The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อปฏิบัติของคณะครูและบุคลากรทางการศึกษารปค.26

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lover_socute, 2021-11-15 03:43:35

ข้อปฏิบัติของคณะครูและบุคลากรทางการศึกษารปค.26ปรับ15พย64

ข้อปฏิบัติของคณะครูและบุคลากรทางการศึกษารปค.26



แนวการปฏิบตั ริ าชการของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 26 จงั หวดั ลาพนู

จดั ทาโดย
กลมุ่ บริหารบคุ คล

สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ



คานา

การบริหารบุคคล เป็นภารกิจสาคัญในการบริหารและพัฒนาองค์กร จึงเป็นภาระหน้าที่ของผู้บริหารและ
ผู้รับผิดชอบงานด้านบริหารบุคคล ท่ีมุ่งปฏิบัติกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร เพ่ือทาให้บุคลากรในหน่วยงาน
เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความสามารถ ด้วยการฝึกอบรม ปรับเปล่ียนพฤติกรรมและทัศนคติ
ของบุคลากร เพื่อให้ปฏิบัตงิ านไดด้ ยี งิ่ ขน้ึ อนั จะสง่ ผลสาเร็จตอ่ เปา้ หมายของโรงเรียน

กล่มุ บรหิ ารบุคคล โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 26 จังหวดั ลาพนู จึงได้จดั ทาแนวการปฏบิ ัติราชการ เพื่อใช้
เป็นแนวทางปฏิบัติด้านการพัฒนาบุคลากรให้ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับทราบและถือปฏิบัติ เพื่อเป็น
มาตรฐานและแนวทางเดยี วกนั

กลุ่มบริหารบุคคล
โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 26 จังหวดั ลาพนู

สารบญั ข

รายการ หน้า
คานา ก
สารบญั ข
หมวดที่ 1 การลงเวลาปฏบิ ัติหนา้ ทีร่ าชการ 1
หมวดท่ี 2 การลา 1
หมวดท่ี 3 การออกนอกบริเวณโรงเรยี น 3
หมวดท่ี 4 การเข้ารว่ มประชุม 4
หมวดท่ี 5 การไปราชการ 4
หมวดท่ี 6 การรับทราบคาสั่ง 4
หมวดท่ี 7 การแตง่ กาย 5
หมวดที่ 8 เวลาเรยี น 5
หมวดท่ี 9 บทบาทหน้าที่ของครู 6
หมวดที่ 10 บทบาทหนา้ ที่ของครเู วรประจาวนั 7
หมวดที่ 11 บทบาทหน้าท่ีของครผู ้สู อน 8
หมวดท่ี 12 การอยูเ่ วร – เวรยาม 9
หมวดท่ี 13 บทบาทหนา้ ที่ของครูหอนอน 10
หมวดท่ี 14 เบด็ เตล็ด 11



แนวการปฏบิ ตั ิราชการของข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 26 จงั หวัดลาพูน
สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ

*************************************************************************************************

หมวดท่ี 1 การลงเวลาปฏบิ ัตหิ นา้ ทรี่ าชการ ให้ปฏบิ ัติ ดังน้ี

1. ใหล้ งเวลามาปฏิบตั หิ นา้ ที่ราชการ ก่อนเวลา 07.45 น.

2. การลงเวลามาปฏิบตั หิ น้าท่ีราชการ หลังเวลา 08.00 น. ถือเปน็ การมาสาย ยกเวน้ กรณมี เี หตจุ าเป็นหรือ

เหตุสุดวิสัยให้รายงานตอ่ ผอู้ านวยการโรงเรียนทราบ

3. ให้ลงเวลากลับหลังส้ินสุดการทากิจกรรมพัฒนาห้องเรียน เวรส่วนกลางและสวนพฤกษศาสตร์ และ/หรือ

เวลา 16.40 น. กรณลี ืมลงเวลาใหม้ ีการบันทกึ ชแ้ี จงเหตผุ ลความจาเป็นเสนอต่อผูอ้ านวยการโรงเรยี น

4. ห้ามลงลายมือชื่อแทนผู้อ่ืนโดยเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นการลงลายมือชื่อปฏิบตั ิราชการหรอื การลงลายมือชอื่ ใน

เร่อื งอื่นใดก็ตาม

5. ในกรณีผู้ปฏิบัติงานมาสายเกินกว่า 2 ชั่วโมง ให้ถือเป็นการลาคร่ึงวัน (ช่วงเช้า) หากกลับก่อนเวลา

ปฏิบัติงาน 2 ชั่วโมง ให้ถือเป็นการลาครึ่งวัน (ช่วงบ่าย) และกรณีมาทางานน้อยกว่า 2 ชั่วโมง/วัน (ไม่รวม

เวลาพักกลางวัน) ถือเป็นการลาเต็มวัน เช่น หากมาสายเกินเวลา 10.30 น. ให้ถือเป็นการลาคร่ึงวัน

(ช่วงเช้า) หากกลบั ก่อนเวลา 14.30 น. ใหถ้ ือเป็นการลาคร่ึงวัน (ช่วงบ่าย) หากกลับมาหลังเวลา 14.30 น.

ถอื เปน็ การลาเตม็ วนั

หมวดท่ี 2 การลา ใหป้ ฏิบัติ ดังน้ี
1. ใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติตามระเบียบ ระเบยี บสำนกั นำยกรัฐมนตรี ว่ำดว้ ยกำรลำของ

ขำ้ รำชกำร พ.ศ.๒๕๕๕

2. หากไมป่ ฏบิ ัติตามระเบียบฯ ถือวา่ ขาดราชการ
3. การลากิจ ให้ปฏิบตั ิ ดงั นี้

3.1 ตอ้ งย่ืนใบลาและระบเุ หตผุ ลความจาเปน็ ล่วงหน้าอย่างนอ้ ย ๓ วัน และจะหยุดปฏบิ ัติงานได้
ก็ตอ่ เม่ือผู้อานวยการโรงเรียนลงนามอนุญาตให้ลา

3.2 ผู้ลากจิ ต้องติดตามการลงนามอนุญาตของผอู้ านวยการโรงเรียนดว้ ยตนเอง
3.3 ผูล้ ากจิ ต้องมอบหมายหน้าทก่ี ารสอนเสนอให้กับรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการก่อนวันท่ี

ลากจิ เพอื่ มอบหมายการสอนแทนต่อไป



๓.4 กรณีมีเหตุจาเป็นเร่งด่วนท่ีไม่สามารถยื่นใบลากิจล่วงหน้าแล้วรอให้ผู้อานวยการโรงเรียนอนุญาต
ได้ทัน ให้หยุดราชการไปก่อนได้โดยให้ขออนุญาตกับผู้อานวยการโรงเรียนด้วยวาจา และเมื่อ
กลับมาปฏิบัติราชการแล้ว ให้ส่งใบลากิจในวันแรกของการกลับมาปฏิบัติหน้าท่ีพร้อมท้ังบันทึก
ชี้แจงเหตผุ ลความจาเป็นทต่ี ้องหยุดราชการไปกอ่ น

๓.๕ หากรู้กาหนดนดั หมายล่วงหน้าในการไปพบแพทย์ ถือเป็นการลากิจ ให้ยนื่ ใบลาลว่ งหนา้ และ
ปฏิบัติเชน่ เดียวกบั ขอ้ 3.1 – 3.3

๔. การลาปว่ ย ใหป้ ฏบิ ัติ ดงั น้ี
๔.๑ การลาปว่ ยปกติใหห้ ยดุ ราชการไปกอ่ นได้โดยต้องแจ้งการลาป่วยตอ่ ผ้อู านวยการโรงเรียน
ดว้ ยวิธกี ารโทรศพั ท์ ก่อนเวลา 08.00 น. ของวันที่ลาปว่ ย
๔.3 ใหส้ ่งใบลาป่วยในวนั แรกของการกลับมาปฏิบัติหนา้ ท่ี
๔.๓. การลาป่วยต้งั แต่ ๓ วันขึ้นไป ตอ้ งมใี บรบั รองแพทยซ์ ึง่ เป็นผ้ทู ่ีได้ขน้ึ ทะเบยี นและรบั ใบอนุญาตเป็น
ผปู้ ระกอบวชิ าชีพเวชกรรมแนบกบั ใบลาเสนอตอ่ ผ้อู านวยการโรงเรยี นดว้ ย

๕. การลาคลอดบตุ ร ให้ปฏิบัติ ดังน้ี
๕.๑ ข้าราชการ มสี ิทธิลาคลอดบุตรครง้ั หนง่ึ ได้ ๙๐ วัน จะลาในวนั ทค่ี ลอด ก่อน หรือหลังคลอดกไ็ ด้
แตร่ วมแล้วไมเ่ กิน ระยะเวลา ๙๐ วัน (นับตอ่ เนือ่ งรวมวนั หยุดราชการ)
๕.๒ ไม่ตอ้ งมีใบรบั รองแพทย์แนบท้ายการยน่ื ใบลา
๕.๓ ข้ำรำชกำรท่ีได้รับอนุญำตให้ลำคลอดบุตร และได้หยุดรำชกำรไปแล้ว แต่ไม่ได้คลอดบุตร

ตำมกำหนด หำกประสงค์จะยกเลิกวันลำคลอดบุตรที่หยุดไป ให้ผู้มีอำนำจอนุญำตพิจำรณำ

อนญุ ำตให้ยกเลิกได้ โดยให้ถอื วำ่ วันทไี่ ด้หยุดรำชกำรไปแลว้ เปน็ วันลำกจิ ส่วนตัว

๕.๔ หำกกำรลำคลอดบุตรคำบเกี่ยวกับกำรลำประเภทใดซึ่งยังไม่ครบกำหนดวันลำของกำรลำประเภท

น้ัน ให้ถือว่ำกำรลำประเภทน้ันส้ินสุดลง และให้นับเป็นกำรลำคลอดบุตรต้ังแต่วันเร่ิมวันลำคลอด

เช่น ข้ำรำชกำรซ่ึงอยู่ระหว่ำงลำศึกษำต่อและประสงค์จะลำคลอดบุตร เม่ือได้รับอนุญำตให้ลำ

คลอดบตุ รแลว้ ให้ถอื ว่ำกำรลำศกึ ษำตอ่ สิ้นสุดลง

๕.๕ กำรลำคลอดบตุ ร หำกเดก็ ที่คลอดออกมำแล้วเสยี ชีวิต กไ็ ม่กระทบสทิ ธิของกำรลำคลอดบตุ ร

๕.๖ พนักงำนรำชกำร มีสิทธิลำคลอด ได้ครั้งละ ๙๐ วัน ได้รับค่ำตอบแทนระหว่ำงลำคลอดบุตรจำก

สว่ นรำชกำร ๔๕ วนั ทำกำร และอกี ๔๕ วันทำกำร ไดร้ บั ค่ำตอบแทนจำกหนว่ ยงำนประกนั สงั คม

หมายเหตุ : หำกวันท่ีคลอดบุตรตรงกบั วันหยดุ รำชกำร (วันเสำร์ อำทิตย์ หรือวนั หยุดนักขตั ฤกษ์) ให้เร่ิมนับวัน

ทำงำน เปน็ วันแรกของกำรลำคลอดบุตร ๙๐ วัน



๖. กำรลำไปช่วยเหลอื ภรรยำทคี่ ลอดบตุ ร (ทีช่ อบดว้ ยกฎหมำย) ใหป้ ฏบิ ตั ิ ดงั นี้
๖.๑ ตอ้ งเปน็ ภรรยำที่ชอบด้วยกฎหมำย
๖.๒ ลำได้ครั้งหน่ึงติดต่อกันได้ไม่เกิน ๑๕ วันทำกำร โดยให้เสนอหรือจัดส่งใบลำก่อนหรือในวันท่ีลำ
ภำยใน ๙๐ วันนับตั้งแต่วันที่ภรรยำคลอดบุตร ตัวอย่ำงเช่น ภรรยำคลอดบุตรวันที่ ๒ กันยำยน
มีสิทธิในกำรเสนอใบลำ (ยื่นใบลำ) ไปช่วยเหลือภรรยำท่ีคลอดบุตรเริ่มนับต้ังแต่วันท่ี ๒ กันยำยน
ซ่งึ เป็นวนั ท่ภี รรยำคลอดบตุ ร โดยจะตอ้ งเสนอใบลำภำยใน ๙๐ วัน นับตง้ั แตว่ ันท่ี ๒ กนั ยำยน

๗. กำรลำอปุ สมบทหรอื กำรลำไปประกอบพธิ ีฮจั ญ์ ใหป้ ฏบิ ัติ ดังนี้
๗.๑ จะต้องอุปสมบทหรือออกเดินทำงไปประกอบพิธีฮัจญ์ ภำยใน ๑๐ วันนับตั้งแต่วันเริ่มลำ และเมื่อ
ลำสิกขำบทหรอื เดนิ ทำงกลับจำกไปประกอบพิธีฮจั ญ์แลว้ ต้องกลับมำรำยงำนตวั เข้ำปฏิบตั ิรำชกำร
ภำยใน ๕ วัน นับแต่วันที่ลำสิกขำบทหรือวันที่เดินทำงกลับถึงประเทศไทยหลังจำกเดินทำงไป
ประกอบพิธีฮัจญ์ โดยจะต้องนับรวมอยู่ภำยในระยะเวลำที่ได้รบั อนุญำตกำรลำ ตัวอย่ำงเช่น ได้รับ
อนุญำตให้ลำอุปสมบทหรือเดินทำงไปประกอบพิธีฮัจญ์ ตั้งแต่วันที่ ๑ - ๓๐ มิถุนำยน ดังน้ัน
จะต้องอุปสมบทหรือเดนิ ทำงไปประกอบพิธีฮัจญ์ ภำยใน ๑๐ วนั (ภำยในวันที่ ๑ - ๑๐ มิถุนำยน)
จะต้องลำสิกขำบทในวันท่ี ๒๕ มิถุนำยน และกลับเข้ำรำยงำนตัวเพ่ือปฏิบัติรำชกำรหลังจำก
ลำสิกขำบทหรือเดินทำงกลับจำกไปประกอบพิธีฮัจญ์ภำยใน ๕ วัน นับตั้งแต่วันที่ลำสิกขำบทหรือ
เดินทำงกลบั จำกไปประกอบพธิ ีฮจั ญ์ ซ่ึงอยู่ ในช่วงเวลำท่ีขอลำไว้ (ไมเ่ กนิ ๓๐ มิถุนำยน)
๗.๒ กรณไี ด้รบั พระรำชทำนพระบรมรำชำนุญำตให้ลำอุปสมบท และไดห้ ยุดรำชกำรไปแล้ว แต่มปี ัญหำ
หรืออุปสรรคทำให้ไม่สำมำรถอุปสมบทตำมที่ขอลำได้ ให้มำรำยงำนตัวกลับเข้ำปฏิบัติรำชกำร
ตำมปกตแิ ละขอยกเลิกวันลำ และหำกผูม้ อี ำนำจพจิ ำรณำเหน็ ควรอนญุ ำตใหย้ กเลกิ วันลำอปุ สมบท
ได้แล้ว ให้ถอื วำ่ วันที่ ได้หยดุ รำชกำรไปแล้วเปน็ วนั ลำกจิ สว่ นตัว
๗.๓ ใหเ้ สนอหรอื จดั สง่ ใบลำต่อผู้อำนวยกำรโรงเรยี นกอ่ นวันอุปสมบทไม่น้อยกว่ำ ๖๐ วนั

๘. กำรลำอืน่ ๆ เป็นไปตำมระเบียบวำ่ ดว้ ยกำรลำของข้ำรำชกำร พ.ศ.๒๕๕๕

หมวดที่ 3 การออกนอกบริเวณโรงเรียน

1. การออกนอกบริเวณโรงเรยี น กรณกี จิ ธุระสว่ นตัว ใหป้ ฏิบัติ ดงั นี้
1.1 บันทกึ ขออนุญาต โดยกรอกแบบการขออนุญาตออนไลน์และเม่ือได้รบั อนุญาตจากผู้อานวยการ
โรงเรียนจึงออกนอกบรเิ วณโรงเรียนได้
1.๒ ในชว่ งเวลาที่ขออนุญาต ตอ้ งไม่มีคาบสอน คาบกิจกรรมหรือกิจกรรมโรงเรียน
1.๓ หากมีความจาเป็นเรง่ ด่วนทจ่ี ะต้องออกนอกบริเวณโรงเรียนในขณะท่ีมีคาบสอนและมิไดเ้ ป็นเรอ่ื ง
ทีโ่ รงเรียนสง่ั ให้ไปปฏบิ ัติราชการ ใหป้ ฏิบัติตามข้อ 1.1 – 1.๒ พร้อมแนบบนั ทึกมอบหมายหนา้ ที่
การสอนแทน เสนอผู้อานวยการโรงเรยี นเพอื่ พจิ ารณาอนุญาตกอ่ นทจี่ ะออกนอกบรเิ วณโรงเรียน



1.4 ระยะเวลาในการออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น ไมค่ วรเกนิ 2 ชว่ั โมง/ครงั้ หากเกิน 2 ชั่วโมงขึน้ ไป
ให้ถอื เปน็ การลาครึ่งวนั หรือลาเตม็ วัน

2. การออกนอกบริเวณโรงเรียน กรณโี รงเรียนสั่งให้ไปปฏิบตั ริ าชการ ใหป้ ฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
2.1 เสนอบนั ทกึ ขออนุญาตไปราชการตอ่ ผูอ้ านวยการโรงเรียนหรือรองผตู้ รวจลงนามอนุญาต ก่อนไป
ราชการล่วงหนา้ อยา่ งน้อย 1 วนั
2.2 แจง้ ใหร้ องผู้อานวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการทราบก่อนไปราชการล่วงหน้าอยา่ งน้อย 1 วนั
2.3 ดาเนนิ การมอบหมายหน้าท่ีการสอนแทนของวนั ที่ไปปฏิบตั ิราชการ เสนอตอ่ รองผอู้ านวยการ
กลุ่มบรหิ ารวชิ าการก่อนวนั ที่ไปปฏิบตั ิราชการล่วงหนา้ อย่างนอ้ ย ๑ วนั

3. หากมีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องออกนอกบริเวณโรงเรียนในขณะท่ีมีคาบสอนและเป็นกรณีท่ีเป็นเร่ือง
ท่ีโรงเรียนส่ังไปปฏิบัติราชการให้ขออนุญาตผู้อานวยการโรงเรียนด้วยวาจาและแจ้งรองผู้อานวยการ
กล่มุ บริหารวชิ าการ เพ่ือดาเนินการมอบหมายการสอนแทน กอ่ นไปปฏิบตั ริ าชการทุกคร้งั

หมวดที่ 4 การเขา้ ประชุม ใหป้ ฏิบัติ ดังนี้

1. กรณีมีการประชมุ โรงเรยี นจะแจง้ ให้ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วนั และเขา้ หอ้ งประชุมก่อนเวลา

อยา่ งน้อย ๕ นาที

2. ลงลายมือชอื่ เข้ารว่ มการประชมุ และหลังเลกิ การประชุมทุกครัง้ หากไม่ไดล้ งลายมือชอ่ื ให้บันทึกช้ีแจง

ตอ่ ผอู้ านวยการโรงเรียน

๓. ผู้เข้าประชมุ ควรรกั ษามารยาทในการเขา้ ประชุม

๔. การประชุมครูทุกครั้งต้องทาบันทึกขออนุญาตประชุมโดยเสนอผู้อานวยการโรงเรียนทราบก่อนและต้องมี

การบันทกึ การประชมุ ไวเ้ ปน็ หลักฐานและรายงานใหผ้ ู้อานวยการโรงเรียนทราบหลงั จากเสรจ็ ประชมุ ทกุ คร้งั

หมวดท่ี 5 การไปราชการ ใหป้ ฏบิ ัติ ดงั นี้

1. การไปราชการทุกครง้ั ไม่วา่ เปน็ คาสงั่ โรงเรยี นหรือคาสง่ั ผ้บู งั คับบัญชาเหนอื ขึ้นไป ให้ปฏิบตั ิ ดงั นี้
1.1 เสนอบนั ทกึ ขออนญุ าตไปราชการตอ่ ผู้อานวยการโรงเรียนลงนามอนุญาต กอ่ นไปราชการล่วงหน้า
อย่างนอ้ ย 1 วนั เมือ่ ไดร้ ับอนุญาตแล้วจึงจะไปราชการได้
1.2 แจ้งรองผู้อานวยการกลุม่ บรหิ ารวชิ าการทราบก่อนไปราชการลว่ งหน้าอยา่ งน้อย 1 วัน
1.3 ดาเนนิ การมอบหมายหน้าท่กี ารสอนแทนของวนั ท่ีไปปฏบิ ัตริ าชการ เสนอตอ่ รองผ้อู านวยการ
กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ กอ่ นวันท่ีไปปฏิบตั ิราชการลว่ งหน้าอยา่ งน้อย ๑ วนั
1.4 กรณมี คี วามจาเปน็ เรง่ ด่วนท่ีโรงเรยี นสง่ั ใหไ้ ปปฏิบตั ิราชการให้ขออนญุ าตผอู้ านวยการโรงเรียน
ดว้ ยวาจาและแจ้งรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการทราบก่อนไปปฏิบัตริ าชการทกุ ครงั้
1.5 เมือ่ กลับจากการไปราชการแล้วตอ้ งบันทกึ รายงานการปฏิบัติราชการเสนอผู้อานวยการโรงเรียนทราบ
ทุกครง้ั



1.6 การเบกิ คา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการให้ดาเนินการตามระเบียบไดท้ ันทหี ลังจากกลับมาปฏิบัติ
หน้าท่ตี ามปกติ

หมวดท่ี 6 การรบั ทราบคาส่ัง ให้ปฏบิ ัติ ดงั นี้
1. การส่งั ใหผ้ ้ใู ดปฏบิ ัติราชการนอกเหนือการสอน โรงเรยี นจะสาเนาคาส่ังใหผ้ ู้นนั้ 1 ฉบบั และควรเก็บรักษา

คาส่ังดงั กลา่ วไว้เพื่อจะได้นาไปปฏิบัติไดถ้ ูกตอ้ งและเพ่ือรวบรวมไว้เป็นผลงาน
2. เมื่อได้รบั คาส่ังให้ปฏิบตั ริ าชการต้องลงลายมือชื่อรับทราบด้วยทกุ ครั้ง หากไม่สามารถปฏิบัติราชการได้

ใหบ้ ันทกึ ถึงผู้อานวยการโรงเรยี นเพอ่ื พิจารณา

หมวดทหี่ ม7วดทก่ีา7รแกตา่งรกแาตยง่ กาย
1. การแต่งกายในเวลาราชการทกาหนดให้ข้าราชการครูและบุคลากร แต่งกาย ดงั นี้
➢ วันจันทร์ แตง่ เคร่ืองแบบข้าราชการ
➢ วันองั คาร แตง่ ชุดสุภาพเสื้อสเี หลอื งตราโรงเรยี น
➢ วนั พธุ แต่งเครอื่ งแบบผูบ้ ังคบั บญั ชาลูกเสือ–เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ าเพ็ญประโยชน์และ
นกั ศึกษาวชิ าทหาร
➢ วนั พฤหัสบดี พฤหสั บดีแรกของเดือน แต่งชดุ เส้ือฟ้ามูลนิธิ พฤหัสบดถี ดั ไป แต่งชุดสภุ าพ
➢ วันศกุ ร์ แตง่ ชดุ ผา้ ไทย ชดุ ชนเผา่ หรือชดุ พื้นเมือง
๒. การแตง่ กายสภุ าพ หมายถึง การแต่งกายทเี่ หมาะสมกบั ฐานะแหง่ ความเป็นครู ไมส่ วมรองเทา้ ฟองนา้
รองเทา้ แตะ ไมส่ วมเสอ้ื ผา้ รดั รูป เส้อื ยืด กระโปรงสั้นเหนือเข่าไมเ่ กนิ ๕ เซนตเิ มตร ไม่สวมกางเกงยนี ส์
๓. การแต่งกายนอกเวลาในโรงเรยี น หมายถึง การแตง่ กายสภุ าพ ไม่สวมกางเกงขาสั้น ไม่โป๊ ไม่ผา่ ไม่รดั รูป
๔. การแต่งกายในการมาปฏบิ ัติราชการในวันหยุดนกั ขตั ฤกษ์ โรงเรียนจะแจง้ ใหท้ ราบแต่ละคร้ัง

หมวดที่ 8 เวลาเรียน

ตารางเวลาเรียน ประจาปีการศกึ ษา 2564
07.45 – 08.10 น. เขา้ แถวเคารพธงชาติ ควบคมุ ดูแลนักเรยี นทากิจกรรมหนา้ เสาธง
08.10 – 08.30 น. กิจกรรมโฮมรมู ครูทปี่ รกึ ษารายงานกิจกรรมหลกั ไตรรงค์
08.30 – 09.20 น. เรยี นคาบท่ี 1
09.20 – 10.10 น. เรยี นคาบท่ี 2
10.10 – 10.20 น. พกั
10.20 - 11.10 น. เรียนคาบท่ี 3
11.10 – 12.00 น. เรยี นคาบที่ 4



12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหาร
13.00 – 13.50 น. เรยี นคาบท่ี 5
13.50 – 14.40 น. เรยี นคาบที่ 6
14.40 – 15.30 น. เรยี นคาบท่ี 7
15.30 – 16.20 น. เรียนคาบที่ 8
16.20 – 16.30 ครูท่ปี รึกษาควบคมุ ดแู ลนักเรยี น ทาความสะอาดหอ้ งเรยี น ทาเวรสว่ นกลางและ

สวนพฤกษศาสตร์

หมวดท่ี 9 บทบาทหน้าทขี่ องครู

หวั หน้างาน/หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ มหี น้าท่ี ดังนี้
1. ศึกษาขอบข่ายงานและภาระหน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบใหล้ ะเอยี ดและทาความเขา้ ใจใหช้ ัดเจน
2. เปน็ ผ้นู าครูในการดาเนนิ งานตามขอบข่ายงานหนา้ ท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย
3. วางแผน ดาเนนิ งาน ประเมินผล ปรบั ปรงุ และพฒั นางานอย่างต่อเนือ่ งแล้วรายงานให้
รองผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ าร และเสนอตอ่ ผู้อานวยการโรงเรียน
4. นเิ ทศและตดิ ตามงานสมา่ เสมอ
5. เปน็ ผู้นาในการจัดประชุม โดยเตรียมข้อมลู ทเี่ ก่ียวข้องประกอบการตดั สินใจใหส้ มบรู ณ์ท่ีสดุ

ครูท่ปี รึกษา มหี นา้ ที่ ดังน้ี
1. ควบคุมแถวตอนเช้าก่อนเคารพธงชาติ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการชกั ธงชาติ
ในสถานศึกษา พ.ศ.2530 ข้อ 5 (1)
2. ปฏบิ ัติหน้าท่คี มุ แถวนักเรียนห้องทป่ี ระจาช้นั ตั้งแต่เวลา 07.45 – 08.10 น. ของทกุ วัน
3. ดาเนนิ กิจกรรมโฮมรูม พบนักเรียน สารวจจานวนนกั เรยี น สอบถามปัญหาและอบรมนักเรียน
เวลา 08.10 - 08.30 น. บนั ทึกและรายงานกจิ กรรมโฮมรูมลงในระบบออนไลนต์ ามท่โี รงเรียน
กาหนด
4. ร่วมกจิ กรรมประจาวันกับนกั เรียนตามทโ่ี รงเรยี นกาหนด
5. สารวจรายช่ือนกั เรยี นท่ีขาดเรยี นทุกวนั เพื่อบันทึกลงสถิตินกั เรียนและติดตามนักเรียนทขี่ าดเรียน
6. จดั ทาประวัตนิ กั เรียนในแฟม้ ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนใหเ้ ป็นปัจจุบนั
7. จดั ทาเอกสาร ปพ.5 ใหเ้ ป็นปจั จบุ นั
8. จดั และกากบั ดูแลความสะอาด จดั บรรยากาศในห้องเรียนร่วมกับนักเรียนใหเ้ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ของ
ผู้เรยี น
9. หนา้ ที่อนื่ ๆ ปฏิบตั ิตามระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น



หมวดท่ี 10 บทบาทหน้าที่ของครเู วรประจาวนั มีหน้าที่ ดงั น้ี

เวลาเชา้
1. รบั นักเรียนตอนเชา้ ต้งั แต่เวลา 05.00 น. เปน็ ต้นไป เพื่อนานักเรียนออกกายบริหาร
2. ดูแลนกั เรยี นทาความสะอาดเวรสว่ นกลาง ตรวจตราความเรียบรอ้ ยบริเวณอาคารเรียน หอ้ งน้า ห้องส้วม
บริเวณโดยรอบของโรงเรียนและรายงานหัวหนา้ เวรเพอื่ บนั ทึกและแก้ไข
3. ควบคมุ ดูแลการทากจิ กรรมหลักไตรรงคท์ ั้งเช้าและเยน็ ให้ผู้ควบคมุ แถวรายงานการตรวจความสะอาดของ
พ้ืนท่ีรับผิดชอบ
4. ควบคมุ ดูแลการรบั ประทานอาหารเชา้ พบปัญหาให้แก้ไขและรายงานใหห้ ัวหนา้ เวรเพ่ือรายงานต่อผู้ตรวจ
เวรและผูอ้ านวยการโรงเรียนตอ่ ไป
5. กลา่ วชมเชยนักเรียนที่ทาความดี (ถ้าม)ี และเรอ่ื งแจง้ ให้ทราบ (ไม่ควรดุ ตาหนินกั เรียนท่ที าความผิดแต่ให้
ขอพบนกั เรยี นหลังแยกขึ้นช้ันเรียน เพ่อื อบรมแกไ้ ขพฤติกรรม)
6. คุมนกั เรียนทีม่ าไม่ทนั เคารพธงชาติ เพ่อื ทากจิ กรรมหลกั ไตรรงค์ แล้วจึงปล่อยนักเรียนขน้ึ หอ้ งเรยี น

เวลากลางวัน
1. ดูแลความเรียบร้อย การรับประทานอาหารของนักเรยี นทห่ี อนอน พบปญั หาให้แก้ไขและรายงานให้หัวหนา้
เวรเพื่อรายงานต่อผ้ตู รวจเวรและผอู้ านวยการโรงเรียนทราบตอ่ ไป
2. ดแู ลความเรียบร้อยของอาคาร หอ้ งน้า ห้องสว้ ม และบริเวณโดยรอบ

เวลาบา่ ย
ตรวจความเรยี บรอ้ ย ห้องเรยี น อาคารเรยี น และบรเิ วณโดยรอบอีกครง้ั หากพบความไม่เรียบร้อยให้
รายงานหวั หนา้ เวรทราบ

เวลาเยน็
๑. ตรวจความเรยี บรอ้ ย ห้องเรียน อาคารเรยี น และบรเิ วณโดยรอบอีกครั้ง หากพบความไม่เรียบร้อยใหร้ ายงาน
หวั หนา้ เวร
๒. สิ้นสุดการปฏิบัตหิ นา้ ที่ครเู วรประจาวัน เวลา 18.00 น.



หมวดที่ 11 บทบาทหนา้ ที่ของครูผู้สอน

ครูผสู้ อน มีหนา้ ท่ี ดังนี้
1. เตรยี มการสอน วิเคราะห์หลักสตู ร ออกแบบการจัดการเรยี นรู้ จัดทากาหนดการสอน แผนการจัดการเรียนรู้
สื่ออปุ กรณ์ วดั ผลและประเมินผลและวจิ ัย
2. แก้ปัญหาพฤติกรรมนักเรยี น ในชว่ั โมงทส่ี อน
3. เข้า –ออก ห้องที่สอนตรงตามเวลาไมท่ ิ้งหอ้ งเรียนให้เกิดปัญหา
4. สารวจจานวนนกั เรียนทกุ คร้ังก่อนสอนและรายงานข้อมลู จานวนนกั เรยี นในระบบออนไลน์ท่โี รงเรยี นกาหนด
5. ใช้ส่ือการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายสอนนักเรยี น
6. ปรบั เปลี่ยนวิธสี อนให้มีกจิ กรรมการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย ไมน่ ่งั สอนบอกจดหรืออ่านให้ฟังและเนน้ ผ้เู รียนเปน็
สาคญั
7. ดแู ลเอาใจใส่นกั เรยี น การแต่งกาย การทาความสะอาดหอ้ งเรยี น
8. เข้าสอนแทนตามชัว่ โมงท่ีไดร้ ับมอบหมาย
การทากาหนดการสอน ให้ปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
1. ครผู ู้สอนตอ้ งทากาหนดการสอนและแผนการจัดการเรยี นรู้ทุกรายวิชาที่สอน
2. ครผู ู้สอนตอ้ งสอนตามมาตรฐาน สาระการเรียนรู้และตวั ช้ีวัดที่สอดคล้องกบั คาอธบิ ายรายวิชาทกี่ าหนดใน
หลักสตู ร และตามกาหนดการสอน ตามการวดั และประเมินผล
3. ครูผสู้ อนตอ้ งทาแผนการสอนต้องทาลว่ งหน้าก่อนทาการสอน แลว้ สง่ ผู้บรหิ ารเพอ่ื ตรวจ
การลงบันทึกการสอน ให้ปฏบิ ัติ ดงั นี้
1. ครผู ู้สอนตอ้ งสารวจรายช่ือนักเรยี นที่ขาดเรยี น นกั เรียนทไ่ี ม่ได้เขา้ เรียน ในแต่ละคาบเรยี นและใหบ้ ันทึก
รายชือ่ นกั เรยี นที่หนีเรียนในช่องหมายเหตุในรายวชิ าทีส่ อนโดยบันทกึ ลงในสมุดบันทึกการสอนและแจ้งให้
ครทู ป่ี รึกษาทราบ ทุกคร้งั เพ่อื แก้ไขพฤติกรรมนักเรยี น
2. บันทกึ เวลาเรียนลงใน ปพ.5 ออนไลน์
3. บนั ทึกคะแนนระหวา่ งภาคเรียน รายงานผลการเรยี น ปพ.5 ให้ผู้อานวยการโรงเรียนอนมุ ตั ผิ ลการเรียนเมอ่ื
ส้นิ ภาคเรียน/สิ้นปีการศกึ ษา
การสอนแทน ใหป้ ฏบิ ตั ิ ดังนี้
1. ในกรณคี รทู า่ นใด มไิ ด้มาปฏบิ ัติการสอนไม่ว่ากรณีใด ๆ ให้ปฏิบัติ ดังน้ี
1.1 ใหร้ องผูอ้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ มอบหมายครูอ่ืนเขา้ สอนแทนและแจง้ ให้ครรู ับทราบใน
คาบท่ี 1
1.2 ครูทไี่ ดร้ ับมอบหมายให้สอนแทนรับเอกสารการสอนแทนท่ีรองผู้อานวยการกล่มุ บริหารวิชาการ
2. เม่ือจัดครูท่านใดเข้าสอนแทนให้ครูที่ได้รับมอบหมายให้สอนแทนลงนามรับทราบในสมุดจัดสอนแทนแล้ว
เสนอใหผ้ อู้ านวยการ ลงนาม รับทราบ โดยถอื เป็นคาสง่ั ทกุ คร้งั
3. การมอบหมายให้สอนแทน ครูที่สอนแทนต้องดแู ลรบั ผิดชอบนักเรยี นทีส่ อนแทนเสมือนการสอน ในคาบปกติ
การฝากคาบสอนให้ผู้อื่นดูแลนกั เรยี นแทนตน ไมส่ ามารถปฏิเสธความรับผดิ ชอบได้



4. ในกรณที ีไ่ ม่สามารถปฏบิ ัติหนา้ ท่ีสอนแทนได้ ไม่ว่าดว้ ยเหตใุ ด ๆ ก็ตาม ใหแ้ จ้งรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ าร
วิชาการทราบทุกคร้งั

หมวดที่ 12 การอยูเ่ วร – เวรยาม

ครเู วรวนั หยุดและเวรกลางคืน มหี น้าที่ ดงั นี้
1. การอยู่เวรในรักษาความปลอดภยั ในโรงเรยี น ให้ปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
1.1 ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่เวรตามเวลาที่กาหนด
1.2 ต้องอยปู่ ฏิบัติหน้าทีต่ ามจุดท่ไี ด้กาหนดไวใ้ นคาสั่ง
1.3 ตอ้ งบันทกึ เวรให้เปน็ ปัจจบุ นั ทุกวัน
1.4 การอยูเ่ วรในเวลากลางวนั ในวันเสาร์– วันอาทติ ย์ และวันหยดุ ราชการใหอ้ ยู่เวรตัง้ แต่เวลา
05.00 น.–18.00 น. การอยูเ่ วรกลางคนื ให้อยู่เวรต้งั แตเ่ วลา 18.00 น. – 06.00 น. ของวนั ร่งุ ข้ึน
2. ตรวจสอบความเรียบรอ้ ยบรเิ วณโรงเรยี นโดยรอบทุกระยะก่อนรับและส่งเวร หากพบความผิดปกตใิ หร้ ายงาน
ผู้ตรวจเวรหรอื ผ้อู านวยการโรงเรยี นทราบทนั ที
3. หากมคี วามจาเป็นไมส่ ามารถมาปฏบิ ตั หิ นา้ ทีใ่ หบ้ ันทึกขอเปลีย่ นเวรก่อนถงึ วนั ปฏบิ ัติหนา้ ท่ี
4. หากมีกรณจี าเปน็ เร่งดว่ นไมส่ ามารถมาปฏบิ ัติหนา้ ทไ่ี ด้ให้ตดิ ตอ่ ผู้ตรวจเวรเพ่ือปฏบิ ตั ิหน้าที่แทนไปก่อน
5. การตรวจเวรวนั หยดุ ราชการ และการตรวจเวรกลางคนื ให้ผตู้ รวจเวร ตรวจใน 2 ชว่ั โมงแรกของการอยู่เวร
หากไมพ่ บครูเวรให้ผูต้ รวจแกป้ ญั หาจดั หาผู้อยเู่ วรแทน
6. การแลกเปลี่ยนเวรต้องทาเปน็ บันทึกขอเปล่ียนเวรในระบบตามที่โรงเรยี นกาหนดและตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจาก
ผู้อานวยการโรงเรยี นกอ่ น
7. การไปราชการ การลากิจ ผู้ลาต้องดาเนินการแลกเปลี่ยนเวรแทนเอง โดยได้รับอนุญาตจากผู้อานวยการ
โรงเรียน การลาป่วยผู้ลาต้องดาเนินการให้มีผู้อยู่เวรแทน หากแก้ปัญหาไม่ได้ให้แจ้งผู้ตรวจเวรทราบ
เนื่องจากผู้ตรวจเวรสามารถติดต่อได้ทางโทรศพั ท์ เมือ่ ผู้ตรวจเวรได้รับแจง้ ต้องแก้ปญั หาให้โรงเรยี นทันที
8. กรณีเกิดเหตใุ นระหว่างท่ีปฏบิ ตั ิหนา้ ทค่ี รูเวร ให้แจ้งผู้ตรวจเวรและผอู้ านวยการโรงเรียนทราบทันที
9. การไดร้ ับคาสั่งให้มาปฏบิ ัติหนา้ ท่ีอยเู่ วรรักษาความปลอดภัย แลว้ ไมม่ าปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ตามคาสง่ั หากเกดิ เหตุ
ขึ้นในชว่ งเวลาที่ได้รับมอบหมายใหป้ ฏิบัตหิ นา้ ท่ี ให้ถือเปน็ ความรับผิดชอบของครเู วร

๑๐

หมวดที่ 13 บทบาทหน้าที่ของครูหอนอน มีหนา้ ที่ ดังนี้

วนั ทาการ

เวลา 04.50 – 05.10 น. ดูแลนักเรียนให้ตื่นนอนตามเวลาที่กาหนด พร้อมทง้ั กากบั และติดตามใหน้ กั เรียนจัดเกบ็

ทน่ี อน ผา้ ปู ผา้ หม่ ให้เรยี บรอ้ ย

เวลา 05.10 – 05.20 น. ตรวจสอบนกั เรียนตามรายชื่อ ตรวจวัดอุณหภูมิ ตรวจเคร่อื งแตง่ กาย รายงานในระบบและ

ปลอ่ ยนกั เรียนไปทากจิ กรรมสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายและทาเวรส่วนกลาง

เวลา 06.00 – 06.50 น. ดูแลนักเรยี นทาเวรความสะอาดหอนอน

เวลา 07.35 – 07.40 น. สารวจการแต่งกายของนักเรยี นใหถ้ ูกระเบยี บและอุปกรณใ์ นการรับประทานอาหารของ

นักเรียนให้ครบถ้วน

เวลา 07.35-07.40 น. ตรวจความเรยี บรอ้ ยของนักเรียน (เครอ่ื งแต่งกาย ทรงผม การใช้เครอ่ื งประดับ

การใช้เครอ่ื งสาอาง) นักเรียนเดนิ แถวทากจิ กรรมหลักไตรรงค์และเรียนหนงั สือตามปกติ

เวลา 18.00 -19.30 น. ดแู ลนกั เรยี นทาเวรประจาวันท่ีหอนอน

เวลา 19.30 – 20.30 น. สารวจจานวนและรายช่อื นกั เรียน พดู คุย สอบถาม เร่อื งราวของนักเรยี นในรอบวันทผ่ี ่านมา

และแจง้ ขา่ วสารต่าง ๆ ให้นกั เรียนทราบและอบรมสง่ั สอนนกั เรยี นในเรื่องต่าง ๆ สวดมนต์

ร้องเพลงสรรเสรญิ พระบารมีและรายงานในระบบ

เวลา 21.00 น. ดแู ลนักเรยี นเขา้ นอนและตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยของหอนอน

วันเสาร์และวนั นักขัตฤกษ์

เวลา 04.50 – 05.10 น. ดูแลนักเรยี นให้ตื่นนอนตามเวลาท่กี าหนด พร้อมทัง้ กากับติดตามใหน้ กั เรียนจัดเกบ็ ทน่ี อน

ผ้าปู ผา้ หม่ ให้เรยี บรอ้ ย

เวลา 05.10 – 05.20 น. สารวจจานวนและรายช่ือนกั เรยี น ตรวจวัดอุณหภมู ิ ตรวจเคร่ืองแตง่ กาย รายงานในระบบ

และปลอ่ ยนกั เรียนไปทากจิ กรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายและทาเวรสว่ นกลาง

เวลา 06.00 – 06.50 น. ดูแลนกั เรยี นทาเวรความสะอาดหอนอน

เวลา 07.35 – 07.40 น. สารวจการแตง่ กายของนักเรยี นให้ถูกระเบยี บและอปุ กรณ์ในการรับประทานอาหารของ

นกั เรียนให้ครบถว้ น

เวลา 10.00-19.00 น. ดแู ลนกั เรียนทาภารกิจส่วนตวั หรอื ภารกิจส่วนรวม เชน่ อาบนา้ ซักเส้ือผ้า รดี ผ้า

การทาการบา้ น ฯลฯ

เวลา 19.30 – 20.30 น. สารวจจานวนและรายช่อื นกั เรียน ประเมินผลกจิ กรรมในรอบวันทีผ่ า่ นมา สวดมนต์

รอ้ งเพลงสรรเสรญิ พระบารมแี ละรายงานในระบบ

เวลา 21.00 น. ดแู ลนักเรียนเข้านอนและตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยของหอนอน

๑๑

วนั อาทิตย์

เวลา 05.30 – 05.50 น. ดูแลนกั เรียนให้ตื่นนอนตามเวลาทกี่ าหนด พร้อมทงั้ กากับติดตามให้นักเรียนจัดเกบ็ ทน่ี อน

ผ้าปู ผ้าหม่ ใหเ้ รยี บร้อย

เวลา 05.50 – 06.00 น. ตรวจสอบนักเรียนตามรายช่ือ ตรวจวดั อุณหภูมิ ตรวจเครอื่ งแต่งกาย รายงานในระบบและ

ปล่อยนักเรียนไปทาเวรส่วนกลาง

เวลา 06.00 – 06.50 น. ดแู ลนกั เรยี นทาเวรความสะอาดหอนอน

เวลา 07.35 – 07.40 น. ตรวจเชค็ การแต่งกายของนักเรียนใหถ้ ูกระเบียบและอุปกรณ์ในการรับประทานอาหารของ

นกั เรียนให้ครบถ้วน

เวลา 07.40 - 12.00 น. วางแผนร่วมกับนักเรียนในการพัฒนาหอนอนและกากบั ติดตาม นักเรียนพฒั นาหอนอนโดย

เนน้ เรื่องความปลอดภยั จากเครือ่ งมือทใ่ี ช้

เวลา 12.50 - 19.00 น. ดแู ลนกั เรียนทาภารกจิ สว่ นตวั หรอื ภารกจิ ส่วนรวม เชน่ อาบนา้ ซกั เสือ้ ผา้ รดี ผ้า

ทาการบ้าน ทากิจกรรมส่งเสรมิ อาชพี อิสระเพ่ือการมรี ายได้ระหว่างเรยี น ตดิ ตาม ตรวจสอบ

นักเรยี นทอี่ อกไปทากิจกรรมนอกหอนอน เชน่ ซ้อมดนตรี กฬี า เป็นตน้

เวลา 19.30 – 20.30 น. สารวจจานวนและรายชอ่ื นกั เรียน ประเมนิ ผลกจิ กรรมในรอบวันทผี่ ่านมา ร้องเพลง

สรรเสริญพระบารมี และรายงานในระบบ

เวลา 21.00 น. ดูแลนักเรียนเขา้ นอน

หมวดท่ี 14 เบ็ดเตล็ด

1. การรบั ของมีคา่ ของนักเรียน ต้องรายงานใหผ้ ู้อานวยการโรงเรียนทราบทกุ กรณี เพ่ือแจ้งผู้ปกครองทราบ
2. ห้ามลงโทษนักเรียนด้วยการตีอย่างเด็ดขาด การลงโทษนักเรียนให้ดาเนินการตามระเบียบ

กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ.2548 ยกเว้นท่ีหอนอนให้อ้างอิงตาม
ข้อตกลงของหอนอนแต่ต้องไม่ขัดต่อระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา
พ.ศ.2548
3. การเก็บเงนิ หรือวางแผนระดมทรัพยากรจากนักเรียนทุกกรณี ต้องขอความเห็นชอบจากผู้อานวยการโรงเรยี น
กอ่ น
4. การนานักเรียนออกนอกสถานศึกษาต้องบันทึกขออนุญาตโรงเรียนและทาหนังสือขออนุญาตผู้ปกครอง
ทกุ ครงั้
5. นักเรยี นคนใดมโี รคประจาตวั ให้แจ้งครทู ป่ี รึกษาและครูหอนอนทราบข้อมลู และรายงานให้โรงเรยี นทราบ

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จงั หวัดลาพนู
1 พฤษภาคม 2564


Click to View FlipBook Version