The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2ภาวะผู้นำสำหรับครู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ratda_Lert, 2021-08-21 05:13:14

ภาวะผู้นำของครู

2ภาวะผู้นำสำหรับครู

30

บทท่ี 2 ภาวะผนู้ าสาหรับครู

โครงสร้างเน้อื หา

2.1 ความหมายของผนู้ า และภาวะผ้นู า
2.2 คุณสมบตั ขิ องผนู้ า
2.3 ระดับชัน้ ของผู้นา
2.4 ภาวะผู้นาทางวชิ าการ
2.5 ภาวะผ้นู าการเรียนรู้
2.6 ภาวะผู้นาเชงิ สร้างสรรค์
2.7 สรุป

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

จากการเรียน เรือ่ งภาวะผนู้ าสาหรบั ครู
นกั ศกึ ษาสามารถ
1. อธิบายความหมายของผู้นา และภาวะผ้นู าได้
2. อธบิ ายคณุ สมบัตขิ องผ้นู าได้
3. อธบิ ายคุณลกั ษณะของภาวะผนู้ าสาหรับครไู ด้
4. ยกตัวอยา่ งบุคคลทเ่ี ปน็ ผนู้ าในแตล่ ะระดับชน้ั ของผนู้ าได้

ในองค์การต่างๆ จาเป็นต้องมีผู้นา ผู้นา (Leader) มีผลต่อต่อความสาเร็จขององค์การ เน่ืองจาก
ผู้นามีภาระหน้าท่ี และความรับผิดชอบโดยตรงที่จะต้องวางแผน ส่ังการดูแล และควบคุมให้บุคลากรของ
องคก์ ารปฏิบตั ิงานต่างๆ ให้ประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายทต่ี ั้งไว้ จึงมนี ักวิชาการเล็งเห็นความสาคัญของ
ผู้นา จึงเกิดการศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติและความสามารถของผู้นามากพอสมควร ผู้ที่เป็นผู้นามักจะต้องมี
คุณสมบัติบางประการที่จาเป็นทาให้เกิดสภาพการเป็นผู้นาได้หรือหรือท่ีเรียกว่ามีภาวะผู้นา (Leadership)
สาหรับองค์การที่เป็นสถานศึกษาซ่ึงเป็นแหล่งให้ความรู้และพัฒนาความสามารถของบุคคล ผู้นาใน
สถานศึกษาจึงจาเป็นต้องมีคุณสมบัติท่ีสอดคล้องสาหรับการบริหารจัดการสถานศึกษา ผู้นาในสถานศึกษา
อาจจะเป็นผู้ทมี่ ีตาแหน่งทางการบริหาร เชน่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา หรืออาจจะเป็นครู ท่ไี ดร้ ับการยอมรับ
ให้ทาหน้าท่ีผู้นาในเร่ืองต่างๆ หรืออาจจะเปน็ บุคลากรอื่น ที่มีความสามารถและได้รับการยอมรบั ก็ได้ ในบท
น้ีจะได้กล่าวถึงภาวะผู้นาท่ีเห็นว่ามีความเกี่ยวข้องจาเป็นสาหรับผู้ทีเ่ ป็นครู ซึ่งอาจจะต้องปฏิบัติหน้าที่ในการ
บริหารจัดการเรียนการสอน หรือมีหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับงานบริหารต่างๆ ด้วย ได้แก่ ภาวะผู้นาทางวิชาการ
ภาวะผนู้ าการเรียนรู้และภาวะผูน้ าเชงิ สรา้ งสรรค์

2.1 ความหมายของผู้นา และภาวะผนู้ า

2.1.1 ความหมายของผู้นา

ความสาเร็จในการทางานยอ่ มต้องมีผู้นาที่มคี วามสามารถ จงึ มีนกั วิชาการจานวนมากให้
ความสนใจศกึ ษาเกยี่ วกบั ผู้นา และได้ใหค้ วามหมายของผนู้ าไว้ ดงั เชน่

เสริมศักด์ิ วิศาลาภรณ์ (2546, น.5-10) เสนอว่าไว้ว่า “ผู้นา” หมายถึง บุคคลที่ได้รับ
มอบหมายซ่ึงอาจโดยการเลือกต้ัง หรือแต่งตั้ง และเป็นท่ียอมรับของสมาชิกให้มีอิทธิพลและบทบาทเหนือ
กลุ่ม สามารถจูงใจ ชกั นา หรอื ชี้นาใหส้ มาชิกของกลุม่ รวมพลังเพอื่ ปฏบิ ตั ภิ ารกิจต่างๆ ของกลุม่ ใหส้ าเร็จ

เนตร์พัณณา ติเยาว์ (2560 , น. 1-2) ได้เสนอว่า ผ้นู า หมายถึง บุคคลท่ีได้รับการยอมรับ
และยกย่องจากบุคคลอ่ืน และผู้นาในองค์กร หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับการแต่งตั้งข้ึนมา หรือได้รับการยกย่อง
ให้เป็นหัวหนา้ ในการดาเนินงาน ในองคก์ รต่างๆ ต้องอาศยั บคุ คลทม่ี คี วามเป็นผนู้ าจึงจาทาให้องค์กรดาเนนิ ไป
อยา่ งบรรลผุ ลสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ และนาพาหนว่ ยงานไปสูค่ วามเจริญก้าวหน้า

เศาวนิต เศาณานนท์ (2542, น. 8) ได้เสนอว่า ผู้นาคือบุคคลทม่ี ีอิทธิพลมากที่สุดในกลุ่ม
จะมาจากการเลอื กตัง้ หรอื แต่งตั้ง หรือยกย่องจากลุ่มให้เป็นผ้ชู ี้แนะช่วยเหลือให้กลุ่มปฏิบัติกจิ กรรมตา่ งๆ จน
ประสบความสาเร็จตามเปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้

2

พระธรรมปิฎก (2546, น. 3-4) ได้ให้ความหมายของผู้นาไว้ว่า ผู้นาคือบุคคลท่ีจะมา
ประสานช่วยให้คนทั้งหลายรวมกัน โดยทีว่ ่าจะเปน็ การอยู่ร่วมกันก็ตามหรือทาการรว่ มกนั ก็ตาม ให้พากันไป
ด้วยดสี ู่จุดหมายที่ดงี าม

Greenberg and Baron (2000, pp. 445-446) ได้ให้ความหมายของผู้นาไว้ว่า ผู้นา
หมายถึงผู้ท่ีมีหน้าท่ีในการกาหนดเป้าหมาย ภารกิจขององค์กร และกาหนดยุทธศาสตร์ที่จะทาให้เกิดการ
ดาเนินงานเพื่อบรรลุผลตามเป้าหมายหรือภารกจิ ทกี่ าหนดไว้

สุเมธ แสงน่ิมนวล(2552, น. 1-22) ได้ให้ความหมายของผู้นา ไว้ว่าผู้นาจะมีลักษณะ
สาคัญ 3 ประการคือเป็นผู้มีความสามารถชักจูงผู้อื่นให้คล้อยตามได้ ผู้นาจะเกิดข้ึนเม่ือมีสถานการณ์เป็น
ตัวกาหนด ผู้นาจะได้รับการเลือกของกลุ่มคนต้ังแต่ 2 คนข้ึนไปจนถึงกลุ่มคนขนาดใหญ่ ทาให้ได้รับการ
ยอมรับ

สุวิมล ตั้งประเสริฐ(2558, น. 3) ได้เสนอว่า ผู้นาหมายถึงบุคคลท่ีสามารถใช้อิทธิพลให้
ผอู้ ่ืนยอมรับเป้าประสงค์ของตน โดยการชี้นาหรือโน้มน้าวให้ผู้อื่นเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการปฏิบัติงานให้
บรรลเุ ปา้ หมายทีต่ ้องการ

จากการเสนอความหมายของผู้นา โดยนักวชิ าการหลายท่านท่ีผู้เขยี นได้นามาแสดงไวแ้ ล้ว
นั้น ผู้เขียนได้ประมวลและสรุปเป็นความหมายของ “ผู้นา” ดังน้ี ผนู้ าหมายถึงบุคคลท่มี ีความสามารถและ
ได้รับการยอมรับจากสมาชิกในกลุ่มหรือในองค์กร ให้เป็นผู้ช้ีนา ช้ีแนะ กาหนดเป้าหมายและแนวทางปฏิบัติ
เพ่ือให้ผลการดาเนินงานของกลุ่มหรือองค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความภาคภูมิใจและความ
สามคั คีใหแ้ ก่กล่มุ หรอื องคก์ ร

3

2.1.2 ความหมายของภาวะผู้นา

การบริหารจัดการในองค์กรให้ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายน้ัน “ผู้นา”มีส่วนสาคัญ
อย่างยงิ่ ที่จะ “นา” ใหเ้ กิดการดาเนนิ งานท่ีถูกต้องเหมาะสม ผู้นาจะต้องมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และ
กลวิธี ท่ีจะช่วยพัฒนางานและแก้ไขปัญหาต่างๆ ซึ่งจะนาไปสู่ความมั่นคง ก้าวหน้า องค์กรและผู้ท่ีอยู่ใน
องค์กรน้ัน มนี กั วิชาการได้สนใจศึกษาเกี่ยวกบั ภาวะผนู้ าและได้ให้ความความของภาวะผู้นาไวค้ อ่ นข้างมาก ใน
ทีน่ จี้ งึ ขอนามากลา่ วไว้บางส่วนดังน้ี

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (2546, น. 5-10) ภาวะผู้นาเป็นการใช้อิทธิพลของบุคคลหรือ
ของตาแหน่งให้ผู้อ่ืนยินยอมปฏิบัติตามเพื่อที่จะนาไปสู่การบรรลเุ ป้าหมายของกลุ่มตามทกี่ าหนดไว้ หรืออาจ
กลา่ วได้วา่ ภาวะผูน้ าเปน็ รปู แบบอิทธิพลระหวา่ งบคุ คล (Interpersonal Influence)

สาเริง บุญเรืองรัตน์(2557, น. 14-32) ได้กล่าวถึงความหมายของ “ภาวะผู้นา” ไว้ว่า การที่
บคุ คลมีลักษณะทสี่ ามารถชักนาให้คนทั้งหลายมาประสานกัน และพากันไปสู่จุดมุ่งหมายที่ดีงาม คุณลักษณะ
หรือคุณสมบัติของบุคคลท่ีสามารถนาผู้อื่นให้มาทางานร่วมกันสู่จุดหมายได้ เรียกว่า “ภาวะผู้นา” และเรียก
บุคคลทม่ี ีลักษณะดังกลา่ ววา่ “ผนู้ า”

Yukl (2010, p. 21) กล่าวว่า ภาวะผู้นา หมายถึง กระบวนการใช้อิทธิพลโน้มน้าวท่ีมีผลต่อ
การตัดสินใจของกลุ่มหรือวัตถุประสงค์ขององค์การหรือกระบวนการใช้อิทธิพล กระบวนการกระตุ้นพฤติ
กรรมการทางานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ กระบวนการโน้มน้าวหรือใช้อิทธิพลต่อกลุ่ม และกระบวนการรักษา
สภาพกลุ่ม และวัฒนธรรมของกลุ่ม

4

2.2 คุณสมบัติของผู้นา

ผู้นาท่ีสามารถนาให้เกิดผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ ย่อมมีท้ังความรู้ความสามารถที่
หลากหลาย ประกอบเป็นคุณสมบัติเฉพาะตัว และมีคุณลักษณะบางประการที่เหนือกว่าผู้อื่น ซ่ึงเป็น
คุณสมบตั ิทส่ี ่งผลให้มีความคดิ หรือบุคลิกภาพ และการแสดงออกของผู้นาท่ีทาให้มีคุณสมบัตพิ ิเศษของผูท้ ่ีจะ
เป็นผู้นา สุวิมล ตั้งประเสริฐ (2558, น. 81-84) ได้ศึกษาและได้สรุปองค์ประกอบของคุณสมบัติในการเป็น
ผ้นู าไว้ ดงั นี้

1) ผ้นู าตอ้ งมีความซือ่ สตั ยแ์ ละมีคณุ ธรรม
ผู้นาต้องซอ่ื สัตย์ทั้งต่อตนเอง ลูกคา้ รวมทั้งซ่ือสัตย์ต่อเพอื่ นรว่ มงาน โดยเฉพาะ

อย่างยงิ่ ควรประพฤติตรงไปตรงมา โปร่งใส มคี วามจริงใจ ยตุ ธิ รรมและมีใจกวา้ งต่อเพ่ือนรว่ มงาน ตลอดจนไม่
เอารัดเอาเปรียบผอู้ น่ื

2) ผู้นาต้องมคี วามสามารถด้านสตปิ ัญญา
ผู้นาต้องมีความสามารถด้านสติปัญญา ได้แก่ การมีไหวพริบปฏิภาณดี มีความ

รอบคอบ มีเหตุผล มคี วามรู้ ความเด็ดขาด และความราบร่ืนทจี่ ะแก้ปญั หาในการทางาน และสามารถเปล่ียน
สถานการณ์เลวร้าย หรือวิกฤตให้เปน็ ประโยชนแ์ กต่ นเอง

3) ผนู้ าต้องมีความเชื่อม่ันในตนเอง
ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ชีวิตเจริญก้าวหน้าและมั่นคงในอาชีพการงานก็คือ ความ

เชื่อมั่นและศรัทธาในตนเอง ไม่เชื่อผู้อ่ืนโดยไม่มีเหตุผล ซ่ึงความเช่ือมั่นในตนเองนะว่าเป็นส่ิงสาคัญท่ีผู้นา
จะต้องใช้เพอ่ื การตัดสนิ ใจเป็นอย่างมาก

4) ผู้นาตอ้ งเป็นผแู้ สวงหาความรู้ใส่ตวั อยู่เสมอ
ผู้นาควรเรียนรู้จากผู้อื่นที่ชานาญกว่า พร้อมทั้งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ควร

ขวนขวายหาความรู้ใหม่อยู่เสมอ ทั้งด้านธุรกิจ การตลาด การเงิน ทรัพยากรมนุษย์ และเทคโนโลยี เพ่ือนา
ขอ้ มูลต่างๆ มาประกอบในการคิด พิจารณาและตัดสินใจ ในยุคของการเปลีย่ นแปลงจะได้ทันตอ่ สถานการณ์

5) ผู้นาต้องมีความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์
ในการเป็นผู้นาน้ันนอกจากจะต้องดูแลพนักงานหรือลูกน้องได้ดีแล้ว การ

ประกอบธุรกิจการค้าผู้นาจะต้องสามารถนาส่ิงใหม่ๆ เข้ามาใช้เสมอ โดยผู้นาต้องมีความคิดสร้างสรรค์ที่จะ
พัฒนาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ธุรกิจการค้าหรอื กจิ การงานใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ทีเ่ ปลย่ี นไป

5

6) ผนู้ าตอ้ งเป็นคนขยนั ม่งุ มน่ั มานะบากบน่ั และหาความรู้ใสต่ ัวอยู่เสมอ
ผู้นาที่ดี นอกจากมีความสามารถพิเศษแล้วต้องมีการฝึกฝนมามากกว่าคนอื่นๆ

แล้วต้องมีความขยันขันแข็ง ใฝ่หาความรู้ เรียนรู้จากบุคคลอ่ืนท่ีมีความชานาญกว่า พร้อมท้ังเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง เพราะโลกมีการวิวัฒนาการอยู่ตลอดเวลา การไม่เรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ หรือไม่ขวนขวายหาความรู้ใหม่อยู่
เสมอจะทาให้ตนเองและองค์การหลังไม่พัฒนา ดังนั้นผู้นาต้องมีความขยัน มุ่งม่ัน และมานะบากบ่ันมากกว่า
ผอู้ ่ืนอกี ดว้ ย เพือ่ นาองค์การไปสู่การเปลย่ี นแปลงและเปน็ องค์การทนั สมยั

7) ผูน้ าตอ้ งมีศิลปะในการร่วมมือกนั ทางาน
เมื่อมีภารกจิ ที่ต้องทางานร่วมกันจะต้องทางานในลักษณะ “การทางานเป็นทมี ”

ตอ้ งไม่เป็นผู้นาแบบเผด็จการทางความคิด รวมทัง้ ไม่คดิ ว่าตนเองเป็นฝ่ายดเี ย่ียมและถูกต้องเสมอ ผูน้ าจะตอ้ ง
รู้จกั ใชพ้ นักงานอย่างเหมาะสมกบั ความร้คู วามสามารถ อกี ท้ังตอ้ งสรา้ งความเชอื่ ถอื ศรทั ธาให้แกพ่ นักงาน โดย
สามารถนงั่ อยู่ในหวั ใจของพนักงานทุกคนได้

8) ผู้นาตอ้ งมีความสามารถในการติดตอ่ ส่อื สาร
ผู้นายุคใหม่ต้องมีพลังของการติดต่อส่ือสารโดยเฉพาะการทางานในองค์การ

จะต้องใช้การติดต่อสื่อสารไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 เช่น การฟัง การพูด การเขียน การอ่าน ผู้นาต้องปรับกรอบ
แนวคิดที่สอดคล้องกับการเปล่ยี นแปลงสู่ความเป็นสากล โดยเฉพาะความสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษน้ัน
ต้องมีการพัฒนาอย่างย่ิง ถึงจะเป็นผู้นา ยุคใหม่ได้ เพราะความเป็นสากลหรือนานาชาติ
(Internationalization) น้ัน จะต้องใช้ภาษาอังกฤษเป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารและในอนาคตอาจต้อง
เพิ่มภาษาจีนและภาษาญ่ีปุ่นอีกด้วย ดังน้ันจะเห็นว่าการปฏิบัติงาน ในองค์การส่วนใหญ่ต้องอาศัยการ
ติดต่อส่ือสารแทบท้ังส้ินไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการสั่งการ การประชุม การแบ่งงาน การวางแผน การประเมิน
ผล การปฏิบัติงาน การควบคุมการติดตามผลและการรายงานผล มีความจาเป็นต้องอาศัยการติดต่อสื่อสาร
ท้ังสิน้

9) ผู้นาตอ้ งมีวสิ ยั ทัศน์กวา้ งไกล
การเป็นผู้นาท่ีดีต้องมีวิสัยทัศน์กวา้ งไกลอยู่ตลอดเวลา โดยมีความม่งุ มั่นท่ีจะทา

ให้เกิดแรงขับ มองตนเองว่าต้องการให้อนาคตของตนเป็นอย่างไร หรืออยากเป็นอะไร แล้วไปให้ถึงจุดหมาย
ปลายทาง (Ends) และสร้างแนวทางเพอ่ื ไปสู่จุดหมายปลายทาง ท้ังนี้ผู้นาที่ประสบความสาเร็จส่วนใหญ่ล้วน
แต่เปน็ บุคคลท่มี วี ิสัยทศั น์มองการณไ์ กลและคดิ การใหญ่

6

10) ผ้นู าต้องมคี วามสามารถในการปรบั ตวั เพอ่ื การเปลยี่ นแปลง
ผู้นายุคใหม่ต้องมีความสามารถในการปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงของ

สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกองค์การ ในฐานะที่เป็นผู้นา ผู้นาต้องพยายามติดตามและพร้อมที่จะ
ปรับตัวใหท้ ันกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ และต้องพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้สิง่ ใหม่ๆ ทางดา้ น
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นับว่ามีคุณค่าอย่างยิ่งและเป็นเครื่องมือของผู้นาในการปฏิบัติงานให้ประสบ
ความสาเร็จได้เป็นอย่างดี

11) ผู้นาควรมีการมองโลกในแง่ดแี ละมีอารมณ์ที่มัน่ คง
ผู้นาที่ดีต้องมีใจกว้าง ยอมรับปัญหาและอุปสรรคท่ีมีอยู่ในแต่ละวันให้ได้ ผู้นาท่ี

ดีต้องมีจิตใจสนุกสนานไม่มีความเครียด และพยายามทาจิตใจให้แจ่มใสและเบิกบานตลอดเวลา ทั้งๆ ท่ีมี
ปัญหามากมายที่จะต้องแก้ไข โดยต้องค่อยๆ แก้ไข และให้คนอื่นช่วยแก้ปัญหาด้วย ดังน้ันผู้นาท่ีดี ต้อง
พยายามปรับเปล่ียนทัศนคติให้เป็นคนมองโลกในแง่ดี และเป็นผู้มีอารมณ์ดี ไม่มีอารมณ์ฉุนเฉียวโกรธง่าย
หากผ้นู ารู้จักควบคุมอารมณข์ องตนไดย้ ่อมมีผลดสี าหรับการบรหิ ารงานในองค์การ

12) ผนู้ าต้องมคี วามน่าเช่อื ถอื และไว้วางใจได้
โดยความนา่ เชื่อถือของผู้นาเกิดขึน้ จากตวั ผนู้ าเอง โดยผู้นาต้องมีความจริงใจอยู่

เสมอต้องกระทาในส่ิงต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและบุคคลอ่ืน ต้องสร้างความไว้วางใจและความ
น่าเช่อื ถือให้กบั บคุ คลทตี่ ดิ ตอ่ ประสานงานด้วย

ผู้นาที่ดีย่อมมกี ารปฏบิ ัติตน ที่เป็นแบบอยา่ งทดี่ ี และเปน็ ผูท้ ่มี ีความรู้ความสามารถท่ีเหมาะสมกับลักษณะงาน
เพื่อที่จะนาผู้ตามทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุผลตามเป้าหมายขององค์กร บทบาทของผู้นาจึงเป็น
ส่วนหน่งึ ทม่ี ีผลตอ่ ผลการปฏิบัตงิ าน มนี ักวชิ าการให้ความสนใจศึกษาเก่ียวกบั บทบาทของผ้นู า

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (2551, น. 30) ไดเ้ สนอว่าบทบาทของผู้นา
มี 4 บทบาทที่สาคญั คือ

1) บทบาทในการชนี้ า (Pathfinding) กาหนดวิสยั ทศั นท์ สี่ อดคล้องกบั
ความตอ้ งการของผู้รับบรกิ าร และกระต้นุ ให้บคุ ลากรม่งุ มั่นทจ่ี ะปฏบิ ัติงานให้บรรลุวิสยั ทัศน์

2) บทบาทในการสรา้ งความสอดคล้องไปในแนวทางเดยี วกนั (Aligning)
การคดิ คน้ ระบบงานและเทคนคิ บรหิ ารเพื่อใชใ้ นปฏิบตั ิงานมุ่งสูว่ สิ ัยทัศน์

3) บทบาทในการกระจายอานาจการตัดสินใจ (Empowering) การสร้าง เงื่อนไขเพ่ือ
ผลักดนั ใหบ้ คุ ลากรไดใ้ ชศ้ กั ยภาพท่มี ีอยูใ่ นการปฏิบตั งิ านทมี่ ีอยู่อย่างเต็มที่

7

4) บทบาทในการเป็นแบบอย่างที่ดี (Modeling) ท้ังหลักการในการทางานและการ
ประพฤติตนเพอื่ สร้างศรทั ธาใหก้ ับบุคลากรใช้เปน็ แบบอยา่ ง

นอกจากคุณลักษณะของผู้นาตามท่ีเสนอไว้ข้างต้นแล้ว ผู้นาจะต้องเข้าใจบทบาทของตนเอง
เพอ่ื ท่ีจะบรหิ ารจดั การหรอื นาสมาชิกในองค์การได้ โดยท่ัวไปแลว้ ผู้นามีบทบาทดังต่อไปน้ี

1) บทบาทในการวางแผนการปฏิบัติงาน ผู้นาควรมีความสามารถในการวางแผนการ
ปฏิบัติงานอย่างดียิ่ง ควรมีการศึกษาข้อมูลอย่างรอบด้าน มีวิสัยทัศน์ท่ีดี สามารถคาดการณ์สถานการณ์ใน
อนาคตได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง เพื่อให้การวางแผนการปฏิบัติงานในองค์การเป็นไปอย่างมีลาดับขั้นตอน มี
การพัฒนา มีการดาเนินการให้บรรลเุ ปา้ หมาย เกิดความพงึ พอใจแกบ่ ุคลากรทุกฝ่ายในองค์การ

2) บทบาทในการจัดบุคลากรหรือทีมงาน ผู้นาควรเป็นผู้มีความสามารถในการจัดวางตัว
บุคลากรทุกฝ่ายในองค์การอย่างเหมาะสม เพ่ือให้บุคลากรทุกฝ่ายสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอดคลอ้ งกบั ความรู้ความสามารถ

3) บทบาทในการจัดการในองค์กร ได้แก่ การจัดวางโครงสร้างของฝ่ายงานต่างๆ ใน
องค์กร การจัดสรรวัสดุอปุ กรณ์สาหรับการปฏิบัติงานของบุคลากร สามารถบริหารจดั การองคก์ รโดยภาพรวม
ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

2.3 ระดับชั้นของผนู้ า

ความเป็นผู้นาของบุคคลน้ัน เกิดจากความรู้ความสามารถ พฤติกรรม บุคลิกภาพ ความสนใจและ
อาจรวมถึงความสามารถพิเศษบางอย่าง ซึ่งการเป็นผู้นานั้นมีระดับชั้นของการเป็นผู้นา Jim Collins
(2001, pp. 17-40) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการเป็นผู้นาและได้เสนอระดับชั้นของการเป็นผู้นา ซ่ึงทาให้เข้าใจถึง
สภาพและความสามารถของผู้นาได้ชัดเจนย่ิงขึ้น ระดับช้ันของการเป็นผู้นามีลักษณะเฉพาะของแต่ละ
ระดับช้นั แบง่ ไดเ้ ป็น 5 ระดับชั้นดังนี้

ระดับที่ 1 High Capable Individual เป็นผู้นาท่ีมีความรู้ ความสามารถที่ดี มีทักษะ
ที่จาเปน็ และมพี ฤติกรรมในการทางานทีด่ ี นาไปสู่ผลงานทดี่ ี ก่อให้เกิดประโยชนต์ ่อองค์กร

ระดับท่ี 2 Contributing Team Member เป็นผู้นาท่ีมีความสามารถและทักษะในการ
ทางานเป็นทีมได้ดี เป็นผู้ที่สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี และช่วยให้กลุ่มและทีมบรรลุผลตาม
เปา้ หมายทก่ี าหนดไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

8

ระดับท่ี 3 Competent Manager เป็นผู้บริหารจัดการท่ีสามารถบริหารบุคลากรและ
จัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล นาไปสู่การบรรลุผลตามเป้าหมายของ
องคก์ ร

ระดับที่ 4 Effective Leader เป็นผู้นาที่สามารถในการส่งเสริม กระตุ้นให้ทุกคนใน
องค์กรเกิดความมุ่งม่ัน เปน็ ผู้นาที่สามารถกาหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนและเหมาะสม สามารถจูงใจให้บุคลากร
ทุกคนทางานอยา่ งทุม่ เท มคี วามมุ่งม่นั เพอ่ื ให้เกิดผลงานที่บรรลวุ สิ ยั ทศั น์

ระดับที่ 5 Executive เป็นผนู้ าทีม่ คี วามมุ่งมนั่ มคี วามพยายาม สร้างผลงานทดี่ ขี ึน้ และ
คานึงถึงความสาเร็จขององค์กรเป็นอันดับแรก จนกระท่ังอาจกล่าวได้ว่าผู้นาเหล่านี้ต้องการเห็นความสาเร็จ
ขององค์กร มากกว่าความสาเร็จและความร่ารวยของตนเองผู้นาประเภทน้ีเรียกได้ว่ามีความรักและภักดีต่อ
องค์กรเป็นอย่างสูง เสียสละได้แม้กระทั่งความสุข หรือความสาเร็จส่วนตัว เพื่อความสาเร็จขององค์กร ผู้นา
ระดับ Executive น้จี ะสามารถนาพาองคก์ รของตนเองพัฒนาจากองค์กรดีธรรมดาเป็นองคก์ รที่ดสี ดุ ยอดได้

ภาพ 1 ระดับช้ันของการเป็นผูน้ า (ที่มา Lean East, 2018)

9

2.4 ภาวะผนู้ าทางวิชาการ (Instructional Leadership)

ผนู้ าทางการศึกษาในฐานะบทบาทของผู้นาทางวิชาการเป็นบคุ คลท่ีมคี วามสาคัญในการดาเนินการ
ของสถานศึกษาให้บรรลุผลและไปในทิศทางที่ถูกต้องในยุคปัจจุบันมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้มีการ
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารอย่างกว้างขวางเกิดการเรียนรู้พัฒนาความรู้ทางวิชาการได้อย่างรวดเร็วหน่วยงานท่ี
ประสบความสาเร็จส่วนใหญ่จะเกิดจากมีการพัฒนาองค์ความรู้อย่างเท่าทันการเปล่ียนแปลงดังนั้นภาวะผู้นา
ทางวิชาการจะช่วยส่งเสริมให้หน่วยงานมีความรู้เท่าทันและเกิดประสิทธิภาพในการทางานโดยเฉพาะ
หนว่ ยงานท่ีเป็นสถานศึกษา

สมาน อัศวภูมิ (2558, น. 71-78) ไดอ้ ธบิ ายความหมายของภาวะผู้นาทางวิชาการและคุณลักษณะ
ของผู้ที่มีภาวะผู้นาทางวิชาการไว้ ดังนี้ภาวะผู้นาวิชาการคือการใช้ภาวะผู้นาในการบริหารงานวิชาการให้
บรรลตุ ามวตั ถุประสงคน์ ั่นเอง การบรหิ ารงานวิชาการเป็นงานท่ีผู้บริหารและผ้ทู ี่เตรยี มตวั เป็นผู้บรหิ ารหรือผู้ท่ี
รับหนา้ ท่ีเกี่ยวข้องกับงานวิชาการ ควรได้ศึกษาทาความเข้าใจและทาหน้าท่ีในพันธกิจนี้อย่างมุ่งม่ันและทุ่มเท
เพราะงานวชิ าการของโรงเรียนหรือสถานศึกษาโดยเฉพาะการจดั การเรยี นการสอนถือว่าเป็นหัวใจของการจัด
การศกึ ษา สาหรับในสถานศกึ ษางานวชิ าการจะเกี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาหลกั สูตร การนาหลกั สูตรไปใช้ การ
จดั การเรียนการสอน และการประเมินผลงานวชิ าการ

สฎายุ ธีระวณิช (2563, ออนไลน์) เสนอว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการ (Instructional Leadership)
เป็นส่ิงท่ีมมี านานแล้วตั้งแต่ยุคการศึกษา 1.0 เรอื่ ยมา ถอื เป็นคานงัดทส่ี าคัญสาหรบั การยกระดับคุณภาพการ
เรียนรู้ของผเู้ รียนต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แต่ระบบนิเวศวิทยาทางการศึกษา (The Education Ecosystem)
มีการเปล่ียนแปลงไปมาก โดยยุค 4.0 น้ีเป็นยุคของThird Wave คือการปฏิวัติทางเทคโนโลยี เป็นยุคที่
Internet เฟื่องฟูก่อให้เกิดความก้าวหน้าในการสร้างแหล่งการเรียนรู้ใหม่ นาไปสู่ปรากฎการณ์ Digital
Disruption ที่ทาให้ระบบนิเวศวิทยาทางการศึกษาเกิดการพลิกผันและเกิดความเป็นพลวัตรสูงกว่าในอดีต
มาก ทาให้ภาวะผู้นาทางวิชาการของครูและผู้บริหารต้องปรับตัวขนานใหญ่แบบเปล่ียนทั้ง mindset และ
กระบวนการในการสร้างอิทธิพลต่อผู้เรียน ที่ต้องเปล่ียนโครงสร้างจากแนวด่ิงมาเป็นแนวราบและทักถอเป็น
เครือข่ายใยแมงมุมท่ีมีพลังยึดโยงความรู้สึกของผู้เรียนได้ และการเติมความฉลาดรู้ทางเทคโนโลยีไอซีที (IT-
Literacy) ท่ีผู้นาทางวิชาการยุค4.0 ต้องมีไม่ใช่แค่ควรมี รวมถึงความสมรรถนะ (Competency) ในการ
ปรับตัวของผู้นาทางวิชาการท่ีตอ้ งมี 4 F กล่าวคือ ทาได้อย่างรวดเร็ว (Fast) ยืดหยุ่น (Flexible) เป็นมิตรกับ
ผเู้ รยี น (Friendly) และตอบโจทยต์ รงความตอ้ งการของสงั คม (Focus)

10

2.4.1 บทบาทของผ้นู ากับงานวชิ าการในสถานศึกษา

อดิศร เนาวนนท์ (2550, น. 53-54) ได้กล่าวถึงบทบาทของผู้นาที่เก่ียวข้องกับงาน
วชิ าการ ตามท่ี Tennessee Department of Education (1996) ไดเ้ สนอไว้ 17 ประการดงั น้ี

1) ส่งเสรมิ ให้ครอู าจารยไ์ ด้พัฒนาเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์ทางวิชาการของ
โรงเรยี นได้
2) ส่งเสริมให้ครูอาจารย์นาเอาเป้าหมายและวัตถุประสงคท์ างวิชาการของโรงเรยี น
ไปปฏิบตั ิ
3) สรา้ งความเชือ่ ม่ันวา่ กิจกรรมของโรงเรียนและห้องเรยี นสอดคล้องกบั เป้าหมาย
และวัตถุประสงค์ของโรงเรียน
4) สร้างความเชื่อม่นั วา่ โครงการทางวชิ าการของโรงเรยี นเป็นผลมาจากการวจิ ยั
และการปฏบิ ัติทางการศึกษา
5) วางแผนรว่ มมือกับคณะครเู กย่ี วกับโครงการต่างๆทางวชิ าการเพื่อใหส้ อดคล้อง
กับความต้องการของนกั เรยี น
6) สง่ เสริมใหค้ รูไดน้ าโครงการทางวิชาการไปปฏบิ ัติ
7) ปฏิบัติงานร่วมกับคณะครูในการประเมนิ ผลโครงการทางวชิ าการของโรงเรยี น
8) ใหค้ รูและนักเรยี นทราบวา่ มาตรฐานทางวชิ าการของโรงเรียนอยู่ในระดับสูง
9) ให้การสนบั สนุนการจัดกิจกรรมทางสงั คมของนักเรยี น
10) ให้การสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมเพือ่ เสรมิ สร้างปญั ญาของนักเรยี น
11) มีการจัดสรรเวลาเพ่อื งานวชิ าการร่วมกบั ครไู ว้อยา่ งชัดเจน
12) กาหนดระเบียบและขอ้ บงั คบั ในการแก้ไขปญั หาด้านวนิ ยั ของนักเรียน
13) รว่ มมอื กบั นกั เรียนให้มีการนาระเบยี บกฎเกณฑ์ทสี่ รา้ งขน้ึ มาในการแกไ้ ขปัญหา

ด้านวินยั
14) ร่วมมือกบั คณะครูใหม้ ีการนาระเบียบกฎเกณฑ์ที่สรา้ งขนึ้ มาใชใ้ นการแกป้ ัญหา

ด้านวนิ ัย
15) ให้การปฐมนเิ ทศคณะครเู ก่ยี วกบั โครงการในโรงเรียน
16) ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของครูอย่างยตุ ิธรรม
17) ชว่ ยเหลอื ครใู นการพัฒนาวชิ าชีพ

11

2.4.2 องคป์ ระกอบของภาวะผู้นาทางวชิ าการของครู

นสิ าลักษณ์ จันทร์อร่ามและ กาญจน์ เรืองมนตรี (2561, น. 187-196) ได้วิจัยเร่ือง การ
พัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นาทางวิชาการของครูสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษา
ขอนแกน่ เขต 5 พบว่า ผู้ทีม่ ภี าวะผนู้ าทางวชิ าการจะต้องเป็นผทู้ ม่ี คี วามเช่ียวชาญด้านการเรยี นการสอน และ
การยอมรับจากเพ่ือนครูให้ใช้บทบาทของผู้นา เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้เพ่ือให้เกิดการปรับปรุงและ
พัฒนาการเรียนการสอนในช้ันเรียนโดยมุ่งเน้นที่ความสาเร็จ ในการเรียนรู้ของผู้เรียน บทบาทของโรงเรียน
จาเป็นต้องเน้นกิจกรรมทางวิชาการ เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ศักยภาพ ของตนจนสุด
ความสามารถ โดยมีภาวะผนู้ าทางวชิ าการมาชว่ ยในส่วนของการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอน และมีสว่ น
ร่วม ในการพัฒนาสถานศึกษา เพื่อเพิ่มศักยภาพเกี่ยวกบการสอนและการเรียนรู้ และพบว่า องค์ประกอบ
ของภาวะผู้นาทางวชิ าการของครปู ระกอบด้วย 5 องคป์ ระกอบหลักไดแ้ ก่

องค์ประกอบท่ี 1 การเปน็ แบบอย่างทางการสอน ตวั ชี้วดั ได้แก่ 1) ใช้แนวทางสอนที่
หลากหลาย 2) ส่งเสริมสภาพแวดล้อม ทางการเรียนรู้ 3) มีความรู้ในเร่ืองทสี่ อนอย่างดี 4) เป็นแบบอย่างที่ดี
5) ประเมนิ การเรียนการสอน

องค์ประกอบท่ี 2 การมี ส่วนร่วมในการพัฒนา ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์ในการ
พัฒนาร่วมกัน 2) มีการทางานเป็นทีม 3) มีเครือข่ายการปฏิบัติงาน ร่วมกัน 4) ให้คาปรึกษาและเป็นพี่เลี้ยง
ครู 5) มกี ารปฏบิ ัติงานรว่ มกับผ้ปู กครองและชุมชน

องคป์ ระกอบที่ 3 การพัฒนาตนเอง และเพื่อนครู ตวั ชี้วัด ได้แก่ 1) มีวิสัยทศั นพ์ ฒั นา
ตนเอง 2) เช่ือม่ันในตนเองว่าพัฒนาได้ 3) มีการพัฒนาด้านสติปัญญาและ ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ 4)
เปน็ ครูตน้ แบบพัฒนาเพอ่ื นครู 5) นเิ ทศการสอน 6) ให้คาแนะนาเพอื่ นครู 7) ถา่ ยทอดความรู้

องค์ประกอบท่ี 4 การพฒั นานักเรยี น ตัวชี้วัดได้แก่ 1) รักษามาตรฐานนักเรยี นให้อยู่
ในระดับสูง 2) การกากับติดตามความก้าวหน้า ของนักเรียน 3) การวิเคราะห์ข้อมูลในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ของนักเรยี น

องค์ประกอบท่ี 5 การเป็นผู้นาการแก้ไขปัญหาตัวช้ีวัด ได้แก่ 1) ผู้นาการบริหาร
ความขัดแย้ง 2) คิดแบบไตร่ตรองและค้นหาด้วยตนเองในการแก้ปัญหา 3) การเป็นแบบอย่าง ในการผสาน
ความรว่ มมอื แก้ปญั หา โดยรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดับมากทส่ี ุด

นอกจากนี้ผลการวิจัยของ อาภารัตน์ ราชพัฒน์ (2554 : น. 4) ศึกษาเก่ียวกับภาวะผู้นา
ทางวิชาการของครูได้แก่การพัฒนาตนเองและเพื่อนครูด้านผู้นาภาวะผู้นาแบบเปลี่ยนสภาพ ด้านการเรียนรู้

12

การเป็นแบบอย่างทางการสอน การมีส่วนร่วมในการพฒั นาการเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง การเป็นแบบอย่าง
ทางการสอน ประกอบดว้ ยองค์ประกอบย่อย 5 องคป์ ระกอบ คือการเปน็ แบบอยา่ งทางการสอน ตัวช้วี ัดไดแ้ ก่
1) ใช้แนวทางสอนท่ีหลากหลาย 2) ส่งเสริมสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรู้ 3) มีความรู้ในเรื่องท่สี อนอยา่ งดี 4)
เป็นแบบอย่างท่ีดี 5) ประเมินการเรียน การสอน ซงึ่ ครูมีการปรับปรุงการสอนโดยเรียนรู้แนวทางและเทคนิค
ต่างๆ ในการสอน เลอื กแนวทางสอนท่ตี รงกับวัตถปุ ระสงค์ และเป้าหมายของการสอน วางแผนการสอนอย่าง
หลากหลายแนวทาง

2.6 ภาวะผู้นาการเรียนรู้ (Learning Leadership)

การเรียนรู้ในแต่ละยุคสมัยมีรูปแบบหรือแนวทางท่ีต่างกันไป เนื่องจากการเปล่ียนของสภาพสังคม
และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างย่ิงในศตวรรษที่ 21 มีการพัฒนาเทคโนโลยีการส่ือสาร
อย่างรวดเร็วจึงกลา่ วได้วา่ เป็นยุคดิจิทลั ประเทศไทยก็ได้ให้ความสาคัญกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการ
ส่ือสารเช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ดังเห็นได้จากมีการจัดต้ังกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมขึ้น การ
เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 มีการเปลี่ยนแปลงท่รี วดเร็ว พลกิ ผัน รุนแรง และคาดไม่ถึงต่อการดารงชีวติ ดังนนั้ จึง
ต้องมีทักษะสูงในการเรียนรู้และปรับตัว ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ท่ีควรมีได้แก่ ทักษะการเรียนรู้
การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและการแกป้ ัญหา การส่ือสารและความรว่ มมือ ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม
ทักษะชีวิตและงานอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (สานักการบริหารงานการ
มธั ยมศึกษาตอนปลาย, 2559: 9-10 )

กนกอร สมปราชญ์ (2560, น. 252-253) ได้ให้ความหมายและคณุ ลักษณะของภาวะผู้นาการเรียนรู้
ไว้ดังน้ี ภาวะผู้นาการเรียนรู้ หมายถึงกระบวนการเสริมสร้างช่วยเหลือสนับสนุนการปฏิบัติการเรียนรู้ให้
บรรลุผลและสร้างสิ่งแวดล้อมที่มีพลังต่อการเรียนรูห้ รือต่อการขยายศกั ยภาพการเรยี นรู้และเกิดนวัตกรรมซ่ึง
สิ่งต่างๆเหล่านี้เกิดข้ึนโดยผ่านการกระจายแบ่งปันการเชื่อมต่อกิจกรรมและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก
หุ้นส่วนและมีผู้เกี่ยวข้องอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการทง้ั ในระบบและนอกระบบของการศึกษาเรียนรู้
หรือในชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้การเรยี นรู้เป็นกจิ กรรมหลักสาคัญของการศึกษาภาวะผนู้ าการเรียนรู้จะทาให้เกิด
การเรียนที่ลุ่มลึกมีเทคนิควิธีในการแสวงหาความรู้ท้ังนี้ต้องสร้างสรรค์ส่ิงแวดล้อมและบริบทให้มีพลังและ
คงทนเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพของบุคคล ผู้นาเองจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
กระบวนการเรียนรู้และการจัดการเรยี นรู้สามารถนาในเร่ืองการเรียนรูแ้ ละตัวผู้นาเองใช้วิธีการเรยี นรดู้ ้วยการ
นาตนเองซ่ึงประกอบด้วยการวางแผนการสร้างแรงจูงใจหลักการคิดอย่างมีวิจารณญาณและสะท้อนคิด

13

สะท้อนผลทาให้มีนวัตกรรมการเรียนรู้และสามารถสร้างองค์ความรู้ มีภาวะผู้นาแบบกระจายมีความรู้
ความสามารถในการจดั โครงสร้างและระบบการเรียนรู้ในองค์การและมผี ลต่อการพฒั นาบคุ ลากรให้เป็นบุคคล
แห่งการเรยี นรู้ตอ่ ไป

กนกอร สมปราชญ์ (2560 , น. 256-293) ได้ศึกษาและทาวิจัยเก่ียวกับภาวะผู้นาการเรียนรู้จึงได้
เสนอว่า ภาวะผู้นาการเรียนรู้เป็นสิ่งจาเป็นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยภาวะผู้นาการเรียนรู้
ประกอบด้วย ความคิดสร้างสรรค์ การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ความยืดหยุ่นในการ
ปฏิบัติงาน การบูรณาการ การใช้เทคโนโลยีในการทางาน การเรียนรู้เป็นทีม การเรียนรู้ด้วยการนาตนเอง
การมีวิธีการเรียนรู้เฉพาะตัว การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการวิจัย ซึ่งมีรายละเอียด
ดงั น้ี

1) ความคดิ สร้างสรรค์ (Creativity)
ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถของบุคคลในการสร้างสรรค์ผลิตผลหรือส่ง

แปลกๆ ใหม่ๆ ซ่งึ สิ่งตา่ งๆ เหล่าน้ีอาจจะเกิดจากการรวมความรูต้ ่างๆ ท่ีไดร้ ับจากประสบการณ์แล้วเช่ือมโยง
กับสถานการณ์ใหม่ๆ สิ่งที่เกิดข้ึนแต่ไม่จาเป็นส่ิงสมบูรณ์อย่างแท้จริง ซ่ึงอาจออกมาในรูปของผลผลิตต่างๆ
องค์ประกอบองค์ความคิดสร้างสรรค์ ประกอบด้วย การมีความคิดริเร่ิม (Originality) ความคล่องในการคิด
(Fluency) ความคดิ ยืดหยุน่ (Flexibility) และ ความประณีตในการคิด (Elaboration)

2) การสร้างสภาพแวดล้อมที่ทรงพลังต่อการเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม (Powerful
environment of learning and innovation)

สภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ (Learning Environment) หมายถึง สภาวะทม่ี ผี ลต่อ
การเรียนรู้ของมนุษย์ท้ังท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรม ครอบคลุมทั้งสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพแวดล้อมทางจิตภาพ สภาพแวดล้อมทางสังคม และสภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงมี
ความสาคัญอย่างมากเน่ืองจากการจัดสภาพแวดล้อมอันทรงพลังที่จะส่งผลในการเรียนรู้และพัฒนาการของ
ผเู้ รยี น มีความปลอดภยั มีการจูงใจ และเต็มใจในการแสวงหาความรู้ และทาใหเ้ กดิ ความสขุ ในการเรียนรู้

3) ความยืดหย่นุ (Flexibility)
ความยืดหยุ่นเป็นความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ และปรับ

ความคิดตามสถานการณต์ ่างๆ เพ่อื นาไปสู่การเปลย่ี นแปลง ผบู้ ริหารที่มคี วามยดื หยนุ่ ในการทางานหมายถึง
วิธีการทางานของผู้บริหาร ซ่ึงเกิดจากการปรับเปล่ียนแนวคิดให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ผู้บริหารจึงต้องคิด
แบบอิสระและบางครั้งต้องคิดแบบนอกกรอบ เปิดกว้างรับความคิดใหม่ ซึ่งความยืดหยุ่นจะเกิดขึ้นได้ต้องมา

14

จากความคิดท่ียืดหยุ่นด้วย มีการดัดแปลงเพ่ือให้มีประโยชน์ในการแก้ปัญหา ผสมผสานกิจกรรม รวมท้ังมี
ความเชอื่ ว่ามีความเป็นไปได้

4) การบูรณาการ (Integration)
การบูรณาการ เป็นการนาความคิด ข้อมูลข่าวสาร ความรู้และมุมมองต่างๆ ที่

หลากหลาย มาเชื่อมโยงเป็นสงิ่ เดียวกัน มกี ารสังเกต การรวบรวม วินิจฉัย แก้ปัญหา หาความสมั พันธ์เพื่อสิ่ง
ทด่ี ีและบรรลุเป้าประสงค์ ซงึ่ หมายรวมถึงการบูรณาการทัง้ วิธกี ารและศาสตรต์ ่างๆ

ความคิดเชิงบูรณาการ (Integrative thinking) จึงหมายถึงความสามารถทางความคิดในการ
มองรอบดา้ น มองเป็นภาพรวม สามารถเชื่อมโยงในด้านตา่ งๆ เชื่อมโยงความสัมพนั ธ์องคป์ ระกอบย่อยเข้ากับ
เรอ่ื งหลักได้อยา่ งเหมาะสม

5) การนาเทคโนโลยมี าใช้ในการปฏบิ ตั งิ านของผูบ้ รหิ ารและครู
ในยุคดิจิทัลผู้บริหารสถานศึกษาจาเป็นต้องนาเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงานใน

การบริหารจัดการและการจัด การเรียนรู้สาหรับผู้เรียน ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาจึงต้องเป็นผู้นาด้าน
เทคโนโลยีจึงจะสามารถจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ประสบผลสาเร็จ ผู้บริหาร
สถานศึกษา ควรนาเทคโนโลยีข้ันสูงมาใช้ในการบริหารจัดการและการเรียนรู้ ซ่ึงต้องมีคุณลักษณะท่ีสาคัญ
ดังน้ี คอื

5.1) การมีวสิ ัยทัศน์ด้านเทคโนโลยี หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกของผบู้ ริหาร
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์สภาพการณ์ภายในและภายนอกองค์กร เป็นการกาหนดภาพใน
อนาคตของหนว่ ยงานเกีย่ วกบั การนาเทคโนโลยมี าใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน

5.2) การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน หมายถึง พฤติกรรมการ
แสดงออกของผู้บริหารในการผลักดันให้ครูและบุคลากรในโรงเรียนใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการพัฒนา
คุณภาพการเรียน การสอนให้เป็นไปตามมาตรฐานของหลักสูตร การอานวยความสะดวกและการสนับสนุน
ด้วยเทคโนโลยีท่หี ลากหลายเพ่ือจะนาไปสู่นวัตกรรมในการเรยี นรู้

5.3) การสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ หมายถึง พฤติกรรมการ
แสดงออกของผู้บริหารท่ีแสดงถึงมีการใช้เทคโนโลยีเป็นกิจวัตรประจาวัน มีการฝึกปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง การ
สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อพฒั นางาน

5.4) การนาเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการวัดและประเมินผล หมายถึง พฤติกรรมการ
แสดงออกของผู้บริหารท่แี สดงถึงการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือประเมนิ ผล
การเรยี นรู้ของผูเ้ รียน และสามารถประเมินผลเทคโนโลยีในการบรหิ ารจัดการได้

15

6) การเรยี นรเู้ ป็นทมี (Team learning)
การเรียนรู้เป็นทีมมีความสาคัญในการพัฒนาหน่วยงานเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และ

ความเข้าใจในทานองเดียวกัน การเรียนรู้เป็นทีมต้องมีการอาศัยเทคนิคกระบวนการต่างๆ เช่น ความรู้
ความสามารถของคนในทีม ทักษะการส่ือสาร การกาหนดบทบาทสมาชิกในทีม เพื่อนาศักยภาพของทีม
ออกมา เพอื่ นาไปสเู่ ปา้ หมายทวี่ างไว้ใหบ้ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงคข์ องทีม

ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการกระตุ้นกระบวนการทางานของคนในทีมให้มีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างทีมงาน มุ่งเน้นพัฒนาความสามารถของคนในทีม งานสร้างการเรียนรใู้ ห้เกิดข้ึน
ผ่านกระบวนการสื่อสารท่ีเปน็ ระบบ เพ่ือให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของทมี งาน ซ่ึงมีองค์ประกอบสาคัญ ได้แก่ การ
สอ่ื สารของทีมงาน ความสามารถของทีมงาน การสร้างการเรยี นรูแ้ ละกจิ กรรมการแลกเปล่ยี นเรียนรู้

7) การเรียนรู้ด้วยการนาตนเอง (self-directed learning)
การเรียนรู้ด้วยตนเอง หมายถึง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ใน

การเรยี น เป็นกระบวนการและวิธีการท่ีบุคคลใช้ในการสร้างความต้องการในการเรียนรู้ ต้ังจุดมุ่งหมายในการ
เรียนรู้ ทากิจกรรมเพ่ือค้นหาความรู้ การแลกเปลี่ยนและพบปะบุคคล รวมถึงการประเมินผลการเรียนรู้
องคป์ ระกอบของการเรียนรูด้ ้วยการนาตนเอง มดี ังน้ี

7.1) การวิเคราะห์ความต้องการของตนเอง เริ่มจากการที่แต่ละคนบอกความ
ต้องการและความสนใจของตนเอง

7.2) การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน โดยเร่ิมต้นจากบทบาทผู้เรียนเป็นสาคัญ
โดยผ้เู รียนควรหาจุดมุ่งหมายของการเรียน พฤตกิ รรมท่ีคาดหวงั ท่ีจะเกิดข้ึน และการกาหนดจุดมุ่งหมายที่จะ
สามารถวดั ได้

7.3) การวางแผนในการเรียน โดยผเู้ รียนควรมีการกาหนดจุดมุ่งหมายท่ีตอ้ งการให้
เกิดขึ้นจากการเรียน การจัดเนื้อหาให้เหมาะสมกับสภาพความต้องการและความสนใจของผเู้ รียน รวมถึงการ
ระบุวิธกี ารเรยี นรใู้ หม้ คี วามเหมาะสมกับตนเองมากทส่ี ุด

7.4) การแสวงหาแหล่งวิทยาการ เป็นการแสวงหาประสบการณ์ในแต่ละด้านท่ีจัด
ใหผ้ ู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมของแตล่ ะคน

8) ความเฉพาะตัว เหมาะกับบริบทและปฏิบัติการเพ่ือการเปล่ียนแปลง (Tailor made
and Transformation process)

สถานศึกษาหรือโรงเรียนแต่ละแห่งล้วนแล้วแต่มีบริบทท่ีมีความแตกต่างกันทั้งของ
ระดับของโรงเรียน ชนิดของโรงเรียน และธรรมชาติของการทางาน เช่น ระดับก่อนประถมศึกษา ระดับ

16

ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ระดับอาชีวศึกษา หรือแตกต่างกันมากขึ้นเพื่อเปรียบเทียบระหว่าง
สถานศึกษาของรฐั และเอกชน

นอกจากนี้ยังมีปัจจัยภายในที่แตกต่างกันออกไปอีก เช่น จุดมุ่งหมาย ค่านิยม
วัฒนธรรมองค์การ ยุทธศาสตร์ รวมท้ังภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษาท่ีดารงตาแหน่งในปัจจุบันเหล่าน้ี
เป็นต้น ซึ่งทาให้การบริหารจัดการในบริบทแวดลอ้ มเหลา่ น้ีแตกตา่ งกันออกไป หลักการทฤษฎี แนวทางต่างๆ
ที่นามาปรับใช้เพ่ือให้เหมาะสมและประสบผลสาเร็จจึงต้องมีความพอเหมาะพอดี กระบวนการเปลี่ยนแปลง
จึงต้องมีนวัตกรรมทั้งเชิงโครงสรา้ งและกระบวนการ หากเปรียบเทียบกบั การตัดเส้ือผ้า ก็เหมอื นกับการวัดตัว
ตัดให้พอดีกับผู้สวมใส่จึงจะดูดีที่สุด ผู้บริหารท่ีมีภาวะผู้นาการเรียนรู้จึงไม่ควรมองข้ามหลักการนี้ ต้องมี
การศึกษาอย่างลุ่มลึกและตัดสินใจเพื่อนาไปสู่กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในองค์กรท่ีมีประสิทธิภาพ
ประสทิ ธิผลมากทีส่ ุด

9) ความพอเพยี งตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง (Economic Sufficiency)
หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไดร้ ะบุไว้ถึงหลกั ของความพอประมาณ ความมีเหตุผล

และมีภูมิคุ้มกันที่ดี ซ่ึงจะทาให้เกิดคุณลักษณะของผู้นาการเรียนรู้ในบริบทของไทย ซึ่งความพอเพียงน้ัน เป็น
ทั้งผลลัพธ์ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ันเป็นเร่ืองของทางสายกลางที่อยู่ภายใต้เงื่อนไข 2 ข้อ คือ
เง่ือนไขความรปู้ ระกอบด้วยความรอบรเู้ ก่ียวกับวชิ าการตา่ งๆ และเง่อื นไขคุณธรรม และมีสามคณุ ลักษณะ (3
ห่วง) ที่มีความเก่ียวเนื่องสัมพันธ์กันไปคือคุณลักษณะความพอประมาณหมายถึงความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไป
และไม่มากเกินโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น คุณลักษณะความมีเหตุผลหมายถึงการตัดสินใจเก่ียวกับ
ระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจน
คานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบและคุณลักษณะการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
หมายถึงการเตรยี มตัวใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดา้ นต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงถึงความ
เปน็ ไปไดข้ องสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดวา่ จะเกดิ ขึน้ ในอนาคตทง้ั ใกล้และไกล

10) การวจิ ัย (Research)
ผู้บริหารสถานศึกษาจาเป็นต้องมีความสามารถในการเรียนรู้ตลอดเวลา แสวงหา

ความรแู้ ละสรา้ งองคค์ วามรูโ้ ดยการหาคาตอบจากการทาวิจัย ผู้นาการเรียนรู้จะศกึ ษาวิจัยและทาการวจิ ัยเพ่ือ
พัฒนางานเป็นวิจัยเพ่ือสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาและการบริหารจัดการ ส่วนใหญ่ใช้ระเบียบวิธีวิจัย
ปฏิบัติการ (action research) และวจิ ัยเพ่ือพฒั นา (research and development)

17

2.7 ภาวะผนู้ าเชิงสร้างสรรค์ (Creative Leadership)

ภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์มีความสาคัญกับการปฏิบัติงานในองค์กรต่างๆในยุคปัจจุบันเน่ืองจากการ
เปล่ียนแปลงของสังคมเป็นไปอย่างรวดเร็วมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและมีข้อมูลเหตุการณ์ต่างๆเกิดข้ึน
และมีการรับรู้ได้อย่างรวดเร็วจึงทาให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆอีกทั้งเกดิ ความรู้ใหม่ๆ ภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์มี
ความจาเป็นสาหรับผู้ท่ีเป็นครูเน่ืองจากครูต้องปรับเปล่ียนและหาวิธีการสอนท่ีหลากหลายเหมาะสมกับ
เหตุการณ์ปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงของผู้เรียนตามช่วงวัย ทฤษฎีภาวะผู้นาแบบสร้างสรรค์ (Formative
Leadership Theory) ได้รับการพัฒนาโดย Ash และ Persall บนพ้ืนฐานความเชื่อท่ีว่า “ในโรงเรียนหน่ึง
อาจมผี ู้นาไดห้ ลายคน ซงึ่ แสดงบทบาทการใช้ภาวะผู้นาในลกั ษณะตา่ ง ๆ มากมาย บทบาทภาวะผนู้ าจงึ มไิ ด้
จาเพาะเจาะจงแตผ่ ูบ้ รหิ ารเทา่ น้ัน” แต่หน้าท่ีของผู้บรหิ ารคอื การสรา้ งโอกาสการเรยี นรู้ใหแ้ กค่ รูอาจารย์และ
บุคลากรต่าง ๆ เพ่ือเป็นช่องทางให้คนเหล่าน้ีได้พัฒนาตนเองเข้าสู่การเป็นผู้นาที่สร้างสรรค์ (Productive
leaders) ทฤษฎีภาวะผู้นาแบบสรา้ งสรรค์นมี้ ีมมุ มองว่า “ครคู อื ผนู้ า (Teacher as leaders) โดยมคี รูใหญ่
คือผนู้ าของผนู้ า (Leader of leaders) “อีกทอดหน่ึง (สุเทพ พงศศ์ รีวฒั น์, 2549, น. 3)

การมีความคิดสรา้ งสรรค์นั้นเป็นสงิ่ ท่ีมีประโยชน์ต่อการปรับตัวและการสรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่ๆความคิด
สร้างสรรค์จะช่วยให้สามารถพัฒนาการทางานซึ่งจะนาไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมลักษณะของ
ความคิดสร้างสรรค์มีดังนี้ เป็นกิจกรรมทางใจที่จงใจและไม่เหมือนของคนอ่ืนหรือไม่เคยมีใครคิดหรือทามา
ก่อน เป็นกระบวนการคิดหลายประเภทหลายลักษณะตั้งแต่การตั้งคาถามรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์วิจารณ์
เช่ือมโยงดัดแปลงแก้ไขเกิดแนวคิดจนถึงการวางหลักเกณฑ์ทั่วไปและสร้างสรรค์นอกจากน้ีการเกิดความคิด
สร้างสรรค์ยังเป็นส่ิงที่เรียนรู้ได้แต่ก่อนที่จะกระตุ้นให้เกิดการทางานในภาวะสร้างสรรค์ได้ต้องมี เจตคติท่ีดี
เป็นสถานการณ์หรือเง่ือนไขก่อนเช่น ยอมรับว่าการคิดสร้างสรรค์เรียนรู้กันได้ยอมรับผลการประเมินมีความ
มานะพยายามมีความเต็มใจไดย้ อมรับความเสี่ยงและการมีอสิ ระในตวั เอง (ศริ ิ เจรญิ วยั , 2560, น.194-195)

กนกอร สมปราชญ์ (2560, น. 194-195) ได้รวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกับภาวะผ้นู าเชงิ สร้างสรรค์ไว้ดงั มี
รายละเอียดต่อไปนี้ ลักษณะของผู้นาเชิงสร้างสรรค์จะมุ่งเน้นการผลิตภาพ โดยการดาเนินงานต้องมีการ
วิเคราะห์เชิงเป้าหมายภายใตก้ รอบกลยุทธ์ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรท่ีเน้นการมีส่วนร่วม การสร้างขวัญ
กาลังใจในการทางานและการใช้หลักความสาเร็จของงานเป็นความสาเร็จของสมาชิกทั้งกลุ่มหรือทีมและ
บุคคลท่ีมีความคิดสร้างสรรคค์ ือบุคคลที่มีคณุ สมบัตทิ ี่เออื้ ต่อการบรหิ ารจดั การ นอกจากน้ียงั มคี วามสามารถ
นาผอู้ ื่นให้ก้าวไปส่จู ดุ มงุ่ หมายทตี่ ง้ั ไว้ได้ ภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์เป็นการรวมพลังหรือร่วมคิดร่วมทา
เพ่ือให้เกิดโอกาสของความสาเร็จในการเรียนรู้ในทุกระดับ ทาใหค้ ิดแตกต่างเพอ่ื สร้างส่ิงใหมๆ่ มีจินตนาการ
การมองอนาคต มีความคิดและทาให้เกิดส่ิงต่างๆเพื่อพัฒนาชีวิตและการเรียนรู้ของผู้เรียน ภาวะผู้นาเชิง

18

สร้างสรรค์จึงมิใช่การที่ผู้นาเกิดความคิดสร้างสรรค์แต่ฝ่ายเดียว แต่ผู้นา จะต้องจัดกระทาและให้โอกาสกับ
ผู้อน่ื สามารถสร้างสรรค์ไดด้ ว้ ย ผูท้ ี่มีภาวะผู้นาเชงิ สร้างสรรค์จาเปน็ ต้องมีทักษะทีส่ าคญั ดงั ต่อไปน้ี

1) มคี วามคิดสร้างสรรคแ์ ละการแก้ปญั หาได้เปน็ อย่างดี
2) สร้างความร่วมมอื โดยผ่านเครอื ขา่ ยและสามารถเข้าไปมีอทิ ธิพลในเครอื ขา่ ยนั้นได้
3) มีความคลอ่ งตวั และสามารถปรบั ตัวไดด้ ี
4) มคี วามรเิ รมิ่ และสามารถเปน็ ผูป้ ระกอบการได้
5) มีความสามารถในการส่อื สารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
6) การวิเคราะห์และประเมนิ ขอ้ มูลข่าวสาร
7) ความอยากรู้อยากเหน็ และการมจี ินตนาการ

หลักการของภาวะผนู้ าเชิงสรา้ งสรรค์
สุเทพ พงศ์ศรวี ฒั น์ (2549, น. 4-5) ไดเ้ สนอหลักการของภาวะผู้นาเชงิ สรา้ งสรรค์ ไว้ดงั น้ี
1) การเรียนรู้แบบทีม (Team learning) การคิดอย่างหวังผล (Productive

thinking ) และการร่วมมือร่วมใจกันแก้ปัญหา (Collaborative problem solving) ควรนามาใช้แทน
กลไกการควบคมุ (Control mechanisms) การตัดสินใจจากเบอื้ งบน (Top – down decision making)
ตลอดจน การบงั คับส่ังการให้ทาแบบเดยี วกนั (Enforcement of conformity)

2) ควรมีมุมมองครูว่าเป็นผู้นา และครูใหญ่ของโรงเรียนเป็นผู้นาของผู้นา โดยผู้นา
ท้ังหลายเหล่านี้ต้องมีทักษะการต้ังคาถามท่ีเหมาะสม (คาถามท่ีได้คาตอบที่ลุ่มลึก) มากกว่าการแสดงตนว่า
เป็นผู้รอบรู้คาตอบของทุกคาถาม

3) ความสัมพันธ์ของการปฏิบัติงานควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของการไว้วางใจ (Trust)
ต่อกัน ผู้นาจะต้องไม่มีทัศนะว่าครูและนักเรียนชอบหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ (ทานองทฤษฎี X ของ
McGregor) แต่มหี นา้ ท่ชี ว่ ยให้คนเหล่าน้มี คี วามกล้าต่อการปฏิบตั สิ ิง่ ใหม่ ๆ

4) ผู้นาควรปรับเปลี่ยนทัศนะจาก “ให้ทุกคนทาตามที่ส่ังและยึดหลักทาแบบ
เดียวกนั ” ไปเปน็ กระตุน้ ใหก้ าลังใจ และสนบั สนุนความคดิ ริเร่ิมและค้นคิดนวตั กรรมใหม่ ๆ ของครู

5) ผู้นาควรให้ความสนใจและให้ความสาคญั ของคน (People) และต่อกระบวนการ
(Process) มากกว่างานเอกสารและงานธุรการประจา แต่ควรบริหารเวลาไปกับกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการ
สร้างมลู คา่ เพม่ิ (Value – added activities) ขึน้

19

6) ผูน้ าควรเนน้ ถึงความสาคัญของลกู ค้า (Customer – focused) และยดึ หลักการ
ให้บริการ ทฤษฎีนี้ถือว่า ครูและบุคลากรคือลูกค้าโดยตรงของครูใหญ่ ดังน้ัน หน้าที่สาคัญที่สุดของครูใหญ่
กค็ ือ การให้บรกิ ารแก่ลูกคา้ ของตน

7) ผู้นา ควรสร้างเครือข่ายให้เกิดการสื่อสารแบบสองทาง มากกว่าการกาหนด
ช่องทางไหลของสารสนเทศเพยี งทศิ ทางเดียว

8) การเป็นผู้นาแบบสร้างสรรค์ จาเป็นต้องอาศัยความเอาใจใส่ใกล้ชิด
(Proximity) การปรากฏตัวอยู่กับงาน (Visibility) และอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้าของตน ผู้นาควรใช้หลักนิเทศ
ภายในแบบแวะเวียน(Managing by Wandering Around : MBWA)ไปยังหน่วยต่าง ๆ ทั่วทั้งโรงเรียนและ
ชมุ ชนที่ล้อมรอบโรงเรียนเพ่ือไปรับฟงั และเรียนรู้ ไปสอบถาม ไปสร้างสัมพันธ์ภาพ และไปเสาะหาแนวทาง
ทเ่ี ปน็ ไปไดใ้ นเรื่องต่าง ๆ

9) ผูน้ าแบบสร้างสรรค์ จะกระจายอานาจการตัดสินใจ (Empowering) แกบ่ ุคคล
ผู้ปฏิบัติงานต่าง ๆ ของโรงเรียน และจะทาหน้าที่ปกป้องคนเหล่านี้เม่ือมีการแทรกแซงการทางานจาก
ภายนอก

10) ผู้นาแบบสร้างสรรค์ต้องมีความสามารถสูงในการปฏิบัติภารกิจอยู่ท่ามกลาง
สภาวะแวดล้อมที่ไม่แน่นอน เป็นผู้เรียนรู้การบริหารความเปล่ียนแปลงอย่างเป็นระบบ เพื่อให้หน่วยงานได้
ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงนั้น และเป็นผู้ที่ไม่ยึดติดกับสถานภาพเดิมท่ีเป็นอยู่ (Maintaining status
quo) ของโรงเรียน

นอกจากนี้ผู้ที่เป็นผู้นาควรมีกลยุทธ์เพ่ือส่งเสริมในบุคลากรมีการสร้างนวัตกรรมหรืองาน
สร้างสรรค์ ซ่ึงจะนาไปสู่การพัฒนาบุคลากรและการทางาน การเปลี่ยนแปลงในโรงเรียนไม่สามารถทาให้
เกิดขึ้นได้ไม่ว่าจะดาเนินการแบบจากระดับบนสู่ล่าง (Top down) หรือจากระดับล่างสู่บน (Bottom up)
แต่จะต้องมาจากการปฏิสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมในแนวนอนของทุกระดับชั้นเรียนหรือแผนกงาน การ
เปล่ียนแปลงต้องเก่ียวข้องกับการใชท้ ้ังภาวะผู้นา (Leadership) และภาวะผู้ตาม (Followership) ที่ร่วมกัน
ดาเนินการภายใต้ความมีประสิทธิผลสูงและร่วมงานกันภายใต้ระบบความเช่ือร่วมกัน (Shared belief
system) ของโรงเรียน การทาให้เกิดนวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์มิใช่เรื่องที่ทาได้ง่าย เพราะต้องสร้าง
บรรยากาศแห่งความไว้วางใจ การให้ความสนับสนุนและการให้กาลังใจต่อกันตลอดเวลา ทั้งน้ีการ
เปลี่ยนแปลงอันเกิดจากนวัตกรรมมักก่อให้เกิดความกลัวความไม่แน่ใจต่อผลที่จะเกิดข้ึนตามมา ซึ่งตรงกับที่
Deming กล่าวไว้ว่า ศัตรูของนวัตกรรมหรือ และการปรับปรุงเปล่ียนแปลงใด ๆ ก็คือความกลัว แต่

20

สามารถขจัดออกไปได้โดยผู้นาต้องสร้างความมั่นใจของผู้เก่ียวข้องผ่านทางกระบวนการฝึกอบรม (Training)
และการมอบอานาจการตดั สินใจ (Empowerment) ใหแ้ ก่คนเหล่านี้

ผู้นาควรจัดสรรเวลาและให้ความใส่ใจเป็นพิเศษต่อกลยุทธ์ต่อไปนี้ ซ่ึงจะช่วยสร้าง
บรรยากาศที่เก้ือหนุนและเพ่ิมขีดความสามารถในการนานวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์ใหม่ๆลงสู่การปฏิบัติ
ไดด้ งั นี้ (สุเทพ พงศ์ศรวี ฒั น์, 2549, น. 11-12)

1) สร้างความท้าทายให้แก่ทีมงานในระดับเดียวกันหรือแผนกงานเดียวกันให้
ช่วยกันค้นหานวัตกรรมและนาลงสู่การปฏิบตั ใิ ห้ไดอ้ ยา่ งน้อยปีละ 1 เรอ่ื ง พร้อมกันน้ันต้องจัดเวลาใหท้ ีมงาน
ดังกล่าว ไดน้ าเสนอนวัตกรรมของตนต่อหน้าท่ปี ระชุมคณาจารย์ทั้งโรงเรยี น

2) จัดการฝึกอบรมประจาการ (In – service training) ในเรื่องเก่ียวกับการสร้าง
ความเข้าใจและการบรหิ ารความเปลีย่ นแปลง

3) ขจัดอุปสรรคท้ังหลายท่ีอาจสกัดก้ันการคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ โดยหม่ัน
ตรวจสอบ ทบทวนแก้ไขกฎข้อบังคับและระเบียบต่างๆ ของโรงเรียน ที่ไม่เอ้ือต่อการนานวัตกรรมหรืองาน
สร้างสรรคใ์ หมๆ่ ลงส่ภู าคปฏบิ ัติ

4) ปรับสภาพสภาพการปฏิบัติงานท่ีมีลักษณะแยกให้ครูต้องปฏิบัติการสอนแบบ
ลาพังคนเดียวไปเป็นการทางานแบบทีม และทาการปรับปรุงช่องทางให้เกิดการสื่อสารหลายทางได้สะดวก
และกว้างขวาง พัฒนาทักษะการรับฟัง (Listening) และทักษะการพูดคุย (Talking) ซึ่งเป็นเคร่ืองมืออัน
ทรงพลังให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning organization) ให้
เกดิ ขน้ึ ข้ึนในโรงเรียน

5) แสวงหา ให้การยอมรับ และแสดงออกถึงความชื่นชม ต่อนักนวัตกรรม หรือ
ผู้สรา้ งผลงานสร้างสรรคใ์ หมท่ เี่ กดิ ขึ้นใหเ้ ป็นทปี่ ระจกั ษต์ อ่ สาธารณชน

6) ให้การยอมรับ ให้รางวัลตอบแทน และแสดงความช่ืนชมต่อผู้ที่ล้มเหลว
เช่นเดียวกับผู้ท่ีประสบความสาเร็จ ท้ังนี้เพราะในองค์การแห่งการเรียนรู้ ถือว่า “ความล้มเหลวช่วยสร้าง
โอกาสให้เกิดการเรียนรู้ “(ทานองคล้ายกับ “ผิดเป็นครู”) และไม่ควรได้รับการตาหนิ แต่ควรให้กาลังใจ
มากกวา่ เพอ่ื ใหผ้ นู้ ั้น “กล้าคดิ ใหม่ ทาใหม่” อีกต่อไป

7) ศึกษาเกณฑเ์ ทยี บเคยี งกบั “แบบปฏบิ ัตทิ ี่ดี” (Benchmark “Best practices”)
ของหน่วยงานอ่ืน ๆ ท่ีมิใชท่ างการศึกษา เช่น องค์การธุรกิจเอกชน องค์การภาครัฐ หน่วยงานส่วนท้องถ่ิน

21

และทางศาสนา เป็นต้น เพ่ือสอบถามและวิเคราะห์หาว่าหน่วยงานเหล่าน้ีประสบความเป็นเลิศในด้าน
เหล่านัน้ ได้อย่างไร

8) จดั สร้างเกณฑก์ ารประเมินท่คี าดหวัง ต่อทุกนวัตกรรมหรืองานสรา้ งสรรคใ์ หม่ๆ

ของโรงเรียน

9) กระตุ้นให้ครูแต่ละคนใช้ความพยายามค้นหาวิธีทางานแบบใหม่ท่ีต่างจากเดิม
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กระตนุ้ ใหท้ าวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารในประเด็นต่าง ๆ ท่เี กดิ ข้นึ ในช้ันเรยี นของตน

2.8 สรปุ

คุณลักษณะของผูน้ าเป็นสิ่งจาเป็นอย่างย่ิงต่อการดาเนินการต่างๆ ใหบ้ รรลุเป้าหมาย ผู้นานอกจาก
จะต้องมีความรู้แล้วจาเป็นอย่างย่ิงที่ต้องมีคุณลักษณะอ่ืนๆ ประกอบด้วย คือ ความเพียร ความกล้าในการ
ตัดสินใจและมีความเชอื่ มนั ในตนเอง มคี วามใสใ่ จในงานและเพ่อื รว่ มงานอย่างจรงิ ใจ ส่ิงเหลา่ นจ้ี ะชว่ ยให้ผู้นา
มีระดบั สมั พนั ธก์ บั กลุ่มต่างๆ ได้อย่างดีและเหมาะสม ได้รบั การยอมรับจากสงั คมท่ัวไป คณุ ลกั ษณะของผู้นาที่
ได้เสนอมาข้างต้นนี้เป็นคุณสมบัติท่ีผู้นาทุกคนพึงจะมี แต่จะมีเท่าเทียมกันหรือไม่ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล
สถานการณ์ ส่ิงแวดล้อม และลักษณะของกลุ่มสมาชิกการท่ีผู้นามีคุณสมบัติตามทกี่ ล่าวมาแล้วย่อมมีโอกาสท่ี
จะประสบความสาเร็จในการเป็นผู้นา และมีภาวะผู้นาเป็นที่ยอมรับจากบุคคลอ่ืนได้เป็นอย่างดี ตลอดจน
สามารถบริหารงานภายในองค์การให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น อีกทั้ง บทบาทของผู้นาเป็นปัจจัยสาคัญใน
การรวมกลุ่มและจูงใจคนไปยังเป้าหมายประการใดประการหน่ึง นอกจากนี้ผู้นายังต้องทาหน้าท่ีบริหารคน
วัสดุ และภาวะสง่ิ แวดลอ้ มทางการบรหิ ารด้วย เพ่อื ใหง้ านบรรลเุ ปา้ หมายทกี่ าหนดไว้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ครูมีภาระหน้าท่ีหลักคือการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงครูควรแสดงคุณลักษณะการเป็นผู้นาท่ีดีให้นักเรียน
ได้รับรู้ เพื่อให้นักเรียนเกิดความเชื่อถือ อีกทั้งครูยังมีภาระหน้าท่ีอ่ืนๆ ท่ีได้รับมอบหมาย ซ่ึงจาเป็นต้อง
ทางานร่วมกับครูคนอน่ื ๆ หรือบุคลากรอื่น ดังน้ันครูจงึ จาเป็นต้องมีภาวะผู้นาเพ่ือชว่ ยส่งเสรมิ การทางานให้
บรรลุผลสาเร็จ ในบทน้ีจึงได้เสนอเนื้อหาของภาวะผู้นา ที่เหมาะสาหรับครู ได้แก่ภาวะผู้นาทางวิชากา ร
ภาวะผนู้ าการเรยี นรู้ และภาวะผู้นาเชงิ สรา้ งสรรค์

ภาวะผู้นาทางวิชาการ เพ่ือใช้ในการปฏิบัติหน้าท่ี ในการจัดการเรียนรู้ การบริหารงานวิชาการให้
บรรลุตามวัตถุประสงค์ การบริหารงานวิชาการเป็นงานท่ีผู้บริหารและผู้ที่เตรียมตัวเป็นผู้บริหารหรือผู้ที่รับ
หน้าที่เกี่ยวข้องกับงานวิชาการ ควรได้ศึกษาทาความเข้าใจและทาหน้าที่ในพันธกิจน้ีอย่างมุ่งม่ันและทุ่มเท

22

เพราะงานวิชาการของโรงเรียนหรือสถานศึกษาโดยเฉพาะการจดั การเรียนการสอนถือว่าเป็นหัวใจของการจัด
การศกึ ษา สาหรับในสถานศกึ ษางานวชิ าการจะเก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาหลักสูตร การนาหลกั สูตรไปใช้ การ
จดั การเรียนการสอน และการประเมนิ ผลงานวิชาการ ในยุคปัจจบุ ัน ครูและผู้บรหิ ารตอ้ งปรบั ตัวขนานใหญ่
แบบเปลี่ยนทงั้ หลักคิดและกระบวนการในการสรา้ งอิทธพิ ลตอ่ ผเู้ รียน ผนู้ าทางวิชาการควรมีสมรรถนะในการ
ปรับตัว คอื ทางานไดอ้ ย่างรวดเร็ว ยืดหยนุ่ เปน็ มิตรกบั ผ้เู รยี น และตอบโจทยต์ รงความตอ้ งการของสงั คม

ภาวะผู้นาการเรียนรู้ หมายถึงกระบวนการเสริมสร้างช่วยเหลือสนับสนุนการปฏิบัติการเรียนรู้ให้
บรรลุผลและสรา้ งส่ิงแวดล้อมท่ีมีพลังต่อการเรียนรูห้ รือต่อการขยายศักยภาพการเรียนรู้และเกิดนวัตกรรมซึ่ง
ส่ิงต่างๆเหล่านี้เกิดขึ้นโดยผ่านการกระจายแบ่งปันการเช่ือมต่อกิจกรรมและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก
หนุ้ ส่วนและมีผู้เกี่ยวข้องอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการทั้งในระบบและนอกระบบของการศึกษาเรียนรู้
หรอื ในชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้การเรียนรู้เป็นกิจกรรมหลักสาคัญของการศึกษาภาวะผนู้ าการเรียนรู้จะทาให้เกิด
การเรียนที่ลุ่มลึกมีเทคนิควิธีในการแสวงหาความรู้ทั้งนี้ต้องสร้างสรรค์ส่ิงแวดล้อมและบริบทให้มีพลังและ
คงทนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพของบุคคล ผู้นาเองจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
กระบวนการเรยี นรู้และการจัดการเรยี นรู้สามารถนาในเร่ืองการเรยี นร้แู ละตัวผู้นาเองใชว้ ิธีการเรียนรู้ด้วยการ
นาตนเองซึ่งประกอบด้วยการวางแผนการสร้างแรงจูงใจหลักการคิดอย่างมีวิจารณญาณและสะท้อนคิด
สะทอ้ นผลทาใหม้ นี วตั กรรมการเรียนรูแ้ ละสามารถสรา้ งองค์ความรู้

การมีความคิดสรา้ งสรรคน์ ั้นเป็นสิง่ ท่ีมปี ระโยชนต์ อ่ การปรับตวั และการสร้างสรรคส์ ่ิงใหมๆ่ ความคิด
สร้างสรรค์จะช่วยให้สามารถพัฒนาการทางานซ่ึงจะนาไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมลักษณะของ
ความคิดสร้างสรรค์มีดังนี้ เป็นกิจกรรมทางใจท่ีจงใจและไม่เหมือนของคนอ่ืนหรือไม่เคยมีใครคิดหรือทามา
ก่อน เป็นกระบวนการคิดหลายประเภทหลายลักษณะตั้งแต่การต้ังคาถามรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์วิจารณ์
เชือ่ มโยงดดั แปลงแกไ้ ขเกิดแนวคดิ จนถงึ การวางหลกั เกณฑ์ทวั่ ไปและสร้างสรรค์
การสร้างขวัญกาลังใจในการทางานและการใช้หลักความสาเร็จของงานเป็นความสาเร็จของสมาชิกท้ังกลุ่ม
หรือทีมและบุคคลท่ีมีความคิดสร้างสรรค์คือบุคคลที่มีคุณสมบัติท่ีเอ้ือต่อการบริหารจัดการ นอกจากนี้ยังมี
ความสามารถนาผ้อู นื่ ให้กา้ วไปสู่จุดมุ่งหมายท่ีตงั้ ไวไ้ ด้ ภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์เป็นการรวมพลังหรือ
รว่ มคิดรว่ มทาเพ่ือให้เกิดโอกาสของความสาเร็จในการเรียนรู้ในทุกระดบั ทาให้คดิ แตกต่างเพื่อสร้างสิ่งใหม่ๆ
มีจินตนาการการมองอนาคต มีความคิดและทาให้เกิดสิ่งต่างๆเพื่อพัฒนาชีวิตและการเรียนรู้ของผู้เรียน
ภาวะผู้นาเชงิ สรา้ งสรรค์จึงมิใช่การที่ผนู้ าเกดิ ความคิดสร้างสรรค์แตฝ่ ่ายเดียว แตผ่ ู้นา จะต้องจัดกระทาและให้
โอกาสกับผ้อู ่ืนสามารถสร้างสรรคไ์ ด้ด้วย



23

คาถามชวนคดิ

1. จงอธิบายความหมายของผนู้ าและภาวะผนู้ า
2. นกั ศกึ ษาคดิ ว่าสาหรบั ตวั นักศกึ ษาเอง มภี าวะผนู้ าลกั ษณะใดชัดเจนท่ีสดุ เพราะเหตใุ ด
3. ให้นกั ศกึ ษายกตัวอย่างกรณเี หตกุ ารณท์ ี่แสดงให้เห็นถงึ การมภี าวะผู้นาของครูใน

สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19

กจิ กรรมท้ายบท

ให้นักศึกษา ค้นคว้าเพ่ือเติมเกี่ยวกับภาวะผู้นาสาหรับครูในลักษณะต่างๆ และ ให้เสนอวิธีการ
พัฒนาตนเองเพ่ือให้เป็นมีภาวะผู้นาลักษณะนั้นๆ โดยให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเพื่อทากิจกรรมน้ี ให้แบ่งเป็น 4
กลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆ กนั หลังจากศึกษาขอ้ มูลเสรจ็ เรียบร้อยใหแ้ ตล่ ะกลุ่มนาเสนอในขน้ั เรียน



24

บรรณานุกรม

กนกอร สมปราชญ์. (2560). ภาวะผู้นาและภาวะผ้นู าการเรยี นรู้สาหรับผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา (พิมพ์ครง้ั
ที่ 2). ขอนแกน่ : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.

จินตนา ยูนิพนั ธ์ุ. (2548). จรยิ ธรรมในการประกอบวชิ าชีพ ใน เอกสารการสอนชดุ วชิ า
ประสบการณ์วชิ าชพี พยาบาล (หน่วยท่ี 8). นนทบุรี: สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. น. 349-413.

นิสาลกั ษณ์ จันทร์อรา่ มและกาญจน์ เรืองมนตรี. (2561). การพฒั นาโปรแกรมเสริมสรา้ งภาวะผู้นาทาง
วิชาการของครูสังกดั สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 5. วารสาร
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏร้อยเอด็ . 12(1), น.184-193.

เนตรพ์ ัณณา ยาวริ าช. (2560). ภาวะผนู้ าและผูน้ าเชิงกลยทุ ธ์. พมิ พ์ครัง้ ที่ 9. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั
ทริปเพลิ้ กรุป๊ จากัด.

พระธรรมปฎิ ก. (2546). ภาวะผู้นา. กรุงเทพฯ: เอม่ี เทรดด้งิ .
พระพรหมคุณาภรณ.์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต). (2547). ธรรมนูญชีวติ . กรงุ เทพฯ: พิมพส์ วย.

. (2557). พุทธวธิ ีในการสอน (พมิ พ์คร้ังท่ี 20). กรงุ เทพฯ: เจริญดมี ั่นคงการพมิ พ.์
ราชบัณฑติ ยสถาน. (2556). พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (พิมพค์ ร้ังที่ 2).

กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พบั ลิเคชนั่ ส์ จากัด.
ศิริ เจรญิ วัย. (2560). ภาวะผ้นู าในการบริหารการศึกษาทฤษฎีและแนวปฏบิ ตั .ิ ม.ป.ท.
เศาวนติ เศาณานนท์. (2542). ภาวะผูน้ า (Leadership). นครราชสมี า: สภาบนั ราชภฏั

นครราชสมี า.
สฎายุ ธีระวณชิ ตระกูล. (2563). ภาวะผนู้ าทางวชิ าการสาหรับการศึกษายคุ 4.0. สืบคน้ จาก

https://educa2020.educathai.com/learnings/40
สมาน อศั วภูม.ิ (2558). เอกสารคาสอนรายวชิ าการบรหิ ารสาหรับครู (ฉบับปรบั ปรุง) พิมพค์ รัง้ ที่ 2 .

อุบลราชธานี: อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์.
สานกั การบรหิ ารงานการมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. (2559). แนวทางการจดั การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21.

(ออนไลน)์ . สืบค้นเม่ือ 10 พฤษภาคม 2560, จาก https://webs.rmutl.ac.th/ assets/
upload/files/2016/09/20160908101755_51855.pdf

25

สาเรงิ บุญเรืองรัตน์. (2557). ทฤษฎีภาวะผู้นา ใน สารานกุ รมสารานกุ รมศกึ ษาศาสตร.์ น.14- 32.
สืบค้นเม่อื 20 มกราคม 2562, จาก http://ejournals.swu.ac.th/index.php/
ENEDU/article/view/5562/5206

สเุ ทพ พงศ์ศรวี ฒั น์. (2549). ภาวะผู้นาแบบสรา้ งสรรค์. สืบคน้ จาก http://suthep.crru.ac.th/
สเุ มธ แสงนม่ิ นวล. (2552). ภาวะผนู้ ากับธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารงานองค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถน่ิ .

กรุงเทพฯ: ส เจริญ การพมิ พ.์
สุวมิ ล ตงั้ ประเสรฐิ . (2558). ภาวะผู้นาและทมี งาน. นครราชสีมา: คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา.
เสรมิ ศกั ด์ิ วิศาลาภรณ์. (2546). พฤติกรรมผูน้ าทางการศกึ ษา. (พิมพ์ครัง้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ :

ไทยวฒั นาพานชิ .
อดศิ ร เนาวนนท์. (2550). ผ้นู าทางวชิ าการและการพฒั นาหลักสตู ร. นครราชสมี า: มหาวิทยาลัย

ราชภัฏนครราชสมี า.
อาภารตั น์ ราชพัฒน.์ (2554). การพัฒนาตัวบง่ ช้ภี าวะผูน้ าทางวชิ าการสาหรับผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาขั้น

พน้ื ฐาน. ดษุ ฎนี ิพนธ์ . หลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา. ขอนแกน่ :
มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .
Greenberg, J., and Baron, Robert A. (2000). Behavior in Organizations. 7th ed. Upper,
Saddle River, NJ: Prentice-Hell.
Jim C. Collins. (2001). Good to Great: Why Some Companies Make the Leap... and
Others Don't. New York: HarperBusiness.
Lean East. (2018). 7 Lessons from Good to Great. Retrieved 10 March, 2019 from
https://www.leaneast.com/good-to-great.
Yukl Gary. (2010). Leadership in organizations (7th ed). N.J. : Pearson Education

26


Click to View FlipBook Version