Geography
south east of asia
จัดทำโดย
ด.ญ.ณชนก เสริมประเสริฐกุล เลขที่ 7
ด.ญ.ตมิศา คุณาวุฒิ. เลขที่ 15
ด.ญ.เมธาพร อภิชนบุตร เลขที่ 26
ด.ญ.เมธาพร ไพศาลตันติวงศ์ เลขที่ 27
ด.ญ.รพีภัทร ตาปสนันท์ เลขที่ 28
ด.ญ.วรกมล เตชะวรพัฒนา เลขที่ 30
ด.ญ.วรณัฐฎ์ จันทร์เผ่าแสง เลขที่ 31
ด.ญ.อัมพรรณ์ คอร์คมาซ เลขที่ 36
สารบัญ
ที่ตั้ง ขนาดและอาณาเขต
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะเศรษฐกิจ
ลักษณะสังคม วัฒนธรรมและ
ประชากร
สถานที่ท่องเที่ยว
ประเทศและเมืองหลวง
ภูมิอากาศ
แผนที่ภูมิภาค
ที่ตั้ง
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่
ทางซีกโลกตะวันออกและทางตะวัน
ออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียดยตั้งอยู่
ประมาณระหว่างละติจูดที่ 10 องศา
ใต้ถึงละติจูดที่ 28 องศาเหนือ และ
ระหว่างลองจิจูดที่ 92 องศาตะวัน
ออกถึง 141 องศาตะวันออก
อาณาเขต
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพื้นที่
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็น ภาค
พื้นทวีปและส่วนที่เป็นหมู่เกาะ ส่วนที่เป็น
ภาคพื้นทวีปเป็นพ ประกอบด้วย
ประเทศไทย สหภาพ พม่า ลาว เวียดนาม
กัมพูชา บางส่วนของประเทศมาเลเซีย
ส่วนที่เป็นหมู่เกาะ ได้แก่ ประเทศฟิลิปปินส์
อินโดนีเซีย บรูไน สิงคโปร์ บางส่วนของ
ประเทศมาเลเซีย และประเทศติมอร์-เลสเต
ลักษณะภูมิประเทศ
1)บริเวณทิวเขาและที่ลาดเชิงเขา วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ แผ่กระจายมา
จากชุมเขายูนนาน โดยมี 3 แนว ได้แก่
1.แนวทิศตะวันตก คือทิวเขาอะระกันในพม่าต่อเนื่องไปในทะเลอันดามัน
2.แนวกลาง เป็นทิวเขาด้านทิศตะวันออกของพม่าต่อเนื่องลงไปถึงภาค
เหนือของไทยจนถึงภาคใต้
3. แนวทิศตะวันออก คือทิวเขาในลาวและเวียดนาม
2)บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ เป็นพื้นที่ราบหรือค่อนข้างราบที่เกิดจากการ
ทับถมของตะกอนจากแม่น้ำ พบอยู่สองฝั่ งของแม่น้ำ บริเวณที่ราบลุ่ม
แม่น้ำเป็นแหล่งที่ตั้งของชุมชนและการเกษตรที่สำคัญของภูมิภาค
3)บริเวณที่ราบชายฝั่ งทะเล บริเวณนี้ประกอบด้วยพื้นที่สามลักษณะ
1. คือ บริเวณที่เป็นหาดทรายที่เกิดจากการทับถมของทราย 2. คือ
บริเวณพื้นที่ที่เป็นดินเลน มักจะพบป่าไม้ธรรมชาติ เช่น ป่าโกงกาง
ป่าจาก เป็นต้น มีความสำคัญต่อระบบนิเวศ พื้นที่ลักษณะที่สาม คือ
พื้นที่ที่อยู่ห่างจากชายฝั่ งทะเล เป็นหาดทรายหรือหาดเลนเข้าไปใน
แผ่นดิน พื้นที่ค่อนข้างราบ เกิดจากการทับถมของทรายหรือเกิดจาก
การผุพังของหิน
4)บริเวณหมู่เกาะ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยเกาะ
ขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากมาย ประเทศที่มีหมู่เกาะจำนวนมาก
ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย มีเกาะมากกว่า 13,000 เกาะ ประเทศ
ฟิลิปปินส์มีเกาะประมาณ 7,000 เกาะ
ลักษณะทาง
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคนี้โดยพื้น
ฐานดั้งเดิมขันกับภาคเกษตรและการทำป่าไม้
แต่ปัจจุบันได้เริ่มพัฒนาภาคอุตสาหกรรมจน
สามารถส่งเป็นสินค้าออกแข่งขันในตลาดโลก
ได้นอกจากนั้นประเทศในภูมิภาคนี้ส่วนใหญ่
เป็นมีแหล่งทรัพยากรน้ำมันและก๊าซ
ธรรมชาติ และแร่ธาตุที่สำคัญจำนวนมาก
หลายประเทศจึงมีรายได้จากการส่งออก
น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ
ลักษณะประชากร
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพื้นที่ 4.5 ล้านตาราง
กิโลเมตร คิดเป็น 10.5% ของทวีปเอเชียและคิดเป็น 3%
ของพื้นที่โลก มีประชากรรวมมากกว่า 641 ล้านคน
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม
ภูมิเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายด้าน
เชื้อชาติมากที่สุดภูมิภาคหนึ่งของโลกจึงได้ชื่อว่าเป็น
"ดินแดนพหุสังคม" ซึ่งมีความแตกต่างด้านความเชื่อ
วิถีชีวิต ภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
วัฒนธรรม
ด้านศาสนา
ประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นับถือ
ศาสนาเหมือนกันและต่างกัน ทำให้มีประเพณีและ
วัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา ได้แก่ ไทย ลาว และ
กัมพูชา ส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาดังนั้น
ประเพณีและวัฒนธรรมจึงคล้ายคลึงกัน เช่น การ
ทำบุญตักบาตร การสดมนต์ไหว้พระ เป็นต้น ส่วนคน
มาเลเซีย บรูไน และอินโดนิเซีย ส่วนใหญ่นับถือศาสนา
อิสลาม จึงมีประเพณีและวัฒนธรรมแบบอิสลาม
เป็นต้น
สถานที่ท่องเที่ยว
เกาะพีพี ,กระบี่ เกาะบาหลี
,ประเทศไทย ,อินโดนีเซีย
ทะเลสาบโทบา,สุมาตรา ฮอยอัน
,อินโดนีเซีย ,เวียดนาม
พระธาตุหลวง,เวียงจันทน์
,ลาว
ประเทศและเมืองหลวง
บรูไน-บันดาร์เสรีเบกาวัน
กัมพูชา-พนมเปญ
ติมอร์ เลสเต-ดิลี
อินโดนีเซีย-จาการ์ตา
ลาว-เวียงจันทน์
มาเลเซีย-กัวลาลัมเปอร์
พม่า-เนปยีดอ
ฟิลิปปินส์-มะนิลา
สิงคโปร์-สิงคโปร์
ไทย-กรุงเทพมหานคร
เวียดนาม-ฮานอย
ภูมิอากาศ
ลักษณะโดยทั่วไปของภูมิอากาศใน
ภูมิภาคเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ที่เด่นชัด
คือร้อนแห้งแล้ง จนพื้นที่ส่วนใหญ่เป็น
ทะเลทราย พื้นที่ส่วนใหญ่จะได้รับ
ปริมาณน้ำฝนน้อยกว่า 10 นิ้วต่อปี โดย
เฉพาะในคาบสมุทรอาหรับปริมาณน้ำฝน
จะน้อยที่สุด
ถึงแม้ว่าในภูมิภาคเอเซียตะวันตกเฉียงใต้
มีทะเลและน่านน้ำต่างๆ ล้อมรอบ แต่
ลักษณะอากาศยังแห้งแล้ง เพราะหย่อม
ความกดอากาศสูงในเขตกึ่งร้อน มี
อิทธิพลต่อภูมิอากาศเขตนี้ตลอดปีทำให้
ลมพายุไม่สามารถพัดพาเข้ามาได้
บรรณานุกรม
http://www.digitalschool.club/digitalschool/tech
nologym4-6/agriculture4_1/lesson4/chapter4/4-
2.php
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0
%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9
5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%
B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%89
%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B
8%95%E0%B9%89
https://allianz-assistance.co.th/travel/best-places-in-asean/
https://sites.google.com/a/sapit.ac.th/hnathi-phlmeuxng-
klum3m-1-2/sarbay-hnathi-phlmeuxng-m-1/hnwy-kar-reiyn-ru-
thi-4-khwam-prxngdxng-smanchanth/reuxng-thi-1-khwam-
hlak-hlay-thang-sangkhm-wathnthrrm-ni-phumiphakh-xecheiy-
tawan-xxk-cheiyng-ti
https://acc.coj.go.th/th/content/category/detail/id/8/cid/914
8/iid/156801
http://www.digitalschool.club/digitalschool/technologym
46/agriculture4_1/lesson4/chapter4/4-2.php
https://sites.google.com/site/klumsarakarreiyn/sersthki
c-khxng-prathes-ni-thwip-xecheiy#
https://www.facebook.com/777201425706617/posts/77721
8855704874/