The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำศัพท์สำคัญเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fimfoxy, 2022-07-08 09:35:44

คำศัพท์สำคัญเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมศึกษา

คำศัพท์สำคัญเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมศึกษา

คำศั พท์สำคัญเกี่ยวกับ
พหุวัฒนธรรมศึ กษา

BETHANY YAKHAM 630210030

100315 MULTICULTURAL EDUCATION & COMMUNITY-BASED EDUCATION

คำศั พท์สำคัญเกี่ยวกับ
พหุวัฒนธรรมศึ กษา

วัฒนธรรม (Culture) ;

เจมส์ สแปรดลีย์ นั กมานุษยวิทยา ได้ให้ความหมายของคำว่า culture ไว้ว่า
"Culture is the acquired knowledge people use to interpret
experience and generate behavior." หรือแปลได้ว่า "วัฒนธรรมคือความ
รู้ที่มนุษย์ใช้ในการตีความประสบการณ์ และเสริมสร้างพฤติกรรม"

วัฒนธรรม (Culture);

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรมว่า
“วัฒนธรรมคือ สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่น
วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย, วิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น
วัฒนธรรมพื้นบ้าน วัฒนธรรมชาวเขา.” (พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน, 2554: ออนไลน์ )

พหุวัฒนธรรมนิยม (Multiculturalism);

“Multiculturalism refers to the existence of difference and uneven
power relations among populations in terms of racial, ethnic, religious,
geographical distinctions and other cultural markers that deviate from

dominant, often racialized, “norms.”” (John Clayton, in International
Encyclopedia of Human Geography (Second Edition), 2020)

ความหลากหลายทาง พหุวัฒนธรรมนิยม (Multiculturalism);
วัฒนธรรม (Cultural
diversity); Andrew Milner และ Jeff Browitt ว่า Multiculturalism
เป็นคำศัพท์ที่ขยายประเด็นความหลากหลายทางวัฒนธรรม
Cultural diversity is “the ไปเป็นเรื่องของรัฐชาติ ระบบกฎหมาย ระบบการศึกษา
existence of societies, นโยบายของรัฐบาลต่อเรื่องสุขภาพ ที่อยู่อาศัย ให้มีการ
communities, or subcultures เคารพในเรื่องภาษา ความเป็นชุมชน วิถีปฏิบัติใน
that differ substantially from ธรรมเนี ยมประเพณีและศาสนา (Andrew Milner, Jeff
one another.” (American Browitt, 2006;235,236)
Psychological Association,
2022: ออนไลน์ ) แปลเป็นภาษา อนุรักษนิยม (Conservatism);
ไทยว่า ความหลากหลายทาง
วัฒนธรรมคือ “การมีอยู่ของสังคม “อุดมคติทางการเมือง การเศรษฐกิจ เป็นต้น ที่มีแนวโน้ มไป
ชุมชน หรือวัฒนธรรมย่อยที่แตก ในทางต้านทานการเปลี่ยนแปลง โดยยึดถือสนั บสนุน
ต่างกันอย่างมากจากกันและกัน” ระเบียบที่ตั้งมั่นอยู่แล้ว.” (พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน, 2554: ออนไลน์ )

เบธานี ยาคำ 630210030 SECTION 006

คำศั พท์สำคัญเกี่ยวกับ
พหุวัฒนธรรมศึ กษา

อนุรักษนิยม (Conservatism); เสรีนิยม (Liberalism);

“Conservatism is the quality of not usually liking or “ทัศนคติทางสั งคมที่ต้องการให้
trusting change, especially sudden change” บุคคลมีสวัสดิการในด้านต่าง ๆ เพิ่ม
(Cambridge Academic Content Dictionary, 2022: ขึ้นและกระจายไปยังคนทุกกลุ่มอย่าง
ออนไลน์ )
ทั่วถึง.” (พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน, 2554: ออนไลน์ )

เสรีนิยม (Liberalism); วาทกรรม (Discourse);

“เสรีนิ ยม” คืออุดมการณ์อันเรียบ มิเชล ฟูโกต์ (Michel Foucault) ได้นิ ยามความหมายของ
ง่ายที่เชิดชูสิทธิเสรีภาพ ความ Discourse (Hall. 2001: 72: citing Hall. 1992: 291) ไว้ว่า
ยุติธรรม และความเสมอภาคเป็น เป็นกลุ่มถ้อยคำที่ใช้แสดงความรู้หรือวิธีการนำเสนอความรู้
พื้นฐาน” Michael Freeden.
(2020). เสรีนิ ยม: ความรู้ฉบับพก เกี่ยวกับหัวข้อเฉพาะในช่วงเวลาประวัติศาสตร์หนึ่ ง ๆ
พา [Liberalism: A Very Short กระบวนการการผลิตความรู้ผ่านภาษา แต่เนื่ องจากปฏิบัติ
Introduction] (เกษียร เตชะพีระ, การต่างๆในสังคมนั้ นก่อให้เกิดความหมายและความหมายดัง
แปล). กรุงเทพฯ: บุ๊คสเคป, บจก. กล่าวย้อนกลับมามีอิทธิพลต่อปฏิบัติการต่าง ๆ ที่เรากระทำ
(ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 2015). ดังนั้ นปฏิบัติการต่าง ๆ จึงถือว่าเป็นปฏิบัติการเชิงวาทกรรม
ด้วยนั้ นคือวาทกรรมมิได้ จำกัด ตัวอยู่ที่เฉพาะภาษา แต่การ
กระทำต่าง ๆ ในสังคมมีมิติของความเป็นวาทกรรมอยู่ด้วย

อุดมการณ์ (Ideology);

อุดมการณ์ คือ “หลักการที่วาง

ระเบียบไว้เป็นแนวปฏิบัติเพื่อให้

หลังสมัยใหม่นิ ยม บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้.”
(พจนานุกรมฉบับ

(Postmodernism); ราชบัณฑิตยสถาน, 2554: ออนไลน์ )

โบดริยาร์ (Jean Baurillard) ได้ การกลืนกลาย
อธิบายความหมายของคำว่า“หลัง (Assimilation);
สมัยใหม่นิ ยม” ในฐานะที่เป็นการ
ปฏิวัติครั้งที่สองที่แสดงให้เห็นถึง การกลืนกลายเป็นเครื่องมือแบบ
การล่มสลายของความหมายและ หนึ่ งที่รัฐใช้ในการสร้างรัฐชาติให้
ทำให้ทฤษฎีทางสังคมก่อนหน้ านี้ เกิดความเป็นอันหนึ่ งอันเดียวกัน
เป็นสิ่งล้าสมัย (อ้างใน Dickens และเพื่อให้ชนกลุ่มน้ อยเข้าผสม
and Fontana, 1994, pp. 3-4) กลมกลืนกับชน
เจมสัน (Fredric Jameson) ได้ กลุ่มใหญ่ โดยผ่าน กฎหมาย
นโยบาย ระบบการศึกษา ฯลฯ

อธิบายความหมายของคำว่า“หลัง

สมัยใหม่นิยม” ในฐานะที่เป็น แนว กระบวนทัศน์ (Paradigm);

โน้ มของโครงสร้างทางวัฒนธรรม กรอบความคิดหรือแนวทางทั่วไปที่ใช้ในการมองโลก หรือ
ที่บริสุทธิ์กว่าและเป็นนามธรรม หมายถึง ระบบคิด วิธีคิด หรือแบบของการคิดที่ใช้เป็นแนว
มากกว่าของระบอบทุนนิ ยมที่เริ่ม ในการศึกษาวิจัยเรื่องใดเรื่องหนึ่ ง หรือเป็นแนวในการจัด
ต้นมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 (อ้าง ระบบในสังคม (สำนั กงานราชบัณฑิตยสภา, 2550:
ใน Dickens and Fontana, 1994, ออนไลน์ )
p. 4)

เบธานี ยาคำ 630210030 SECTION 006

คำศั พท์สำคัญเกี่ยวกับ
พหุวัฒนธรรมศึ กษา

ความเท่าเทียม (Equality);

ความเท่าเทียมกัน คือ ทำตนเสมอต้นเสมอปลาย ปฏิบัติสม่ำเสมอกันในชน
ทั้งหลาย และเสมอในสุขทุกข์โดยร่วมรับรู้ร่วมแก้ไข ตลอดถึงวางตนเหมาะ
แก่ฐานะ ภาวะ บุคคล เหตุการณ์และสิ่งแวดล้อม ถูกต้องตามธรรมในแต่ละ
กรณี(พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต, 2546)

ความเท่าเทียม (Equality);

“Equality is about ensuring that every individual has an equal opportunity to make the most
of their lives and talents.” Equality and Human Rights Commission, (2018), Understanding
equality. Retrieved 2 July 2022, from https://bit.ly/3OPlTiB

ความเสมอภาค (Equity);

“Equity means recognizing that we do not all start from the same
place and must acknowledge and make adjustments to imbalances.”

National Association of Colleges and Employers. (2021), EQUITY.
Retrieved 2 July 2022, from https://www.naceweb.org/about-
us/equity-definition/

ถ้าเรานำมาแปล Equity ก็คือ การตระหนั กและเข้าใจว่า มนุษย์ทุกคนไม่ได้
เริ่มต้นจากที่เดียวกัน และต้องปรับเปลี่ยนความไม่สมดุลนั้ น ๆ

อำนาจนำ (Hegemony);

“Hegemony” หรือ “อำนาจนำ” เป็นคำที่

มีที่มาภาษากรีกที่ว่า“ Hegemon” ที่มี

ความหมายถึงการนำ (leading) การมี

อำนาจเหนื อผู้อื่น (prominent power)

และมักจะมุ่งใช้ในความหมายของการ

ครองอำนาจนำทางการเมือง (political

ความเป็นธรรมทางสั งคม dominance) เป็นส่วนใหญ่”
(วัชรพล พุทธรักษา. (2007). แนวความ

(Social justice); คิดการครองอำนาจนำของกรัมชี่: บท

“ความเป็นธรรมทางสังคม คือ ทดลองเสนอในการอธิบาย

แนวคิดที่ว่าด้วยความเป็นธรรมใน ปรากฏการณ์ทางการเมืองไทย, หน้ า 1)

ทุกมิติของสังคม อาจหมายถึงการ

ปฏิบัติต่อกันอย่างเป็นธรรม หรือ คนชายขอบ (Marginal people);

การแบ่งปันกันอย่างเป็นธรรมก็ได้ คนชายขอบ คือ คนที่อยู่ห่างไกล

ความเป็นธรรมทางสังคมนั้ น เป็น จากสังคม มักหมายถึงผู้ที่ไม่ได้รับ

ทั้งปัญหาทางปรัชญาและมีความ การดูแล ไม่ได้รับบริการหรือความ

สำคัญในมิติต่าง ๆ เช่น การเมือง คุ้มครองจากรัฐอย่างที่คนอื่น ๆ ได้

ศาสนา และสังคม ฯลฯ” รับ เป็นคนที่ต้องดูแลตนเอง และมี

(Salforest. (2556), Social วัฒนธรรมของตนเอง ที่อาจจะแตก

Justice. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม ต่างจากวัฒนธรรมของคนที่อยู่ใน

2565, จาก เมือง (สำนั กงานราชบัณฑิตยสภา,

https://bit.ly/31BPWSb 2550: ออนไลน์ )
เบธานี ยาคำ 630210030 SECTION 006

คำศั พท์สำคัญเกี่ยวกับ
พหุวัฒนธรรมศึ กษา

การเหมารวม (Stereotype);

“การเหมารวม คือ ทัศนคติจากประสบการณ์ที่เคยเจอ ซึ่งคนกลุ่มหนึ่ ง
มีต่อคนอีกกลุ่มหนึ่ ง เช่น เชื้อชาติ ศาสนา การเมือง เพศ ไปจนถึงกลุ่ม
การชอบที่เป็น sub-culture ของสังคม จนกลายเป็นมาตรฐานใน
การตัดสิน และเชื่อไปว่าพวกเขาเป็นแบบนั้ นเหมือนกันหมด โดยอาจ
เป็นได้ทั้งในทางที่ดี ละไม่ดี” (สิริลักษณ์ สุขสวัสดิ์. (2563). ภายนอก
เหมือน แต่ในใจไม่ใช่ เมื่อ ‘การเหมารวม’ สร้างบาดแผลให้ผู้บริสุทธิ์.
สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2565, จาก
https://urbancreature.co/stereotype-threat/)

การสร้างภาพตัวแทน (Representation);

“ภาพตัวแทน (Representation) ฮอลล์ (Stuart Hall,1997,4) กล่าวว่าภาษาเป็นสิ่งหนึ่ งที่
สามารถบอกได้ถึงความหมายของสิ่งต่าง ๆ สามารถจะเป็นตัวกำหนดและจัดการความประพฤติ
และการปฏิบัติต่าง ๆ ความหมายของภาษาจะช่วยในการตั้งกฎ บรรทัดฐาน และขนบธรรมเนี ยม
ต่าง ๆ ที่สั่งการและควบคุมชีวิตคน” (ปรีดา นั คเร. (2559). การประกอบสร้างความหมาย
ภาพตัวแทนแรงงานข้ามชาติ โรฮิงญา (Rohingya) ผ่านเว็บไซต์ข่าวนานาประเทศ. วารสาร
นิ เทศศาสตร์และนวัตกรรม นิ ด้า, 3(1), 57.)

ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ (Power relations);

“In interpersonal interaction, the relative status, power, and/or dominance of the
participants, reflected in whether expectations and behavior are reciprocal, and
consequently in communicative style.” (Daniel Chandler and Rod Munday. (2011). A
Dictionary of Media and Communication (1 ed.). Oxford University Press, Retrieved

from https://bit.ly/3nMamVC)

อคติ (Bias/prejudice);

“อคติตามความหมายของสำนั กงาน

ราชบัณฑิตยสภา คือ ‘ทางที่ไม่ควร

ดำเนิ น ความลำเอียง’ ซึ่งอคติมักมี

พื้นฐานมาจากลักษณะแนวคิดแบบ

ความเป็นอื่น (Otherness); เหมารวมมากกว่าการยอมรับในความ
แตกต่างหรือบริบทสถานการณ์ ที่เกิด
“ความเป็นอื่น คือ การมองคนอื่น ขึ้น ไม่ว่าจะร้ายหรือดี” (Thos. (2562).
ที่ไม่ใช่พวกของตนว่าเป็นคนด้อย

ค่าหรือศัตรู ซึ่งเป็นผลมาจากการ How to…: จัดการกับอคติในการ

สร้างระบบความคิดผ่านบทเรียน บริหารและประเมินงานอย่างไร?.
ประวัติศาสตร์ที่มีคนไทยเป็นคน สืบค้นจาก https://bit.ly/2L2w3Nh)
เอก มีกลุ่มคนเมียนมาเป็นตัวร้าย

และผลจากความรุนแรงเชิง การเลือกปฏิบัติ (Discrimination);
โครงสร้างนโยบายการดำเนิ นการ
ควบคุมแรงงานข้ามชาติ” “Discrimination occurs when a person is unable to
(จิราภรณ์ ไพรเถื่อน. (2564). enjoy his or her human rights or other legal rights on
“ความเป็นอื่น” และการเข้าถึง an equal basis with others because of an unjustified
สวัสดิการทางสั งคมของแรงงาน distinction made in policy, law, or treatment.”
ข้ามชาติชาวเมียนมาที่ถูกกฎหมาย (Amnesty International. (2019). DISCRIMINATION.
ในสถานการณ์โควิด-19. สืบค้น สืบค้นจาก https://bit.ly/3Pt19NV

จาก https://bit.ly/3P7aGKc
เบธานี ยาคำ 630210030 SECTION 006

คำศั พท์สำคัญเกี่ยวกับ
พหุวัฒนธรรมศึ กษา

Gender (เพศสภาวะ หรือเพศสภาพ);

“เพศภาวะ” หมายความว่า ภาวะความเป็นหญิง ความเป็น
ชายที่ถูกกำหนดโดยปัจจัยแวดล้อม สังคมและ

วัฒนธรรมในช่วงเวลาหนึ่ ง ๆ” (จุฬารัตน์ ยะปะนั น.
(2553). ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองอนามัยการเจริญ

พันธุ์, หน้ า 96)

เพศหลากหลาย (LGBTQ- Lesbian, Gay, Bisexual,
Transgender and Queer);

“เพศหลากหลาย หรือ LGBTQ เป็นคำที่หมายถึงกลุ่มเพศทางเลือกที่ไม่ใช่
กลุ่มเพศตามเพศสภาพหรือ Cisgender” (ดวงพร ช่างทอง. กฎหมายว่าด้วย
เรื่องของความเท่าเทียมระหว่างเพศ : ศึกษากรณีความหลากหลายทางเพศ
ตอนที่ ๑ เพศสภาพ และ LGBTQ คืออะไร. สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2565,
จาก https://bit.ly/3ymmjGk)

ความสามารถที่แตกต่าง (Differently abled);

“A polite way to describe someone who has a disability (= an
illness, injury, or condition that makes it difficult for someone to

do some things that other people do)” (Cambridge Academic
Content Dictionary, 2022: ออนไลน์ ) ถ้าแปลความหมายที่ได้เขียน

ความสามารถที่แตกต่าง นี้ หมายถึงผู้ที่มีความบกพร่องหรือผู้พิการ

ทวิ/พหุภาษา หลักสูตรแฝง (Hidden
(Bi/Multilingual education); curriculum);

“Bilingualism is the ability of an “หลักสูตรแฝง (hidden curriculum)
individual or the members of a หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ และการ
community to use two เรียนรู้ต่าง ๆ ที่มิได้กำหนดเป็นลาย
languages effectively.” ลักษณ์อักษร เกิดเพิ่มขึ้นเมื่อผู้เรียน
(Richard Nordquist. (2020). ได้รับสาระและประสบการณ์ ตามที่
Definition and Examples of หลักสูตรกำหนด นั บเป็นการเรียนรู้
Bilingualism, from ที่แฝงหรือซ่อนอยู่ในหลักสูตร”
https://www.thoughtco.com/ (สำนั กงานราชบัณฑิตยสภา, 2556:
what-is-bilingualism-1689026) ออนไลน์ )
“Multilingualism is the ability of
an individual speaker or a หลักสูตรทางการ (Official curriculum);
community of speakers to
communicate effectively in “The official curriculum, or written curriculum, gives
three or more languages.” the basic lesson plan to be followed, including
(Richard Nordquist. (2019). objectives, sequence, and materials. This provides the
What Is Multilingualism? from basis for accountability.” https://bit.ly/3ux3XkU/
https://www.thoughtco.com/ (Posner, p.10-12)
what-is-multilingualism-1691331) ราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 1272) กล่าวว่า หลักสูตร หมาย
ถึงประมวลวิชาและกิจกรรมต่างๆที่กำหนดไว้ในสถานศึกษา
เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ ง

เบธานี ยาคำ 630210030 SECTION 006

คำศั พท์สำคัญเกี่ยวกับ
พหุวัฒนธรรมศึ กษา

การสอนที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของผู้เรียน (Culturally
responsive teaching);

“Teaching methods and practices—broadly known as asset-based
pedagogies—that incorporate students’ cultural identities and lived
experiences into the classroom as tools for effective instruction.”
(Madeline Will & Ileana Najarro. (2022). What Is Culturally Responsive
Teaching? from https://bit.ly/3RjxzMg) ซึ่งแปลออกมาคือ วิธีการสอนและ
วิธีการปฏิบัติที่รวมเอาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของนั กเรียนและประสบการณ์
ในห้องเรียนเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับการสอนที่มีประสิ ทธิภาพ

ทฤษฎีเชิงวิพากษ์ (Critical Theory);

“Critical Theory หรือ ทฤษฎีแนววิพากษ์ เป็นทฤษฎีที่สนใจปรากฎการณ์ในสังคม
เกี่ยวกับการต่อรองและการครอบงำทางอำนาจระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม ในเรื่อง
ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ บางอย่าง เช่น การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ซึ่งสื่อมวลชนนั้ น ได้เข้ามามีบทบาทในการทำหน้ าที่เป็นเครื่องมือและเป็นช่องทางเผย
แพร่ ครอบงำหรือต่อรองอำนาจเกี่ยวกับผลประโยชน์ เหล่านั้ น โดยการนำเสนอ
อุดมการณ์เพื่อตอกย้ำ ครอบงำหรือสกัดอุดมการณ์ฝ่ายตรงข้ามหรือเสียเปรียบใน
สังคม” (Bovy Duv'ey. (2018). Critical Theory. สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2565, จาก
https://minimore.com/b/y0SZ8/11)

การศึ กษาเชิงวิพากษ์ (Critical pedagogy);

การศึกษาเชิงวิพากษ์ให้ความสําคัญกับศาสตร์การสอน (pedagogy) ว่าจะเป็นแนวทาง
หนึ่ งของการเสริมพลังอํานาจให้กับผู้เรียนซึ่งจะนํ าไปสู่การมีความคิดเชิงวิพากษ์ ตื่นรู้

เป็นอิสระจากการถูกครอบงําโดยกลุ่มคนหรือชุดความรู้อันใดอันหนึ่ งและเป็นนั ก
ประชาธิปไตย ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (เครือข่าย
องค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Partnership for 21st

Century Skills ดู www.p21.org; วิจารณ์ พานิ ช, 2555, น.16-21)

เบธานี ยาคำ 630210030 SECTION 006


Click to View FlipBook Version