The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน(ฉบับย่อ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฝ่ายทรัพยากรบุคคล, 2021-11-03 03:02:14

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน(ฉบับย่อ)

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน(ฉบับย่อ)

ข้อบังคับเก่ียวกับการทางาน

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
(พรบ.)พ.ศ.๒๕๔๑

ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ ข้อ บัง คับ เ ก่ี ย ว กับ ก า ร ทา ง า น น้ี จัด ทา ข้ึ น เ พื่ อ ใ ห้ พ นั ก ง า น ทุ ก ค น ไ ด้ รั บ ท ร า บ ถึ ง ร ะ เ บี ย บ ข้อ บัง คับ ใ น ก า ร ทา ง า น แ ล ะ
ห ลัก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ฏิ บัติ เ ง่ื อ น ไ ข ต่ า ง ๆ อัน ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ ข้า ใ จ แ ล ะ ป ฏิ บัติ ถู ก ต้อ ง แ ล ะ เ ป็ น ไ ป ต า ม แ น ว ท า ง เ ดี ย ว กั น แ ล ะ เ พ่ื อ เ ส ริ ม ส ร้ า ง
ร ะ เ บี ย บ วิ นั ย ใ น ก า ร ทา ง า น เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร ดา เ นิ น กิ จ ก า ร ข อ ง บ ริ ษัท เ ป็ น ไ ป ด้ ว ย ค ว า ม เ รี ย บ ร้ อ ย แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กับ ส ถ า น ก า ร ณ์ โ ด ย มุ่ ง ห ม า ย ท่ี
จ ะ ใ ห้ พ นั ก ง า น ข อ ง บ ริ ษัท ฯ ไ ด้ ยึ ด ถื อ เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ป ฏิ บัติ เ กี่ ย ว กับ ห น้ า ที่ แ ล ะ ค ว า ม รั บ ิิ ด อ อ บ ข อ ง ต น เ อ ง บ น ร า ก า า น แ ห่ ง ค ว า ม ถู ก ต้อ ง
แ ล ะ ค ว า ม ไ ว้ว า ง ใ จ ซ่ึ ง กัน แ ล ะ กัน ร ะ ห ว่ า ง บ ริ ษัท แ ล ะ พ นั ก ง า น ต ล อ ด จ น ใ ห้ พ นั ก ง า น ไ ด้ ท ร า บ ถึ ง ส วัส ดิ ก า ร แ ล ะ สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย อ น์ อื่ น ๆ ที่
พ นั ก ง า น พึ ง จ ะ ไ ด้ รั บ บ ริ ษัท ฯ ห วัง ว่ า เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง ว่ า พ นั ก ง า น ทุ ก ค น เ ข้า ใ จ แ ล ะ พ ร้ อ ม ท่ี จ ะ ป ฏิ บัติ ต า ม ร ะ เ บี ย บ ข้อ บัง คับ เ ก่ี ย ว กับ ก า ร ทา ง า น
ดัง ก ล่ า ว น้ี อ ย่ า ง เ ค ร่ ง ค รั ด แ ล ะ ส ม่า เ ส ม อ เ พ่ื อ ค ว า ม เ ข้า ใ จ อัน ดี ต่ อ กัน แ ล ะ ร่ ว ม กัน พัฒ น า เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ จ ริ ญ ก้ าว ห น้ า ใ ห้ กับ ตัว เ อ ง แ ล ะ

บ ริ ษัท ฯ ต่ อ ไ ป ร ะ เ บี ย บ ข้อ บัง คับ ใ น ก า ร ทา ง า น สา ห รั บ พ นั ก ง า น ฉ บับ น้ี
บ ริ ษัท ส ย า ม เ คี ย ว ว ะ เ ซ ซ า คู โ อ จา กัด
( น า ง ส า ว อุ ติ ม า อ ต า เ ริ ก )
ก ร ร ม ก า ร ิู้มี อา น า จ

บททั่วไป
(หมวด๑)

ขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางานฉบบั นีใ้ ชเ้ ฉพาะพนกั งาน บริษัท สยามเคียววะ เซซาคูโช จากดั

ทต่ี ั้ง : สานักงานใหญ่ เลขท่ี ๕๒๓ ซอยออ่ นนชุ ๓๙ ถนนสขุ มุ วทิ แขวงพฒั นาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๕๐ และ
โรงงาน เลขที่ ๗๒๗/๗ หมู่ ๑ ตาบลคลองก่ิว อาเภอบา้ นบงึ จงั หวดั ชลบรุ ี ๒๐๒๒๐

การทดลองงาน : กาหนดทดลองงาน ๑๑๙ วนั
การบันทกึ เวลาทางาน : เขา้ ๐๘.๐๐ น. ออก เวลา ๑๗.๐๐ น.
การแตง่ กาย : ยนู ิฟอรม์ บรษิ ัทฯ

การว่าจ้างและการบรรจุ
(หมวด ๒)

นโยบายการจ้างงานและการบรรจุ ผู้สมคั รทกุ คนจะได้รับการพจิ ารณาจากบริษัทฯ โดย
ยดึ ถอื พนื้ ฐานความรู้ ทศั นคติ ประสบการณ์ และความสามารถทต่ี รงจุดประสงคข์ องบริษัทฯ
ทกี่ าหนดขนึ้ เป็ นสาคัญ

ข้อกาหนดในการจ้างงาน ผู้สมคั รทกุ คนจะตอ้ งมคี ุณสมบตั คิ รบถ้วนตามจุดประสงคข์ อง
บริษัทฯ และได้ ผ่าน การทดสอบตามขั้นตอนของบริษัทฯ กาหนด

สาหรับพนักงานสานักงานใหญ่(กทม.) และผู้บริหารสาขา
สปั ดาหล์ ะ ๕ วนั คอื จนั ทร์ - ศกุ ร์

สาหรับพนักงานสานักงานสาขา(ชลบุรี)
สปั ดาหล์ ะ ๖ วนั คอื จนั ทร-์ เสาร(์ สลบั เสารเ์ วน้ เสาร)์

สาหรับพนักงานในส่วนโรงงานผลิต
สปั ดาหล์ ะ ๖ วนั คอื จนั ทร์ - เสาร์

เวลาทางาน ๘ ช่ัวโมง
เขา้ งาน ๐๘.๐๐ น.- ๑๗.๐๐ น.

เวลาพกั ๑ ช่ัวโมง
เวลา ๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น.

ระยะรอบวันทางาน
วนั ที่ ๒๕ ของเดอื น – ๒๖ ของเดอื นถดั ไป

วันหยุดและหลักเกณฑ์ การหยุด

(หมวด ๔)

๑) วนั หยุดประจาสัปดาห์
•ฝ่ายโรงงาน มวี นั หยดุ ประจาสปั ดาห์ คอื วันอาทิตย์
•ฝ่ายสานกั งานโรงงาน มวี นั หยดุ ประจาสปั ดาห์ คอื วนั อาทติ ย์ และวนั เสาร์ โดยสลบั เสาร์ เวน้ เสาร์
•ฝ่ายสานกั งานใหญ่ ฝ่ายบรหิ ารโรงงาน มีวนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ คอื วนั เสาร-์ วันอาทติ ย์

๒) วันหยุดตามประเพณี
•บรษิ ัทฯ กาหนดใหม้ ีวนั หยดุ ตามประเพณีปีละไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๓ วนั

๓) วันหยุดพักผ่อนประจาปี
•พนกั งานทางานครบ ๑ ปีไดส้ ทิ ธิพกั ผ่อนประจาปี ๖ วนั
•พนกั งานท่ผี า่ นทดลองงาน มีวนั หยดุ พกั ผ่อนประจาปีตามสดั สว่ นในรอบปีปฏิทนิ นน้ั
•วนั หยดุ พกั ผ่อนประจาปี สาหรบั สว่ นสานกั งาน เพ่มิ ใหต้ ามอายงุ าน แตไ่ มเ่ กิน ๑๒ วนั ตอ่ ปี

การทางานล่วงเวลา และการทางานในวันหยุด
(หมวด ๕)

❖ค่าล่วงเวลาทางานในวันทางานปกติ เทา่ กบั ๑.๕ เทา่
❖ค่าทางานในวันหยุดประจาสัปดาห/์ วันหยุดประเพณี เท่ากับ ๒ เท่า
❖การคานวณค่าจา้ งทางานล่วงเวลาและค่าจ้างทางานในวันหยุดเป็ นมาตรฐานแน่นอนจงึ

กาหนดให้การคานวณค่าจ้างดงั นี้
1) พนักงานรายเดอื น ค่าจา้ งรายเดอื น หาร ๒๖ วันทางาน หาร ๘ ช่ัวโมงทางาน

2) พนักงานรายวัน ค่าจา้ งรายวัน หาร ๘ ช่ัวโมงทางาน

วันและสถานที่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา
ค่าทางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

(หมวด ๖)

บรษิ ัทฯ กาหนดจ่ายคา่ จา้ ง ทกุ สิน้ เดือน โดยจา่ ยผ่านบญั ชีธนาคาร กสกิ รไทย

ก า ร ใ ช้แ ร ง ง า น ห ญิ ง
(หมวด ๗)

บรษิ ัทฯ ไมอ่ นญุ าตใหพ้ นกั งานหญิงทางานอย่างหนง่ึ อยา่ งใด อนั อาจเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพ หรอื
รา่ งกายของพนกั งานดงั ตอ่ ไปนี้
• งานท่ีตอ้ งทาบนน่งั รา้ นท่ีสงู กว่าพนื้ ดินตงั้ แต่ ๑๐ เมตรขนึ้ ไป
• งานผลติ หรอื ขนสง่ วตั ถรุ ะเบิด หรอื วตั ถไุ วไฟ
• งานยก แบก หาม หาบ ทนู ลาก หรอื เขน็ ของหนกั เกิน ๓๐ กก.
• งานอ่ืน ๆ ท่ีบรษิ ัทฯ เห็นสมควรโดยไมข่ ดั ต่อกฎหมาย
• พนกั งานหญิงมีครรภจ์ ะตอ้ งแจง้ ใหบ้ รษิ ัทฯ ทราบทนั ที เพ่อื จะไดจ้ ดั การใหท้ างานท่ีเหมาะสมกบั สภา
• รา่ งกาย ถา้ ไมแ่ จง้ บรษิ ัทฯ จะถือวา่ ผดิ วินยั อยา่ งรา้ ยแรง

การลาและหลักเกณฑ์ การลา 1.ลาป่วย สทิ ธิลา 30 วนั ต่อปี / 30 วนั
(หมวด ๘) 2.ลากิจธรุ ะอนั จาเป็น สทิ ธิลา 3 วนั ตอ่ ปี / 3 วนั

3.ลาคลอด สทิ ธิลา 98 วนั ต่อปี / 45 วนั

4.ลาเพ่ือรบั ราชการทหา สทิ ธิลา 60 วนั

5.ลาอปุ สมบท สทิ ธิลา 30 วนั /15 วนั

6.ลาเพ่ือทาหมนั / ตามใบรบั รองแพทย์

7. ลาเพ่ือการฝึกอบรมหรอื การพฒั นาความรู้ ความสามารถ 15วนั /7 วนั

หมายเหตุ : การลาทกุ ประเภทมีผลตอ่ เบีย้ ขยนั คา่ กนั ดาร 8.สวสั ดกิ าร ลาประเภทอ่ืนๆ(สมรส,งานศพ,ลากิจสว่ นตวั )
และตอ้ งปฏิบตั ติ ามเง่ือนไขบรษิ ัทฯกาหนด

วิ นั ย แ ล ะ โ ท ษ ท า ง วิ นั ย
(หมวด ๙)

๑.ตกั เตือนดว้ ยวาจา >>> ผมู้ อี านาจส่งั ลงโทษ ผบู้ งั คบั บญั ชาและฝ่ายบคุ คล
๒.ตกั เตือนเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร >>> ผมู้ ีอานาจส่งั ลงโทษ ผจู้ ดั การแผนกและฝ่ายบคุ คล
๓.พกั งาน >>> ผมู้ ีอานาจส่งั ลงโทษ ผจู้ ดั การฝ่ายและฝ่ายบคุ คล
๔.เลกิ จา้ ง >>> ผจู้ ดั การฝ่ายบคุ คล และนายจา้ ง

ดา้ นสขุ ภาพ

➢ตรวจสขุ ภาพประจาปี
➢ประกนั กลมุ่ (บางตาแหนง่ )

คา่ ครองชีพ

➢เงนิ ชว่ ยเหลอื คา่ งานศพ บิดามารดาบตุ ร
➢เงินชว่ ยเหลอื งานสมรส
➢เงนิ ทาศพพนกั งาน
➢เงินชว่ ยเหลอื อปุ สมบท
➢ขา้ วเปลา่ ฟรี

สรา้ งจงู ใจ

➢เบีย้ ขยนั ๘๕๐ บาท(บางตาแหน่ง)
➢คา่ กนั ดาร ๖๕๐ บาท(บางตาแหน่ง)

เครอ่ื งแบบ

• ยนู ิฟอรม์ ๑ หรอื ๓ ชดุ
• ยนู ิฟอรม์ ๑ ชดุ (ครบปี)
• หมวก ๑ ใบ
• รองเทา้ เซฟตี(้ บางตาแหนง่ งาน)

อ่นื ๆ

• วนั ลา สมรส ๕ วนั (ครงั้ เดยี ว)
• วนั ลา งานศพ ๗ วนั
• วนั ลา กิจสว่ นตวั ๓ วนั หรอื ๙ วนั
• หนา้ กากอนามยั (ระบาด Covid – ๑๙)
• วคั ซีน ปอ้ งกนั Covid-๑๙ (ตามเงือ่ นไข
• หยดุ พกั ผอ่ น ๑๒ วนั ตอ่ ปี (ตามเง่ือนไข)
• โอกาสกา้ วหนา้ ในสายงาน
• สวสั ดิการของเยีย่ มไขพ้ นกั งาน

ระบบมาตราาานการทางาน

ISO 9001:2015

หมายถึง ระบบมาตราฐานคุณภาพ

นิยาม
วัตถุดบิ ดี คุณภาพเด่น เน้นตรง

เวลา พัฒนาต่อเนื่อง

ISO 14001:2015
หมายถึง ระบบมาตราฐานส่ิงแวดล้อม

นโยบาย

๑. มงุ่ ม่นั ท่ีจะปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบียบ และขอ้ กาหนดตา่ งๆ ทง้ั ของ
ภาครฐั และของลกู คา้ ท่ีเก่ียวกบั การจดั การส่งิ แวดลอ้ มและสารปนเปื้อนใน
ผลติ ภณั ฑ์ และสอดคลอ้ งกบั ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มของบรษิ ัทฯ

๒. ม่งุ ม่นั ท่ีจะใชท้ รพั ยากรและพลงั งานอยา่ งประหยดั และมีผลกระทบตอ่
ส่งิ แวดลอ้ มใหน้ อ้ ยท่ีสดุ

๓. มงุ่ ม่นั ท่ีจะปอ้ งกนั มลพษิ ในดา้ นนา้ เสีย อากาศเสีย และมลพิษในดา้ นต่างๆ
โดยจดั ทาเป็นวตั ถปุ ระสงค์
เปา้ หมาย และทบทวนอย่างต่อเน่ือง

๔. ม่งุ ม่นั ท่ีจะพฒั นาบคุ ลากรและผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งใหม้ ีความรู้ และความเขา้ ใจ ใน
ระบบการจดั การส่งิ แวดลอ้ ม

๕. มงุ่ ม่นั ท่ีจะปรบั ปรุงระบบการจดั การส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่อื ปอ้ งกนั
มลพษิ

๖. ม่งุ ม่นั ในการจดั ทาเป็นเอกสาร นาไปปฏบิ ตั ิ คงไว้

๕ ส. เป็ นกระบวนการหน่ึงท่ี ❑สะสาง Seiri (เซริ) (ทาใหเ้ ป็นระเบยี บ)
คือ การแยกระหว่างของท่ีจาเป็นตอ้ งใชก้ บั ของท่ีไมจ่ าเป็นตอ้ งใชข้ จดั
เป็ นระบบมีแนวปฏิบัติ ท่ี ของท่ีไมจ่ าเป็นตอ้ งใชท้ ิง้ ไป
เหมาะสมสามารถนามาใช้ เพ่ื อ ❑สะดวก Seiton (เซตง) = สะดวก (วางของในท่ีท่ีควรอย่)ู
ปรับปรุงแก้ ไขงานและรักษา คือ การจดั วางของท่ีจาเป็นตอ้ งใชใ้ หเ้ ป็นระเบียบสามารถหยิบใชง้ านได้
ส่ิงแวดล้ อมในสถานท่ีทางานให้ ทนั ที
ดีข้ึน ท้ังในส่วนงานด้ าน การ ❑สะอาด Seiso (เซโซ) = สะอาด (ทาความสะอาด)
ผลิต และด้ านการบริการ ซ่ึ ง คือการปัดกวาดเชด็ ถสู ถานท่ี สง่ิ ของ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือเคร่อื งจกั ร ให้
นามาใช้ ในการเพ่ิม สะอาดอย่เู สมอ
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ทา ง า น ข อ ง ❑สุขลักษณะ Seiketsu (เซเคทซึ) = สขุ ลกั ษณะ (รกั ษาความ
องค์กร ได้ อีกทางหน่ึง
สะอาด)
คือ การรกั ษาและปฏบิ ตั ิ ๓ส ไดแ้ ก่ สะสาง สะดวก และสะอาดใหด้ ี
ตลอดไป
❑สร้างนิสัย Shitsuke (ซทึ ซเึ คะ) = สรา้ งนิสยั (ฝึกใหเ้ ป็นนิสยั )
คือ การรกั ษาและปฏิบตั ิ4ส หรอื สง่ิ ท่ี กาหนดไวแ้ ลว้ อย่างถกู ตอ้ งจนตดิ
เป็นนิสยั

Plan Do Check Act

• วางแผน • นาไปปฏิบตั ิ • เก็บขอ้ มลู • จดั สรา้ ง
งานและ หลงั การ มาตราฐาน
เก็บขอ้ มลู ปรบั ปรุง
กอ่ น
ปรบั ปรุง

O=OBJECTIVE
AND

KR=KEY RESULTS
การตัง้ เป้าหมายและกาหนดตวั วัดผล

การลางานพนักงานและเจ้าหน้าที่สานักงาน

การขออนุ มัติทางาน
ล่ ว ง เ ว ล า

ก า ร ล ง เ ว ล า ป ฏิ บัติ ง า น โ ด ย ก า ร
สแกนใบหน้า

การสลับหยุด(เสาร์ ทางาน)







THANK YOU


Click to View FlipBook Version