ค ำน ำ โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยจัดขึ้นเพื่อเป็นแหล่งความรู้และความรู้ เพิ่มเติมของวิชาภาษาไทยซึ่งผู้จัดท าได้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับ ค าราชาศัพท์ ไว้ใน โครงงานเล่มนี้ และโครงงานเล่มนี้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ทุกคน ถ้าผิดผลาด ประการใดทางคณะผู้จัดท าจึงขออภัย ณ ที่นี้ด้วย
“ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุขมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน ทรงท านุบ ารุงบ้านเมือง บ าบัดทุกข์ บ ารุงสุขของอาณาประชาราษฎร์ด้วย ทศพิธราชธรรมและ ขัตติยวัตร ขัตติยธรรม พระมหากรุณาธิคุณดังกล่าวท าให้ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของปวงชนชาวไทยตลอดมา บรรพชนไทยเคารพสักการะพระมหากษัตริย์และต้องการแสดงออกว่า เทิดทูนพระประมุขของชาติไว้สูงสุด จึงคิดถ้อยค าที่ควรค่าแก่พระเกียรติ มาใช้ เป็นค าราชาศัพท์ในการกราบบังคมทูลพระกรุณาให้ต่างจากถ้อยค า ที่สามัญชนพูด ค าราชาศัพท์ได้ก าหนดใช้เป็นแบบแผนสืบต่อกันมาถือเป็น วัฒนธรรมทางภาษาอันเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของชาติ”
ที่มำและควำมส ำคัญ การเร ี ยนภาษาไทยม ี บทเร ี ยนท ี่น ่ าสนใจมาก โดยเฉพาะบทเร ี ยนเร ื่อง คา ราชา ศพัท ์ ซ่ึ งทางคณะผ ู จ ้ ดัทา ม ี ความค ิ ดเห ็ นวา ่ คา ราชาศพัทเ ์ป็ นเร ื่องท ี่ยง ุ ่ ยากสา หรับผ ู ้ ท ี่ศ ึ กษาแลว ้ไม ่ไดน ้ า มาใชป้ ระโยชน ์ ดงัน ้ นัคณะผจ ู ้ ดัทา จ ึ งศ ึกษาเรื่องค าราชาศัพท์ เพ ื่อทา ให ้ ผ ู ท ้ี่ศ ึ กษาเก ิ ดความร ู ้ ความเขา ้ใจในคา ราชาศพัท ์ มากข ้ึน ท าให้การเรียน การสอนคา ราชาศพัทไ์ ม ่ น ่ าเบ ื่อและใชเ ้ป็ นส ื่อในการสอนและผศ ู ้ึ กษาจะได้มีความ กระต ื อร ื อร ้ นในการศ ึ กษามากยง ิ่ข ้ึ นดว ้ ย
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ความรุ้เรื่องค าราชาศัพท์ 2.เพื่อน าค าราชาศัพท์ไปใช้ให้ เหมาะสมในแต่ละโอกาส 3.เพื่อท าให้ผู้ศึกษามีความ กระตือรือร้นมากขึ้น ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1.ได้รับความรู้เรื่อง ค าราชาศัพท์ 2.สามารถน าค าราชาศัพท์ไปใช้ให้ เหมาะสมในแต่ละโอกาส 3.ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นใน การเรียนมากขึ้น
ควำมหมำยของค ำรำชำศัพท์ ค าราชาศัพท์ คือ ถ้อยค าที่สุภาพไพเราะที่ใช้ให้ เหมาะกับฐานะของบุคคลในสภาพสังคมไทย ซึ่งถือ หลักแบ่งตามวัยวุฒิ คุณวุฒิ และชาติวุฒิ ได้แก่ 1.พระมาหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ 2.พระบรมวงศานุวงศ์ 3.พระภิกษุสงฆ์ 4.ขุนนาง ข้าราชการ 5.สุภาพชน
วิธีกำรใช้ค ำรำชำศัพท์ 1.กำรใช้ทรง 2.กำรใช้พระบรม พระรำช พระ 3.กำรใช้ค ำขึ้นต้นและลงค ำลงท้ำย 4.กำรใช้นำมรำชำศัพท์ 5.กำรใช้รำชำศัพท์ให้ถูกต้อง
1.กำรใช้ทรง ทรงกีฬำ ทรงบำตร ทรงช้ำง ทรงดนตรี ทรงงำน ทรงธนู ทรงธรรม ทรงวิ่ง ทรงศึกษำ ทรงกรุณำ ทรงขว้ำง ทรงยินดี ทรงรับ ทรงสั่งสอน 1.1.ทรง+ค ำนำมสำมัญบำงค ำ และ ทรง+ค ำกริยำ สำมัยบำงค ำท ำเป็นกริยำศัพท์ได้ เช่น
1.2.ทรง+ค ำรำชำศัพท์ที่เป็นนำมบำงค ำ เป็น ค ำกริยำรำชำศัพท์ได้ เช่น ทรงพระอักษร ทรง พระรำชด ำริ ทรงพระ ประชวร ทรงพระสุบิน ทรงพระผนวช ทรงพระกรุณำ กำรใช้ทรง(ต่อ)
กำรใช้ทรง(ต่อ) 1.3.ค ำที่เป็นกริยำรำชำศัพท์อยู่แล้วไม่ต้องมีค ำว่ำ ทรงน ำหน้ำ เช่น ด ำเนิน เสวย ประชวร สรง พระรำชทำน ประสูติ เสด็จ โปรด ตรัส ประทับ บรรทม เสด็จพระรำช ด ำเนิน พอพระรำช หฤทัย ทอดพระเนตร พิโรธ ยกเว้น ผนวช ใช้ ทรงผนวช ได้
กำรใช้ทรง(ต่อ) 1.4.เมื่อใช้ค ำว่ำ มี หรือ เป็น หน้ำค ำรำชำศัพท์ ไม่ต้องใช้ทรงน ำหน้ำอีก เช่น พระรำชธิดำ(เป็น+พระรำชธิดำ=เป็นพระรำชธิดำ) พระรำชประสงค์(มี+พระรำชประสงค์=มีพระรำชประสงค์) พระรำชด ำรัส=มีพระรำชด ำรัส พระกรุณำ=เป็นพระกรุณำ
2.กำรใช้พระบรม พระรำช พระ 2.1.พระบรม หรือ พระบรมรำช น ำหน้ำ ค ำนำมที่ส ำคัญยิ่งส ำหรับพระมหำกษัตริย์ โดยเฉพำะ เช่น พระบรมำมหำรำชวัง พระปรมำภิไธย พระบรมเดชำนุภำพ พระฉำยำลักษณ์ พระบรมรำชโองกำร พระบรมรำโชวำท พระบรมวงศำนุวงศ์
กำรใช้พระบรม พระรำช พระ(ต่อ) 2.2.พระรำช น ำหน้ำค ำนำมที่ใช้เฉพำะ พระมหำกษัตริย์และสมเด็จพระบรมรำชินีเป็นสิ่ง ส ำคัญรองลงมำจำกพระบรม เช่น พระรำชวัง พระรำชทรัพย์ พระรำชหฤทัย พระรำชพำหนะ พระรำชหัตถเลขำ
กำรใช้พระบรม พระรำช พระ(ต่อ) 2.3.พระน ำหน้ำค ำสำมัญที่ใช้ส ำหรับพระมหำกษัตริย์และพระ รำชวงศ์เพื่อให้แตกต่ำงกับสำมัญชน เช่น พระเก้ำอี้ พระที่นั่ง พระต ำหนัก พระแสง พระบำท พระหัตถ์ พระเจ้ำ พระนำสิก พระชะตำ ***แต่ก็มีบำงค ำที่ไม่ใช้ พระ ประกอบหน้ำ เช่น ฉลอง พระบำท ฉลองพระองค์ ธำรพระกร บ้วนพระโอษฐ์ แปรง ช ำระพระทนต์ ฉลองพระเนตร ฉลองพระถัตถ์ รถพระที่นั่ง จำนเสวย โต๊ะทรงอักษร
กำรใช้พระบรม พระรำช พระ(ต่อ) 2.4.หลวง ต้น ประกอบท้ำยค ำนำมทั่วไป เพื่อแสดงว่ำ เกี่ยวข้องกับพระมหำกษัตริย์ เช่น หลวง (ใช้กับคน สัตว์ สิ่งของ) ต้น (ใช้กับสัตว์และสิ่งของเป็นชั้นดี) ลูกหลวง ม้าต้น หลานหลวง ช้างต้น แพทย์หลวง เรือต้น เรือหลวง เครื่องต้น รถหลวง ป่าต้น
กำรใช้พระบรม พระรำช พระ(ต่อ) 2.5.ค ำขยำยควำม ค ำรำชำศัพท์บำงค ำมี ควำมหมำยใกล้เคียงกัน ควรมีควำมรู้เรื่อง ควำมหมำยให้ถูกต้อง เช่น พระรำชด ำรัสหรือพระรำชกระแส = ค ำพูด พระบรมรำชโองกำร = ค ำสั่ง พระรำชปฏิสันถำร = ค ำทักทำย พระรำชปุจฉำ =ค ำถำม พระบรมรำโชวำท =ค ำสอน
3.กำรใช้ค ำขึ้นต้นและลงท้ำย ใช้กับ ค ำขึ้นต้น ค ำลงท้ำย พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ขอเดชะฝ่าละอองธุลี พระบาทปกเกล้าปก กระหม่อม ด้วยเกล้าด้วย กระหม่อมขอเดชะ พระราชินี พระยุพราช พระบรมราชกุมารี ขอพระราชทานกราบ บังคมทูลทราบฝ่า ละอองพระบาท ด้วยเกล้าด้วย กระหม่อมขอเดชะ ควรมิควรแล้วแต่ จะทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรด กระหม่อม สมเด็จเจ้าฟ้า พระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ควรมิควรแล้วแต่ จะโปรดเกล้าโปรด กระหม่อม พระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า ขอประทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ควรมิควรแล้วแต่ จะโปรดเกล้าโปรด กระหม่อม พระอนุวงศ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอและพระวรวงศ์เธอ กราบทูลทราบฝ่าพระ บาท ควรมิควรและแต่ จะโปรด
ค ำรำชำศัพท์ หมวดร่ำงกำย ค ำศัพท์ ค ำรำชำศัพท์ ผม พระเกศา หัว พระเศรียร จมูก พระนาสิก ตา พระเนตร ปาก พระโอษฐ์ แขน พระกร มือ พระหัตถ์
ค ำรำชำศัพท์ หมวดร่ำงกำย ค ำศัพท์ ค ำรำชำศัพท์ หน้าผาก พระนลาฎ คิ้ว พระขนง ใบหน้า พระพักตร์ คาง พระหนุ คอ พระศอ เข่า พระชานุ เท้า เท้า
ค ำรำชำศัพท์ ค ำศัพท์ ค ำรำชำศัพท์ ค ำศัพท์ ค ำรำชำศัพท์ ของกิน เครื่องเสวย ผักบุ้ง ผักทอดยอด ของคาว เครื่องคาว เห็ดโคน เห็ดปลวก ของเคียง เครื่องเคียง ปลาช่อน ปลาหาง ของว่าง เครื่องว่าง ปลาสลิด ปลาใบไม้ ผักตบ ผักสามหาว ของหวาน เครื่องหวาน กะปิ เยื่อเคย ถั่วงอก ถั่วเพาะ ปลาร้า ปลามัจฉะ ปลาไหล ปลายาว
ค ำรำชำศัพท์ ค ำศัพท์ ค ำรำชำศัพท์ ค ำศัพท์ ค ำรำชำศัพท์ ยา พระโอสถ แหวน พระธ ามรงค์ จดหมาย พระราชหัตถเลขา ตาย สวรรคต ป่วย ประชวน แก้วน้ า แก้วเสวย ประตู พระทวาร หวี พระสาง ฟูก พระยี่ภู่ หัวเข็มขัด พระปั้นเหน่ง ช้อน ฉลองพระหัตถ์ช้อน ที่นั่ง พระราชอาสน์ เปล พระอู่ รองเท้า ฉลองพระบาท
สรุป ค ำรำชำศัพท์ คือ ถ้อยค ำสุภำพไพเรำะที่ใช้ให้เหมำะ กับฐำนะของบุคคลในสภำพสังคมไทย
จัดท าโดย น.ส.สุภาวดี พลอาชา ม.3/2 เลขที่04 น.ส.ชลดา จันคง ม.3/2 เลขที่13 น.ส.เบญจวรรณ รวบรวม ม.3/2 เลขที่14 น.ส.ศศิวิมล ทองเนียม ม.3/1 เลขที่18 ด.ญ.หทัยรัตน์ เกตุแก้ว ม.3/2 เลขที่21 เสนอ นางผกามาศ บุตรสนาม