอ้ ง สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของสุเทวี แกว้ นิมิตดี (2547 :
บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ สาหรับนกั เรียนช้นั
ประถมศึกษาปี ท่ี 4 ผลการศกึ ษา พบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง การพฒั นาแบบ
ฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01 สอดคลอ้ ง

86

กบั งานวจิ ยั ของอาจารีย์ สฤษด์ิไพศาล (2547 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา การพฒั นาแบบฝึกทกั ษะวชิ า
คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก การลบ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 ผลการศึกษาพบวา่
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก การลบ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3
ที่ไดร้ ับการสอนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ี
ระดบั .01 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของจกั รพงษ์ ทองสิงห์ (2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการวจิ ยั เรื่อง การ
พฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก และการลบจานวนเตม็

สาหรับช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ผลการวจิ ยั พบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน สาระการเรียนรูข้ อง
นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ทไี่ ดร้ ับการสอนโดยใชช้ ุดฝึกทกั ษะหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน อยา่ ง
มีนยั สาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของธนพร สาลี (2549 : บทคดั ยอ่ ) ได้
ทาการศึกษา เรื่อง การพฒั นาชุดฝึกเสริมทกั ษะกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ือง โจทยป์ ัญหา
อตั ราส่วนและรอ้ ยละ สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 ผลการศึกษาพบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ เร่ือง โจทยป์ ัญหาอตั ราส่วนและร้อยละ สาหรบั นกั เรียนช้นั
มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ท่ไี ดร้ ับการสอนโดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั
ทางสถิติทีร่ ะดบั .01 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของนฤชล ศรีมหาพรหม (2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการวจิ ยั
เรื่อง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง การแกโ้ จทยป์ ัญหาสมการ สาหรับช้นั
มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 โรงเรียนนางรอง อาเภอนางรอง จงั หวดั บุรีรัมย์ ผลการวจิ ยั พบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรียน เรื่อง การแกโ้ จทยป์ ัญหาสมการ หลงั เรียนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั
ทางสถิติทร่ี ะดบั .01 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของวรี พงษ์ มุลทา และปนดั ดา แกว้ เสทอื น (2550 :
บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ช้นั
มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ผลการศกึ ษา พบวา่ ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและหลงั เรียนการ
จดั การเรียนการสอน โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง เศษส่วน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ที่
ผศู้ กึ ษาคน้ ควา้ ไดส้ รา้ งข้นึ ไดค้ ะแนนหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01
สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของศริ ประภา พาหลง (2550 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เรื่อง การพฒั นา
แผนการจดั การเรียนรู้โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั จานวนจริง
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ผลการศกึ ษา พบวา่ คะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง ความรู้
เบ้อื งตน้ เกี่ยวกบั จานวนจริง ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ี
ระดบั .01 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของกีรติ สายสิงห์ (2551 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา เร่ือง การพฒั นา
ชุดฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง เลขยกกาลงั สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ผลการศึกษา พบวา่
คะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง เลขยกกาลงั สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ที่
ไดร้ บั การสอนโดยใชช้ ุดฝึกหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01 สอดคลอ้ ง

87

กบั งานวจิ ยั ของClarkson (1979 : 4101-A) ไดศ้ กึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทกั ษะการแปลความหมายใน

วชิ าคณิตศาสตร์ กบั ความหมายในการแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ และศึกษาดูวา่ นกั เรียนจะใชก้ ารแปล

ความหมายในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์หรือไม่ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ท่ีเรียนพชี คณิต

จานวน 5 หอ้ งเรียน นามาทดสอบความสามารถในการแปลความหมาย 3 ฉบบั คอื ลกั ษณะที่เป็ นภาษา

ลกั ษณะที่เป็นสญั ลกั ษณ์ และลกั ษณะที่เป็นรูปภาพ แลว้ นาคะแนนไปหาความสมั พนั ธก์ บั คะแนน

ความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหา แตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ นอกจากน้ียงั พบวา่ ทกั ษะ

การแปลความหมายเป็นองคป์ ระกอบหน่ึงของความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์

สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ Hall and Dudly William (1979 : 6325–A) ไดศ้ ึกษาผลการสอนวเิ คราะห์

การแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์และความสามารถในการวเิ คราะห์ ตวั อยา่ งประชากรเป็ นนกั เรียนช้นั

ประถมศกึ ษาปี ท่ี 5 จานวน 60 คน ซ่ึงแบง่ เป็ นกลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคุม กลุ่มละ 30 คน โดยแต่ละ

กลุ่มประกอบดว้ ยนกั เรียนทค่ี าดคะเนเก่งและไม่เก่ง กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองไดเ้ รียนเก่ียวกบั การ

วเิ คราะหเ์ ป็นเวลาเรียน 8.5 ชวั่ โมง แลว้ ทาการทดสอบการวเิ คราะหแ์ ละการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์ พบวา่

นกั เรียนทีเ่ รียนการวเิ คราะห์ มีความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์สูงกวา่ นกั เรียนทไ่ี ม่ได้

เรียนการวิเคราะห์ และสอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของChukwu (1987 : 2492–A) ไดศ้ กึ ษาเกี่ยวกบั ผลการ

สอนโจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ ไดส้ รุปวา่ การสอนโจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ท่ไี ดผ้ ล จะตอ้ งมีการฝึกให้

นกั เรียนสามารถวเิ คราะหโ์ จทยเ์ สียก่อน และผลจากการพฒั นาความสามารถในการวเิ คราะห์โจทย์

ปัญหาน้ีเอง จะช่วยทาใหน้ กั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนโจทยป์ ัญหาสูงข้นึ

3. ความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการจดั การเรียนรูด้ ว้ ยชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์

เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 อยใู่ นระดบั มาก ท้งั น้ี เน่ืองจากชุดฝึกเสริมทกั ษะ

คณิตศาสตร์ท่ีผวู้ จิ ยั สร้างข้ึนน้นั เน้ือหาเริ่มจากงา่ ยไปยาก ภาษาเหมาะสมกบั นกั เรียน เปิ ดโอกาสให้

นกั เรียนไดศ้ กึ ษาดว้ ยตนเอง ตอบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ฝึกความคงทนในการเรียนรู้ มีการ

วดั ผลท่ีแน่นอน ท้งั การทดสอบในระหวา่ งที่เรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียน เพอ่ื วดั ความกา้ วหนา้ ในการ

เรียนใหเ้ ห็นอยา่ งชดั เจน จงึ มีผลทาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้นึ และทาใหน้ กั เรียนมีเจตคติทด่ี ีต่อ

วชิ าคณิตศาสตร์ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของประนอม ประทมุ แสง (2549 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา

เร่ือง การพฒั นาแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ Learning Together โดยใชแ้ บบฝึก

ทกั ษะ เรื่อง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ผลการศึกษา

พบวา่ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 มีความพงึ พอใจต่อการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ

Learning Together โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ โดยรวมและเป็ นรายขอ้ อยใู่ น

ระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ วรี พงษ์ มุลทา และปนดั ดา แกว้ เสทือน (2550 : บทคดั ยอ่ ) ได้

ทาการศึกษา เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ผล

88

การศกึ ษา พบวา่ ความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง
เศษส่วน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 มีความพอใจระดบั มาก และยงั สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของศิรประภา พา
หลง (2550 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษา เร่ือง การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้โดยใชแ้ บบฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั จานวนจริง ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 ผลการศึกษา พบวา่
ความพงึ พอใจของนกั เรียนท่มี ีตอ่ การเรียนดว้ ยแผนการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์เร่ือง ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั จานวนจริง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 มีค่าเฉล่ียเทา่ กบั 3.87 ซ่ึง
เห็นวา่ มีความพอใจระดบั มาก

จากผลการศกึ ษาที่กล่าวมาท้งั หมด แสดงใหเ้ ห็นวา่ การจดั การเรียนรูโ้ ดยใชช้ ุดฝึกเสริม
ทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและรอ้ ยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ทผี่ ศู้ กึ ษาสร้างข้นึ อยา่ งมี
ประสิทธิภาพจะทาให้ผเู้ รียนมีความสามารถทางการเรียนหรือผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้นึ และมี
ความกา้ วหนา้ และพฒั นาทางการเรียนเพม่ิ ข้ึน ท้งั น้ีอาจเน่ืองมาจากชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์และ
การจดั การเรียนรู้มีข้นั ตอนทส่ี มบูรณ์ คานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ความสามารถของนกั เรียน

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
1. การนากิจกรรมการเรียนรู้ โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและ

ร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 น้ีไปใช้ ครูผสู้ อนควรปรับปรุงใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพของนกั เรียน
หอ้ งเรียน จึงสามารถทารูปแบบการจดั การเรียนรูไ้ ปพฒั นาประกอบการจดั การเรียนการสอนในสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้

2. ครูผสู้ อนควรเตรียมการสอน ตามทก่ี าหนดไวใ้ นกิจกรรมการเรียนรูล้ ่วงหนา้ โดยตอ้ ง
ทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั เน้ือหา และข้นั ตอนการสอนเตรียมกิจกรรม เรียนรู้การใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ซ่ึงเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่สาคญั
และควรศึกษาเกี่ยวกบั การประเมินจากสภาพจริงเพอื่ ใหส้ ามารถวางแผนในการจดั และประเมินผลได้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ

3. การพฒั นาทกั ษะคณิตศาสตร์จากชุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและ
ร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ท่ีผรู้ ายงานไดศ้ กึ ษาสามารถนาไปใชป้ ระยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนการสอน
วชิ าคณิตศาสตร์ช้นั อ่ืนหรือวชิ าอื่นได้

ข้อเสนอแนะในการศึกษา
1. ควรศึกษาเก่ียวกบั ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ

คณิตศาสตร์ เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ในเน้ือหาบทเรียนอ่ืน ๆ

89

2. ควรศกึ ษาเกี่ยวกบั ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ร่วมกบั ตวั แปรอื่น ๆ ทีม่ ีผลตอ่
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

3. ควรนากิจกรรมการเรียนรู้ โดยใชช้ ุดฝึกเสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและ
ร้อยละ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 น้ีไปปรบั ใชก้ บั นกั เรียนในโรงเรียนอ่ืน ๆ และเก็บขอ้ มลู การศกึ ษาท้งั
ในดา้ นครู นกั เรียนและผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ ง


Click to View FlipBook Version