รู้ก่อนปลอดภัย
ดูแลได้ทั่วถึง
ขณะที่ตั้งครรภ์
คำนำ
แ ผ น ก า ร ส อ น ท า ง สุ ข ภ า พ ฉ บั บ นี้ ทํ า ขึ้ น เ พื่ อ น เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ส อ น แ ล ะ ใ ห้ คํ า แ น ะ นํ า แ ก่ ผู้
มารับบริการที่ห้องสอนสุขภาพแผนกสูติ-นารีเวชกรรม โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้รบับริ
การมีความรู้เรอื่งการตั้งครรภ์การดูและตัวเองแต่ละไตรมาสและการรับประทานอาหาร
ที่มีประโยชน์ปัจจัยภาวะเสี่ยง ในการตั้งครรภ์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนําความรู้ที่ผู้สอน
ไปใช้ประโยชน์และปฏิบัติได้โดยคํานึงถงึ ความปลอดภัยของทารกในครรภ์ เพื่อไม่ให้
เกิดอันตราย ต่อตนเองและต่อทารกในครรภ์และการรับประทานอาหารอย่างถูกหลกัอ
นามัยช่วยให้ทารกในครรภ์เจริญเติบโตได้ตามวัยและมีพฒันาการที่ดี
นางสาวรัฐกรานต์ พรมโสภา
นักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 2
ส่วนนำ
แนวคิด วัตถุประสงค์ทั่วไป
การตั้งครรภ์ ร่างกายหญิงยังผ่านการ เ พี่ อ ใ ห้ ผู้ ป่ว ย ไ ด้ มี ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว
เปลี่ยนแปลงเพื่อเตรียมการ ปฏิสนธิที่กําลัง กับการตั้งครรภ์แต่ละไตรมาส
เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มระยะมีประจําเดือนก่อนแล้ว ได้ตะหนักถึงการรับประทาน
ร ว ม ถึ ง ก า ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ฮ อ ร์ โ ม น ก ร ะ ตุ้ น ถุ ง น้ อ ย
(follicle stimulating hormone)เพื่อให้ได้ อาหารที่มีประโยชน์ต่อร่าง
เซลล์ไข่ที่เจริญเต็มที่ หรือคือเซลล์ การปฏิสนธิ การและทารก ในครรภ์
คื อ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ที่ เ ซ ล ล์ ไ ข่ ร ว ม กั บ เ ซ ล ล์ สื บ พั น ธุ์ เ พ ศ
ชาย คือ ตัวอสุจิหลังจุดปฏิสนธิ ผลิตภัณฑ์ของ สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง
เซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง และชายที่รวมกันเรียก และภาวะเสี่ยงในการตั้งครรภ
ไซโกตหรือไข่ที่ปฏิสนธิแล้วการรวมเซลล์
สื บ พั น ธุ์ เ พ ศ ช า ย แ ล ะ ห ญิ ง ป ก ติ เ กิ ด ขึ้ น ห ลั ง ก า ร
ร่วมเพศ ซึ่งเป็นผล ซึ่งเป็นผลให้เกิดการตั้ง
ครรภ์เกิดเอง และรู้อาการเสี่ยงที่ควรไปพบ
แพทย์ เช่น เลือดออกที่ช่องคลอด ปวดท้อง
เป็นพักๆ มีไข้ ควรรีบไปพบแพทย์ก่อนจะเกิด
อันตรายต่อทารกในครรภ์และตัวคุณแม่เอง
ข้อมูลจากกรมอนามัย
การตั้งครรภ์
ปัจจุบันกรมอนามัยใช้ข้อมูลที่สําคัญ 3 ตัวชี้วัด ในการหาสถิติคือ
อัตราการ คลอดในหญิงอายุ 10-14 ปี อัตราการคลอดในหญิง
อายุ 15- 19ปีและร้อยละการตั้งครรภซ์้ําใน หญิงอายุต่ํากว่า 20
ปีอัตราการคลอดในวัยรุ่นสูงที่สุดใน พ.ศ. 2554 และ 2555 คือ
53.4 ต่อ พันร้อยละการตั้งครรภ์ซํา้ในหญิงอายุ น้อยกว่า 20 ปีมี
แนวโน้มลดลงจาก ร้อยละ 18.0 ในปีพ.ศ. 2559 เหลือ ร้อยละ
14.9 ในปี พ.ศ. 2562ย่างไรก็ ตามยังสูงเกินเกณฑเ์ป้าหมายที่
กําหนดไม่เกินร้อยละ 14.5
การตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก
ช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ หรือ
ท้องไตรมาส แรก คุณแมส่วนใหญ่มักคลื่นไส้
อาเจียนและ รับประทานอาหารไม่ได้ ทารกใน
ครรภ์ไม่ได้ รับสารอาหารบํารุงสมองอย่าง
เพียงพอ คุณ แม่เกิดภาวะขาดสมดุล ของ
เกลือแร่และ วิตามิน หากมีอาการแพ้ท้องมาก
ควรพบ แพทย์เพื่อรับการรักษา
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
ทารก
แบ่งการเจรินเติบโตของ ทารกในครรภ์ได้
เป็นการเจริญเติบโตทาง โครงสร้าง และการ
พัฒนาการเกี่ยวกับระบบ การทํางานต่าง ของ
ร่างกายอายุครรภ์ 5-6 สัปดาห์ มีพัฒนาการ
ของระบบประสาท ส่วนกลางและไขสันหลังอายุ
ครรภ์ 8-12 สัปดาห์ ทารกมีขนาดยาว 5 ซม.
หัวโต แขน ขาพัฒนาขึ้นเห็นอย่างชัดเจน หัวใจ
เริ่มเต้น เป็นจังหวะระบบประสาทส่วนกลางมี
ก า ร พั ฒ น า
ปั จจัยที่ส่งผลต่อการเจริญ
เติบโตของทารก
กรรมพันธุ์ สิ่งเเวดล้อม
ยีน (Gene) และโรคทาง
นับเป็นปัจจยัที่มักถูก มอง
กรรมพันธุ์ในครอบครัวมผี ลต่อ
การ เจริญเติบโตของทารก ทํา ข้าม เนื่องจากเป็นสภาวะ
ให้ทารกในครรภ์ เกิดความเสี่ยง แวดล้อมที่คุณ พ่อคุณแม่
โดยเฉพาะคุณแม่ที่มีประวัติ การ เคยชิน เช่น สารพิษภายใน
คลอดดังนี้คนมีภาวะลูกเสียชีวติ บ้าน จากน้ํายาทําความสะอาด
ในครรภ์ ระหว่างคลอดหรือหลังค
หรือน้ํายาอื่น ที่
ลอด รวมถึงเคยแท้ง บุตรมา ปนเปื้ อนสารเคมี
แล้วอย่างน้อย 2 ครั้ง
การดูแลตัวเอง ช่วง
ไตรมาสที่2
การเปล่ี่ยนแปลง
ในระยะนี้อวัยวะที่มี เปลี่ยนแปลงมากคือมดลูก
ซึ่งก่อนหน้านี้เคย อยู่ในอุ้งเชิงกรานที่ช่วย
ปกป้องมดลูกไม่ให้ถูก กระทบกระเทือน พอ
อายุครรภ์มากขึ้น มดลูก จะขยับตําแหน่งสูง
ขึ้นจนพ้นเหนือกระดูกเชิงกร้าน และเติบโต
เหนือสะดือขึ้นไปเรื่อย ๆ เพื่อให้หน้าท้องขยาย
ใหญ่ได้มากขึ้น
การเปล่ี่ยนแปลง
น้ำหนัก ผิวคล้ำ ตะคริว
น้ําหนัก คุณแม่ส่วนใหญ่จะไม่ไ่ด้ ตามใบหน้า คอ ลําตัว รักแร้ มี จะเกิดขึ้นตอนเปลยี่นท่านั่ง
เพิ่มขึ้นมากนัก น้ําหนักที่เพิ่มขึ้น เส้นดําขึ้นเป็นทางยาวกลาง มักจะเป็นบริเวณท้อง และ
ของแต่ละคนกจ็ะ แตกต่างกันไป ท้องตั้ง แต่ สะดือขลงไปถึงหัว ข้อเท้าเป็น ส่วนใหญ่ หาก
ระหว่าง 0.5-2.5 กิโลกรัม อย่างไร หนข่าวเกิดจากระดับ ฮอร์โมนที่
ก็ตาม เป็นเรื่องปกติที่น้ําหนัก เพิ่มขึ้นรวมถึงอาจมีหน้าท้อง เป็นที่ข้อเท้าจะรู้สึก เจ็บ
ของคุณแม่จะไม่เพิ่มขึ้น หรืออาจ ลายอันเกิดจากมดลูกที่โตขึ้น ปวดมากณแมต่ั้งครรภ์จะ
เกิดอาการ ตะคริวเมื่ออายุ
ลดลง เล็กน้อย รวดเร็ว
ครรภ์ 6 เดือนขึ้นไป
คําแนะนําสําหรับคุณแม่
การออกกำลังกาย
“Tailor sitting”
วิธีออกกำลังกายท่า Tailor sitting
นั่งบนพื้นหรือเสื่อโยคะ สำหรับคุณแม่มือ
ใหม่อาจหาเบาะหรือผ้าขนหนูมาใช้นั่งรอง
ได้ค่ะ
นั่งโดยแยกขาออกจากกัน แล้วดึงฝ่าเท้า
ทั้ง 2 ข้างมาประกบกัน
โน้มตัวมาข้างหน้าเล็กน้อย เพื่อให้รู้สึกตึง
บริเวณต้นขาด้านใน (อาจนั่งพิงกำแพง
เ พื่ อ ช่ ว ย ใ ห้ ห ลั ง ต ร ง )
ทำครั้งละ 5 วินาที แล้วค่อย ๆ คลายออก
ทำซ้ำ 5 – 10 ครั้ง
Squatting”
กางขาทั้ง 2 ข้าง ให้ ระยะห่าง
เท่ากับช่วงไหล่ยืนหลังเก้าอี้ที่มีพนัก
พิง เพื่อเกาะพนักเอาไว้ค่อย ๆ ย่อ
เข่าลง เหมือนกําลังจะนั่งเก้าอี้
ระวังไม่ให้เข่าเลย ปลายเท้าทําคา้ง
ไว้5วินาทีกลับสู่ท่ายืนปกติ แล้ว
ทําซ้ํา 10 ครั้ง
ท่านอนสำหรับ การตรวจเต้านม
คนท้อง
เพื่อเตรียมความพร้อมใน การให้นม
จะช่วยบรรเทาอาการปวดหลัง มารดาในระยะหลังคลอด ลักษณะ
ที่ เกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ได้ หัวนมที่แบนหรือบุ๋มลงไป ลานนม
ท่านอนควรตะแคง ซ้าย, ขวา แข็งตึงไม่ นุ่ม จะทําให้เด็กดูดไม่ได้
หรือหงาย สลับกัน เพื่อลดจุด การตรวจด้วยตัวเอง โดยการใช้นิ้ว
กด ทับของร่างกาย โดยอาจมี หัวแม่มือและนิ้วชี้ทาบไปบน ผิวหนัง
หมอนรองรับขาให้ สูงขึ้น เพื่อ ตรงรอยต่อระหว่างฐานของหัวนม
ลดอาการบวมของขาที่เกิดจาก กับ หัวนม แล้วบีบเข้าหากัน ถ้าหัวนม
สั้นหรือบุ๋ม มากไปจนเด็กดดู ไมไ่ ด้
กิจกรรมในระหว่างวัน หัวนมจะยุบ ลงไป ระหว่างนิ้วมือทั้ง
สอง
การดูแลตัวเอง
ในช่วงไตรมาส
ที3
การตั้งครรภ์ในช่วงไตรมาสที่ 3
คุณแม่ใกล้ คลอดท้องจะใหญ่มาก หายใจลํา
บาก มีอาการบวม ลุกนั่งลําบากและเหนอื่
ยง่าย ผู้หญิงท้องแก่แต่ละคนมีลักษณะหน้า
ท้องไม่ เหมือนกันแตกต่างทั้งขนาดและรปูร่าง
จึงนํามาเปรียบเทียบกันไม่ได้ระยะนี้คุณแม่ควร
ใส่ใจเรื่องของความเสยี่งของภาวะแทรกซ้อน
ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์ เช่น อาการ
เป็นตะคริว เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
มีเลือดออก หรือปัญหาภาวะน้ําคร่ํา
พัฒนาการของลูกช่วงไตรมาสที่ 3
ทารกในครรภ์จะตัวใหญ่ดิ้น เตะ ยืดตัว จน
บ า ง ค รั้ ง เ ห็ น เ ป็ น ก้ อ น นู น แ ห ล ม เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ที่
หน้าท้องแม่ ลูกจะดูดนิ้ว ลืมตา หลับตา บาง
ครั้งอาจจะนั่งไขว่ห้างดูด นิ้วด้วย กระดูก
ของลูกจะแข็งแกร่งขึ้น ผิวหนังสีชมพู แต่ยัง
เหี่ยวย่น เพราะว่ามไขมันใต้ผัวหนังยังน้อย
ปอดของทารกจะเริ่มทํางานได้ดีในช่วง
สัปดาห์ที่ 31 ทารกมีผมและเล็บยาวขึ้นไขมัน
เริ่มสร้างตัว ระบบภมูิต้านทานโรคก็เริ่มแข็ง
แรงขึ้น ทารกเริ่มกลับหัวลงต่ํา
คำแนะนำอาหารที่
ควรรับประทาน
1-3ไตรมาส
ไตรมาสที่1 ไตรมาสที่2
-โปรตีน = ไข่ไก่ เนื้ออกไก่ เนื้อปลา อาหาร ในระยะนี้อาการแพ้ท้องมัก หายไป
-วิตามิน= ตับหมู ผักกาดหอม ถั่วเหลือง เริ่มทานอาหารได้ตามปกติ ควร ทานให้
ครบ 5 หมู่ อาจมีอาหารทุก ประเภทใน 1
-แคลเซียม=เต้าหู้ ผักคะน้า เห็ด มื้อ หรือประเภทใดประเภท หนึ่งสลับกับมื้อ
อื่น แต่เมื่อรวม 6-5 มื้อใน แต่ละวัน ต้อง
รับประทานให้ได้ครบทุก ประเภทของอาหาร
อาหารประเภทแป้ง น้ําตาล และไขมัน ไม่
ควรได้รับมากเกินไป เน้นผัก ผลไม้ อาหาร
ที่มีกากใยสูง ดื่มน้ํา วันละ 6-8 แก้วธาตุ
เหล็ก มีในไข่แดง ตับ ผักใบเขียว เช่น ผัก
คะน้า บล๊อคโคล
ไตรมาสที่3
-โปรตีน ข้าสู่ไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์
คือ ช่วงที่ร่างกายของคุณแม่และลูกในครรภ์
ต้องการโปรตีนมากที่สดุ เพื่อใช้ในการสร้าง
อวัยวะต่างๆ ของลูก รวมทั้งบํารุงร่างกาย
ของ คุณแม่ ได้แก่ เนื้อปลา เนื้อสัตวไ์ม่มีไข
มัน เต้าหู้ ไข่ ประเภทถั่วต่าง ๆ
-แคลเซียม เป็นอีกหนึ่งสารอาหารที่เป็นส่วน
สําคัญในการสร้างกระดูกและฟันของทารก
โดยเฉพาะในระยะไตรมาสที่3ลกูน้อยจะอยู่ ใน
ท่ากลับหัวเตรยีมพร้อมที่จะคลอดออกมา
แหล่งของแคลเซียมได้แก่ผลติภณัฑ์จากนม,
ไข่,เต้าหู้,ถั่ว,ผักใบเขียว,ปลาที่รับประทาน ได้
พร้อมกระดูก
อาการสําคัญที่ควรมาพบแพทย์
-เลือดออกทางช่องคลอดสาเหตกุารมี เลือด
ออกในระยะนี้อาจเกดิจากภาวะรกเกาะ ต่ําเป็น
อันตรายอย่างมากควรรีบไปพบแพทย์
-ปวดท้องเป็นพักๆ อาจเกิดภาวะคลอดก่อน
กําหนดได้ ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ จาก
อาการปัสสาวะบ่อย หรือแสบขัด
-อาการตกขาวผิดปกติ เช่น สีเปลี่ยนไป คัน
หรือมีกลิ่น
- มี ไ ข้ สู ง แ ม่ ที่ มี ไ ข้ สู ง ค ว ร พ บ แ พ ท ย เ์ พื่ อ ห า
สาเหตุของไข้ ว่ามีการติดเชื้อใด ที่ระบบใด
และรับการรักษาอยา่งถูกต้องไม่ควรซื้อยา รับ
ประทานเอง เนื่องจากมียาหลายชนิดที่ไม่
สามารถใช้ได้ขณะตั้งครรภ์
สรุป
การตั้งครรภ์แบ่งออกเป็น 3 ไตรมาส รวม ระยะเวลาตั้งครรภ์ทั้งสิ้น
9 เดือน (40 สัปดาห์ หรือ 280 วัน) ซึ่งในแต่ละไตรมาสก็ จะมี
ความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ที่แตกต่างกัน การนับอายุครรภ์จะเริ่มนับ
ตั้งแต่วนัแรกของ การมีประจําเดือนครั้งสุดท้าย โดยแบ่งการ เจริญ
เติบโตของทารกในครรภ์ได้เป็นการ เจริญเติบโตทางโครงสร้าง และ
พฒั นาการ เกี่ยวกับระบบการทํางานต่างๆของร่างกาย ในระหว่าง
การตั้งครรภ์สิ่งที่สําคัญที่คุณแม่ต้องคํานึงเป็นอันดับแรกๆ คือ การ
ดูแลตัวเอง ให้มีสุขภาพที่แข็งแรงและสภาพจติใจที่ สมบูรณ์ เพื่อที่จะ
ส่งผลไปยังทารกในครรภ์ให้ สุขภาพดีและแข็งแรง
บรรณานุกรม
จันทรักศม์ สุรัตนกวีกุล.(2563). คุณแม่ตั้งครรภ์กับความเสี่ยงใน
ไตรมาสแรก. กรุงเทพฯ:โรงพยาสมิติเวช
พวงน้อย สาครรัตนกุล.(2549). การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์. ภาควิชา
พยาบาลศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี :มหาวิทยาลัย
มหิดล
วัฒนา ศรีพจนารถ.(2543). การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์:แบบแผน
สุขภาพ. คณะพยาบาลศาสตร์ :มหาวิยาลัยสงขลานครินทร์ ศูนย์สุขภาพ
หญิง.(2562). คําแนะนําสําหรับ คุณแม่ตั้งครรภ์ ไตรมาส 2.
กรุงเทพฯ:โรงพยาบาลพญาไท2.
Thank You