The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2561 สสจ.อุตรดิตถ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cpd.utt2558, 2024-01-29 03:32:32

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2561 สสจ.อุตรดิตถ์

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2561 สสจ.อุตรดิตถ์

รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 92 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรจ านวน 34 กลุ่ม ได้รับสนับสนุนเงินทุนปลอดดอกเบี้ย วงเงินอนุมัติ 16,880,000 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรได้รับสนับสนุนเงินทุนปลอดดอกเบี้ยเพื่อด าเนินการจัดปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มี คุณภาพ และราคายุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของ เกษตรกร 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. วัตถุประสงค์ของโครงการไม่ครอบคลุมความต้องการของสมาชิก ในส่วนของการกู้ยืมเพื่อน าไป ลงทุนประกอบอาชีพ ควรก าหนดวัตถุประสงค์โครงการเพิ่มเติมเพื่อสอดคล้องรับกับความต้องการของสมาชิก 2. ควรจัดอบรมหรือจัดท าคู่มือส าหรับผู้แทนกลุ่มเกษตรกร เกี่ยวกับบทบาทการเข้ามามีส่วนร่วมใน การปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบ ติดตามการใช้เงินกู้ ตลอดจนการเร่งรัดการช าระหนี้กับกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ ที่รับผิดชอบ เนื่องจากปัจจุบันผู้แทนกลุ่มเกษตรกรขาดทักษะในการปฏิบัติงาน 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพประกอบ การประชุมคณะกรรมการ กลางกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัดเพื่อ คัดเลือกกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2561 ภาพประกอบ การจัดประชุมคณะกรรมการ พิจารณาเงินกู้ให้กับกลุ่มเกษตรกร เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2561 มีผู้แทนกลุ่มเกษตรกรจ านวน 34 แห่ง เข้าร่วมประชุมด้วย


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 93 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ มาตรการให้ความช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ ประสบอุทกภัยปี ๒๕๖๐ (พายุตาลัส/พายุเซินกา) ภาพประกอบ การตรวจติดตามการ ใช้เงินกู้ ของกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการช่วยเหลือบรรเทาภาระหนี้สิน และลดต้นทุนของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ได้รับ ผลกระทบจากอุทกภัย ปี 2560 (จากพายุตาลัสและพายุเซินกา) เป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีพื้นที่การเกษตรอยู่ในพื้นที่ตามประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) ปี 2560 จากพายุตาลัสและพายุเซินกา ช่วงภัยตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560 2. ผลการด าเนินงาน 1. ส ารวจข้อมูลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ (อุทกภัย) ตามเงื่อนไขโครงการ มีสหกรณ์แจ้งความประสงค์เข้าร่วมโครงการจ านวน 6 แห่ง 2. ตรวจสอบเอกสารประกอบการขอเบิกชดเชยดอกเบี้ยมาตรการฯ ของสหกรณ์ฯ พบว่าสมาชิกมี คุณสมบัติและเงื่อนไขตามคู่มือที่โครงการก าหนดจ านวน 55 ราย ดอกเบี้ยชดเชยจ านวน 28,288.75 บาท 3. จ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยแทนสมาชิกให้แก่สถาบันเกษตรกร 4. ตรวจสอบ ติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดยสหกรณ์ฯ ได้ด าเนินการจ่ายเงินชดเชย ดอกเบี้ยที่ได้รับให้กับสมาชิกเรียบร้อยแล้ว


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 94 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ พักช าระหนี้ต้นเงินและลดดอกเบี้ยให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ปลูกข้าว ปีการผลิต ๒๕๕๙/๖๐ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์ทั้ง 6 แห่ง รวม 55 ราย ได้รับการช่วยเหลือด้านการชดเชยดอกเบี้ยจ านวนทั้งสิ้น 28,288.75 บาท มูลหนี้เข้าร่วมโครงการจ านวน 2,323,296.21 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ปี 2560 (จากพายุตาลัสและพายุเซินกา) ได้รับการ ช่วยเหลือบรรเทาภาระหนี้สิน และลดต้นทุนจากการลงทุนประกอบอาชีพ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ควรมีการช่วยเหลือด้านอื่นที่นอกเหนือจากการชดเชยดอกเบี้ย เช่น การสนับสนุนปัจจัยการผลิต ฯลฯ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อบรรเทาภาระหนี้สินและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพท า นาของสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพท านามีโอกาสนาเงินที่ต้องส่งช าระหนี้ ไปฟื้นฟูตนเองในการประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้เป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถพึ่งพาตนเอง มีรายได้เพียงพอในการช าระหนี้ได้ภายหลังได้รับการพักช าระหนี้ เป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการผลิตข้าวกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 ต้นเงินกู้คงเหลือจานวนไม่เกิน 500,000 บาท 2. ผลการด าเนินงาน 1. ส ารวจข้อมูลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประสงค์เข้าร่วมโครงการ 2. ตรวจสอบเอกสารประกอบการขอเบิกชดเชยดอกเบี้ยมาตรการฯ ของสหกรณ์ฯ ของสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจ านวน 13 แห่ง 3. จ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยแทนสมาชิกให้แก่สถาบันเกษตรกร 4. ตรวจสอบ ติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 95 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ มาตรการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรผู้ปลูกมันส าปะหลัง ปี ๒๕๕๙/๖๐ ของสมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตร 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสถาบันเกษตรกรทั้ง 13 แห่ง (สหกรณ์จ านวน 7 แห่ง กลุ่มเกษตรกรจ านวน 6 แห่ง) ได้รับ การช่วยเหลือด้านหนี้สินจ านวน 224 ราย มูลหนี้เข้าร่วมโครงการจ านวน 8,436,908.92 บาท ชดเชย ดอกเบี้ยจ านวน 201,792.81 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกได้รับการบรรเทาภาระหนี้สินและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพท านาและสมาชิกได้มีโอกาส น าเงินที่ต้องส่งช าระหนี้ไปฟื้นฟูตนเองในการประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้เป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข กรมฯควรก าหนดแนวทางในการตรวจสอบความซ้ าซ้อนของสมาชิกระหว่างสถาบันเกษตรกร เพื่อ ป้องกันสิทธิสมาชิกซ้ าซ้อน 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1 เพื่อช่วยลดภาระดอกเบี้ยแก่สมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตรที่ปลูกมันส าปะหลัง ปี 2559/60 2 เพื่อให้เกษตรกรมีเงินเหลือจากการลดภาระการช าระดอกเบี้ยเงินกู้ สามารถน าไปเป็นค่าใช้จ่ายใน การพัฒนาการผลิตมันส าปะหลัง ตลอดจนเป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือนเพื่อการด ารงชีพ เป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตรที่ปลูกมันส าปะหลัง เป็นสมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตร ที่มีหนี้เงินกู้ ระยะสั้นเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการผลิตมันส าปะหลัง ปี 2559/60 อยู่กับสหกรณ์ภาคการเกษตร 2. ผลการด าเนินงาน 1. ส ารวจข้อมูลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประสงค์เข้าร่วมโครงการ มีสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการจ านวน 1 แห่ง ได้แก่สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จ ากัด 2. ตรวจสอบเอกสารประกอบการขอเบิกชดเชยดอกเบี้ยมาตรการฯ ของสหกรณ์ฯ ของสหกรณ์ที่เข้า ร่วมโครงการ 3. จัดส่งข้อมูลให้กับกรมฯ เพื่อประสานไปยังธกส. เบิกจ่ายให้กับสหกรณ์ 4. ตรวจสอบ ติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 96 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ สนับสนุนเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์ได้รับการช่วยเหลือด้านหนี้สินจ านวน 256 ราย มูลหนี้เข้าร่วมโครงการจ านวน 15,915,804.00 บาท ชดเชยดอกเบี้ยจ านวน 236,568.13 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกได้รับการลดภาระดอกเบี้ย และมีเงินเหลือจากการลดภาระการช าระดอกเบี้ยเงินกู้ สามารถ น าไปเป็นค่าใช้จ่ายในการพัฒนาการผลิตมันส าปะหลัง ตลอดจนเป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือนเพื่อการด ารงชีพ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข กรมฯควรก าหนดแนวทางในการตรวจสอบความซ้ าซ้อนของสมาชิกระหว่างสถาบันเกษตรกร เพื่อ ป้องกันสิทธิสมาชิกซ้ าซ้อน 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : ให้บริการวิเคราะห์ค าขอกู้และน าเสนอต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้ตามเวลาที่ก าหนด แยกเป็นโครงการปกติ 45 สหกรณ์ จ านวนเงิน 121,820,000 บาท และโครงการพิเศษ 20 สหกรณ์ จ านวนเงิน 56,380,000 บาท เมื่ออนุมัติแล้วสามารถเบิกจ่ายเงินกู้ได้ตามก าหนด ตลอดจนติดตามเร่งรัดให้ สหกรณ์ส่งช าระเงินกู้คืนให้เป็นไปตามก าหนด 71 สัญญา วงเงิน 166,351,844.02 บาท ระยะเวลา ด าเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 2. ผลการด าเนินงาน 2.1 สนับสนุนเงินทุนให้แก่สหกรณ์เพื่อสร้างความเข้มแข็งสามารถเป็นที่พึ่งของมวลสมาชิก และมี เงินทุนเป็นของตนเอง จ านวน 65 สหกรณ์ วงเงิน 178,200,000 บาท 2.2 ติดตามเร่งรัดการส่งช าระหนี้ของสหกรณ์ที่รับเงินกู้ ปี พ.ศ.2560 ให้เป็นไปตามก าหนดเวลาของ ปีงบประมาณ 2561 จ านวน 71 สัญญา จ านวนเงิน 166,351,844.02 บาท คิดเป็นร้อยละ 89.52 ของหนี้ที่ถึงก าหนดช าระ 2.3 ส ารวจความต้องการเงินกู้ของสหกรณ์เพื่อเสนอแผนงานสนับสนุนเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ต่อ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 2.4 รวบรวมข้อมูลของสหกรณ์ที่ประสงค์ขอกู้เงิน เพื่อเสนอขอรับการจัดชั้นลูกหนี้เงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ จ านวน 65 สหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 3.1 สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 3.2 สหกรณ์มีทุนด าเนินงานเพิ่มขึ้น


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 97 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ท าให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 4.1 เงินทุนที่จัดสรรให้ไม่เพียงพอในการสนับสนุนตามความต้องการของสหกรณ์ เห็นควรให้ กรมส่งเสริมสหกรณ์สนับสนุนเงินทุนเพิ่มมากขึ้น 4.2 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าส่วนใหญ่เป็นสหกรณ์ขนาดเล็กและไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนและไม่มีรายได้จาก ธุรกิจด้านบริการน้ าเพื่อการเกษตร เนื่องจากมีการถ่ายโอนภารกิจให้กับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในการ จัด เก็บค่าบริการน้ า จึงมีความจ าเป็นที่ต้องหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ ามาด าเนินธุรกิจให้บริการเกษตรกร สมาชิกด้านอื่น ควรจัดให้มีโครงการพิเศษให้แก่สหกรณ์เหล่านี้ 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ การประคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 98 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของสหกรณ์ 1. เป้าหมาย/ตัวชี วัด เป้าหมาย ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ เงื่อนไขของโครงการให้สหกรณ์เป้าหมาย 4 สหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรบ้านห้วยลึกจ ากัด สหกรณ์ผู้เลี้ยงสัตว์ต าบลน้ าหมันพัฒนา จ ากัด สหกรณ์ผู้ปลูกมะขาม บ้านเสี้ยว จ ากัด และสหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอุตรดิตถ์ จ ากัด โดยให้การสนับสนุนเงินทุนให้แก่สหกรณ์เพื่อ ด าเนินธุรกิจในวงเงิน 8,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี ด าเนินการต่อเนื่อง 3 ปี 2. ผลการด าเนินการ 1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการฯให้ผู้แทนสหกรณ์เป้าหมาย ทั้ง 4 สหกรณ์เพื่อมีมติเข้าร่วมโครงการฯ และจัดท าค าขอกู้เสนอคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนา สหกรณ์ 2. วิเคราะห์ค าขอกู้และเสนอค าขอกู้เสนอคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์เพื่อ พิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงิน 4 สหกรณ์ วงเงิน 8,000,000.-บาท 3. ติดตามการใช้เงินทุนให้เป็นไปตามเงื่อนของการสนับสนุนเงินทุนของโครงการฯ เพื่อรายงานผลการ ด าเนินงานต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ 1. สหกรณ์เป้าหมายทั้ง 4 สหกรณ์ มีมติเข้าร่วมโครงการฯ และจัดท าค าขอกู้เสนอคณะอนุกรรมการ พิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการฯ 2. คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์พิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงิน 4 สหกรณ์ วงเงิน 8,000,000.-บาท 3. รายงานผลการด าเนินงานต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ในการติดตามการใช้เงินทุนให้เป็นไปตามเงื่อน ของการสนับสนุนเงินทุนของโครงการฯ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. เงินทุนที่จัดสรรให้ไม่เพียงพอในการสนับสนุนตามความต้องการของสหกรณ์ 2. สหกรณ์ขนาดเล็ก และไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนและไม่มีรายได้จากธุรกิจด้านอื่น จึงมีความ จ าเป็นที่ต้องหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ ามาด าเนินธุรกิจให้บริการเกษตรกรสมาชิกในธุรกิจจัดหาปัจจัยการ ผลิต และธุรกิจรวบรวมผลิตผลการเกษตรจากสมาชิก 3. สหกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุนเงินทุน ส่วนใหญ่ยังไม่มีเจ้าหน้าที่สหกรณ์ จึงจ าเป็นต้องได้รับการ สนับสนุนบุคลากรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในการช่วยเหลือการจัดท าบัญชี และแนะน าส่งเสริมให้สหกรณ์ ปฏิบัติตามเงื่อนไขของโครงการฯ


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 99 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ สนับสนุนเงินกู้แก่สหกรณ์ที่ประสบสาธารณภัยและอื่นๆ 1. เป้าหมาย/ตัวชี วัด เป้าหมาย สหกรณ์เป้าหมาย 5 สหกรณ์ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรน้ าพี้ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหม้อ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินนาอิน จ ากัด สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านดอนโพ จ ากัด และ สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านท้ายวัดพญาปันแดน จ ากัด ได้รับการสนับสนุนเงินทุนแก่สหกรณ์เพื่อ เป็นแหล่งเงินทุนให้แก่สมาชิกสหกรณ์กู้เพื่อประกอบอาชีพหลังประสบสาธารณภัย วงเงินจัดสรร 4,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี 2. ผลการด าเนินการ 1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการฯ ให้ผู้แทนสหกรณ์เป้าหมาย คือ สหกรณ์การเกษตรน้ าพี้ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหม้อ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินนาอิน จ ากัด สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านดอนโพ จ ากัด และสหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้า บ้านท้ายวัดพญาปันแดน จ ากัด เพื่อจัดท าแผนการด าเนินงานตามโครงการและจัดท าค าขอกู้เสนอ คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ตามแผนที่วางไว้ 2. วิเคราะห์ค าขอกู้และเสนอค าขอกู้เสนอคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์เพื่อ พิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงิน 5 สหกรณ์ วงเงิน 4,000,000.-บาท 3. ติดตามการใช้เงินทุนให้เป็นไปตามเงื่อนของการสนับสนุนเงินทุนของโครงการฯ เพื่อรายงาน ผลการด าเนินงานต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์เป้าหมาย 5 สหกรณ์ มีมติเข้าร่วมโครงการฯและจัดท าค าขอกู้เสนอคณะอนุกรรมการ พิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการฯ 2. คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์พิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงิน 5 สหกรณ์ วงเงิน 4,000,000.-บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. รายงานผลการด าเนินงานต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ในการติดตามการใช้เงินทุนให้เป็นไปตามเงื่อน ของการสนับสนุนเงินทุนของโครงการฯ 2. สหกรณ์มีสภาพคล่องด้านเงินทุนในการด าเนินธุรกิจ 3. สหกรณ์สามารถขยายธุรกิจและบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เกิดเครือข่ายธุรกิจ สร้างความเข้มแข็งในขบวนการสหกรณ์ 5. เพิ่มมูลค่าในปริมาณธุรกิจในระบบธุรกิจสหกรณ์ 6. สมาชิกนิคมสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการช่วยเหลือหลังประสบสาธารณภัย 7. สมาชิกนิคมสหกรณ์ได้บริโภคอาหารปลอดภัย มีสุขภาพที่ดี อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ไม่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 100 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้แก่สหกรณ์ตามโครงการเงินกู้เพื่อ ปรับโครงสร้างภาคเกษตร 8. สหกรณ์มีธุรกิจต่อเนื่องจากลุ่มผู้ผลิต ท าให้สมาชิกและสหกรณ์มีความ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. เงินทุนที่จัดสรรให้ไม่เพียงพอต่อความต้องการของสหกรณ์ 2. สหกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุนเงินทุน ส่วนใหญ่ยังขาดบุคลากรด้านส่งเสริมการตลาดจึงจ าเป็นต้อง ได้รับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ หรือสนับสนุนงบประมาณด้านการฝึกอบรมบุคลากร จากกรมส่งเสริม สหกรณ์ เพื่อท าให้การบริหารงานโครงการฯ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เป้าหมาย/ตัวชี วัด เป้าหมาย สหกรณ์เป้าหมาย 1 สหกรณ์ได้แก่ ชุมนุมสหกรณ์เมืองพิชัย จ ากัด ได้รับการสนับสนุนเงินทุนแก่ สหกรณ์เพื่อจัดหาปัจจัยการผลิตมาจ าหน่าย วงเงินจัดสรร 2,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี 2. ผลการด าเนินการ 1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการฯ ให้ผู้แทนสหกรณ์เป้าหมายคือ ชุมนุมสหกรณ์เมืองพิชัย จ ากัด เพื่อจัดท าแผนการด าเนินงานตามโครงการและจัดท าค าขอกู้เสนอ คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ตามแผนที่วางไว้ 2. วิเคราะห์ค าขอกู้และเสนอค าขอกู้เสนอคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เพื่อพิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงิน 1 สหกรณ์ วงเงิน 2,000,000.-บาท 3. ติดตามการใช้เงินทุนให้เป็นไปตามเงื่อนของการสนับสนุนเงินทุนของโครงการฯ เพื่อรายงาน ผลการด าเนินงานต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์เป้าหมาย 1 สหกรณ์ มีมติเข้าร่วมโครงการฯและจัดท าค าขอกู้เสนอคณะอนุกรรมการ พิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการฯ 2. คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์พิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงิน 1 สหกรณ์ วงเงิน 2,000,000.-บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. รายงานผลการด าเนินงานต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ในการติดตามการใช้เงินทุนให้เป็นไปตามเงื่อนไข ของการสนับสนุนเงินทุนของโครงการฯ 2. สหกรณ์มีสภาพคล่องด้านเงินทุนในการด าเนินธุรกิจ 3. สหกรณ์สามารถขยายธุรกิจและบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 101 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ ส่งเสริมอาชีพสมาชิกสหกรณ์และยกระดับสินค้าสหกรณ์ 4. เกิดเครือข่ายธุรกิจ สร้างความเข้มแข็งในขบวนการสหกรณ์ 5. เพิ่มมูลค่าในปริมาณธุรกิจในระบบธุรกิจสหกรณ์ 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงานและแนวทางแก้ไข 1. เงินทุนที่จัดสรรให้ไม่เพียงพอต่อความต้องการของสหกรณ์ 2. สหกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุนเงินทุน ส่วนใหญ่ยังขาดบุคลากรด้านส่งเสริมการตลาดจึงจ าเป็นต้อง ได้รับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ หรือสนับสนุนงบประมาณด้านการฝึกอบรมบุคลากร จากกรมส่งเสริม สหกรณ์ เพื่อท าให้การบริหารงานโครงการฯ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เป้าหมาย/ตัวชี วัด เป้าหมาย สหกรณ์เป้าหมาย 12 สหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรฯนิคมล าน้ าน่าน จ ากัด สหกรณ์การเกษตร น้ าพี้ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรบ้านต้นม่วง จ ากัด สหกรณ์การเกษตรฟากท่า จ ากัด สหกรณ์การเกษตรเมือง ตรอน จ ากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์ จ ากัด สหกรณ์นิคมพิชัย พัฒนา จ ากัด สหกรณ์ผู้ปลูกมะขามบ้านเสี้ยว จ ากัด สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอุตรดิตถ์ จ ากัด สหกรณ์ผู้เลี้ยง สัตว์ต าบลน้ าหมันพัฒนา จ ากัด และสหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าคอรุม จ ากัด ได้รับการสนับสนุน เงินทุนแก่สหกรณ์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนให้สมาชิกกู้ยืมและรวบรวมผลิตผลจากสมาชิก วงเงินจัดสรร 26,880,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี 2. ผลการด าเนินงาน 1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการฯ ให้ผู้แทนสหกรณ์เป้าหมายคือ สหกรณ์การเกษตรฯนิคมล าน้ าน่าน จ ากัด สหกรณ์การเกษตรน้ าพี้ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรบ้านต้นม่วง จ ากัด สหกรณ์การเกษตรฟากท่า จ ากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จ ากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์ จ ากัด สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จ ากัด สหกรณ์ผู้ปลูกมะขามบ้านเสี้ยว จ ากัด สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอุตรดิตถ์ จ ากัด สหกรณ์ผู้เลี้ยงสัตว์ต าบลน้ าหมันพัฒนา จ ากัด และสหกรณ์ผู้ใช้น้ า สถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าคอรุม จ ากัด เพื่อจัดท าแผนการด าเนินงานตามโครงการและจัดท าค าขอกู้เสน อ คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ตามแผนที่วางไว้ 2. วิเคราะห์ค าขอกู้และเสนอค าขอกู้เสนอคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เพื่อพิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงิน 11 สหกรณ์ วงเงิน 25,200,000.-บาท 3. ติดตามการใช้เงินทุนให้เป็นไปตามเงื่อนไขของการสนับสนุนเงินทุนของโครงการฯ เพื่อรายงาน ผลการด าเนินงานต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์เป้าหมาย 11 สหกรณ์ มีมติเข้าร่วมโครงการฯและจัดท าค าขอกู้เสนอคณะอนุกรรมการ พิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการฯ


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 102 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ แก้ไขปัญหาด้านระบบการบริหารการจัดองค์กรและธรรมาภิบาล ในการบริหาร 2. คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์พิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงิน 11 สหกรณ์ วงเงิน 25,200,000.-บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. รายงานผลการด าเนินงานต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ในการติดตามการใช้เงินทุนให้เป็นไปตามเงื่อนไข ของการสนับสนุนเงินทุนของโครงการฯ 2. สหกรณ์มีสภาพคล่องด้านเงินทุนในการด าเนินธุรกิจ 3. สหกรณ์สามารถขยายธุรกิจและบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เกิดเครือข่ายธุรกิจ สร้างความเข้มแข็งในขบวนการสหกรณ์ 5. เพิ่มมูลค่าในปริมาณธุรกิจในระบบธุรกิจสหกรณ์ 6. สมาชิกที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยสามารถฟื้นฟูอาชีพได้หลังน้ าลด 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. เงินทุนที่จัดสรรให้ไม่เพียงพอต่อความต้องการของสหกรณ์ 2. สหกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุนเงินทุน ส่วนใหญ่ยังขาดบุคลากรด้านส่งเสริมการตลาดจึงจ าเป็นต้อง ได้รับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ หรือสนับสนุนงบประมาณด้านการฝึกอบรมบุคลากร จากกรมส่งเสริม สหกรณ์ เพื่อท าให้การบริหารงานโครงการฯ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์/เป้าหมายของโครงการ - เพื่อพัฒนาด้านระบบการบริหารจัดการองค์กรและธรรมาภิบาลในการบริหารของสหกรณ์ สหกรณ์ที่ ได้รับคัดเลือกคือ สหกรณ์นิคมฟากท่า จ ากัด สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านโคกหม้อ จ ากัด และ สหกรณ์การเกษตรท่าพญา จ ากัด โดยคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ผู้น ากลุ่มสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ของสหกรณ์ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แห่งละ ๕๐ คน รวมทั้งสิ้น 150 คน 2. ผลการด าเนินงาน 1. ผู้เข้าประชุมร่วมกันก าหนดประเด็นปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา และแผนการด าเนินการแก้ไข ปัญหา (Action Plan) ของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ 2.ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดส่งประเด็นปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา และแผนการด าเนินการแก้ไข ปัญหา (Action Plan) ของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้กองแผนงานเพื่อก าหนดเป็นแผนปฏิบัติ งานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 103 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จ านวนคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ ผู้น ากลุ่มสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ของ สหกรณ์ทั้ง 3 แห่งเข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 150 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ทั้ง 3 แห่งมีแผนการด าเนินการแก้ไขปัญหา (Action Plan) ของสหกรณ์ไว้เพื่อก าหนดเป็น แผนปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี - 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 104 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ อบรมทางไกล (Conference) การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน และกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุน ทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ความรู้แก่บุคลากรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ บุคลากรของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง สหกรณ์ผู้มี หน้าที่รับผิดชอบที่ต้องรายงานธุรกรรมทางการเงินของสหกรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน และกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและ การแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูงปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง และทราบถึงลักษณะที่เข้าข่ายต้องรายงาน ตามกฎหมาย เป้าหมาย จ านวนทั้งสิ้น 106 คน 1. ผู้แทนสหกรณ์ (สหกรณ์ที่มีทุนด าเนินการซึ่งมีมูลค่าหุ้นรวมตั้งแต่สองล้านบาทขึ้นไป) จ านวน 48 สหกรณ์ๆ ละ 2 คน รวม 96 คน 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์และผู้แทนจากส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด อุตรดิตถ์ รวม 10 คน 2. ผลการด าเนินงาน จากการจัดอบรมทางไกล (Conference) การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน และกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและ การแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง ในวันที่ 30 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เวลา 09.00 – 12.00 น. มีสหกรณ์เข้าร่วมโครงการจ านวน 48 สหกรณ์โดยเป็นแบ่งเป็น 1. สหกรณ์การเกษตร 36 สหกรณ์ 2. สหกรณ์นิคม 2 สหกรณ์ 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ 8 สหกรณ์ 4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ของส านักงานสหกรณ์จังหวัด 22 คน 5. เจ้าหน้าที่ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ 1 คน รวมผู้เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้นจ านวน 107 คน 3. ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยาย อาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง สามารถปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งการรายงานธุรกรรมทางการเงินของ สหกรณ์ได้อย่างถูกต้องและผู้เข้าร่วมอบรมยังทราบถึงลักษณะที่เข้าข่ายต้องรายงานตามกฎหมายตามแบบ รายงานธุรกรรมทางการเงินที่ ปปง. ก าหนด


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 105 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” แบบรายงาน ปปง. 1-01 แบบรายงาน ปปง. 1-02 แบบรายงาน ปปง. 1-03


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 106 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. สหกรณ์บางสหกรณ์ที่มีทุนด าเนินการซึ่งมีมูลค่าหุ้นรวมตั้งแต่สองล้านบาทขึ้นไปอยู่ในพื้นที่ไกลจุด การจัดอบรมท าให้เกิดความไม่สะดวกในการเดินทางมาเข้าร่วมอบรม 2. เจ้าหน้าที่ที่มาเข้ารับการอบรมบางส่วนไม่ใช่เจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่โดยตรงในการรายงานธุรกรรม ทางการเงินของสหกรณ์ แนวทางการแก้ไข 1. จัดให้มีการอบรมทางไกลผ่านระบบโดยมีการเพิ่มช่องทางที่สหกรณ์สามารถเข้าร่วมรับฟังการอบรม ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรือมีการแนบลิงค์ที่สหกรณ์สามารถเข้รับฟังการอบรมได้เองจากที่หน่วยงานของ สหกรณ์ 2. ควรมีการจัดท าคู่มือการรายงานธุรกรรมทางการเงินให้ส าหรับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึง ขั้นตอนการรายงาน 3. ควรมีช่วงทางสื่อสารหรือตอบข้อค าถามให้ส าหรับสหกรณ์ที่มีข้อสงสัยในการปฏิบัติงานสามารถ สอบถามได้ตลอดเวลาที่เกิดปัญหาในการปฏิบัติงาน 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพ : การประชุมการการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง ภาพ : การอบรมการรายงานธุรกรรมทางการเงินของสหกรณ์


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 107 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ การพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตร ด้วยกลไกประชารัฐ ภายใต้ความร่วมมือ สหกรณ์ หอการค้าไทย และสหกรณ์ 2. เพื่อส่งเสริมช่องทางการตลาด และพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสมาชิกสหกรณ์ เป้าหมาย 1. คณะกรรมการพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ จังหวัดอุตรดิตถ์ จ านวน 18 คน 2. คณะท างานพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์หลักระดับอ าเภอ 10 คน 3. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน จัดโครงการประชุม “1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 1 หอการค้า” ด้วยกลไกประชารัฐ เพื่อให้การ ขับเคลื่อนงานโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตร ด้วย กลไกประชารัฐ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสหกรณ์จังหวัด หอการค้าไทย และสหกรณ์ เสริมสร้างควา ม เข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตร และยกระดับความสามารถในการแข่งขัน สร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้แก่ สหกรณ์ภาคการเกษตร และสมาชิกให้สามารถให้สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของตลาดได้ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด เข้าร่วมโครงการ 1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 1 หอการค้า ด้วยกลไกประชารัฐ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมผ่านความร่วมมือระหว่างสหกรณ์ จังหวัดและหอการค้าไทย และผลิตภัณฑ์ได้รับการส่งเสริมช่องการตลาดและการสร้างมูลค่าเพิ่ม 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มี โครงกำรตำมนโยบำยส ำคัญ (Agenda)


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 108 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ การส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าและการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร ทดแทนแรงงาน 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. ลดต้นทุนการผลิตและแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานในพื้นที่เกษตร ปศุสัตว์และประมง 2. สนับสนุนเครื่องจักรกลทางการเกษตรให้สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้บริการและอ านวยความ สะดวกเครื่องจักรกลทางการเกษตร 3. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถาบันเกษตรกรในการจัดการและอ านวยความสะดวกในการ ให้บริการเครื่องจักรกลทางการเกษตร สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด ได้รับการส่งเสริมช่องทางการตลาด และพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสมาชิกสหกรณ์ ชนิดสินค้า ได้แก่ ข้าว และ ทุเรียน


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 109 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” เป้าหมาย / พื นที่ด าเนินงานโครงการ สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเครื่องจักรกลทางการเกษตร จ านวน 5 แห่ง 8 รายการ ดังนี้ ที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รายการอุปกรณ์/ เครื่องมือ ที่ได้รับการสนับสนุน จ านวน หน่วยนับ รัฐอุดหนุน (บาท) 1. สหกรณ์การเกษตร นิคมฯล าน้ าน่าน จ ากัด อ าเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ เครื่องผสมอาหารสัตว์ รุ่น 2,000 กิโลกรัม 2 เครื่อง 602,000 เครื่องสับย่อยซากพืช 2 ระบบเอนกประสงค์ พร้อมเครื่องยนต์ดีเซล 2 เครื่อง 252,000 2. สหกรณ์การเกษตร เมืองตรอน จ ากัด อ าเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ รถด านา 1 คัน 496,300 เครื่องเกี่ยวนวดข้าว 1 คัน 1,816,500 3. สหกรณ์การเกษตร เมืองลับแล จ ากัด อ าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ รถด านา 1 คัน 496,300 เครื่องเกี่ยวนวดข้าว 1 คัน 1,932,000 รถตักล้อยาง ขนาด ไม่น้อยกว่า 150 แรงม้า 1 คัน 1,750,000 4. สหกรณ์นิคมพิชัย พัฒนา จ ากัด อ าเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เครื่องเกี่ยวนวดข้าว 1 คัน 1,932,000 รถตักล้อยาง ขนาด 140 แรงม้า 1 คัน 1,540,000 10,817,100 2. ผลการด าเนินงาน ที่ สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร รายการอุปกรณ์/ เครื่องมือ ที่ได้รับการสนับสนุน การใช้ประโยชน์ ค่าบริการ ของ สหกรณ์ ค่าบริการ ภาคเอกชน จ านวน ไร่/ตัน/ ครั ง จ านวน ราย 1. สหกรณ์การเกษตร นิคมฯล าน้ าน่าน จ ากัด เครื่องผสมอาหารสัตว์ รุ่น 2,000 กิโลกรัม 2 ตัน 2 ราย ครั้งแรกไม่ คิด ค่าบริการ ครั้งต่อไป ตันละ 50 บาท 100 บาท/ตัน


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 110 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” เครื่องสับย่อยซากพืช 2 ระบบเอนกประสงค์ พร้อมเครื่องยนต์ดีเซล 16 ไร่ 10 ราย ไม่คิด ค่าบริการ ไม่มี ให้บริการ ในพื้นที่ 2. สหกรณ์การเกษตร เมืองตรอน จ ากัด รถด านา 370 ไร่ 52 ราย 1,000 บาท/ไร่ 1,100 บาท/ไร่ เครื่องเกี่ยวนวดข้าว 4,000 ไร่ 99 ไร่ 525 ราย 11 ราย 430 บาท/ไร่ 650 บาท/ไร่ 450 บาท/ไร่ 700 บาท/ไร่ 3. สหกรณ์การเกษตร เมืองลับแล จ ากัด รถด านา - - 1,000 บาท/ไร่ 1,200 บาท/ไร่ เครื่องเกี่ยวนวดข้าว 2,114 ไร่ 181 ราย 430 บาท/ไร่ 450 บาท/ไร่ รถตักล้อยาง ขนาด ไม่น้อยกว่า 150 แรงม้า - - - - 4. สหกรณ์นิคมพิชัย พัฒนา จ ากัด เครื่องเกี่ยวนวดข้าว 453 ไร่ 24 ราย 400 บาท/ไร่ 450 บาท/ไร่ รถตักล้อยาง ขนาด 140 แรงม้า 7,274. 59 ตัน 974 ราย 120 บาท/ตัน 200 บาท/ตัน 3.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์ที่ได้รับการบริการสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ร้อยละ 10 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเครื่องจักรกลเพื่อให้สมาชิกสหกรณ์ได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มี


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 111 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ 1. สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ล าน้ าน่าน จ ากัด เครื่องผสมอาหารสัตว์ รุ่น 2000 กิโลกรัม เครื่องสับย่อยซากพืช 2 ระบบอเนกประสงค์ พร้อมเครื่องยนต์ดีเซล 2. สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอนจ ากัด รถด านา เครื่องเกี่ยวนวดข้าว 3. สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแลจ ากัด รถด านา เครื่องเกี่ยวนวดข้าว


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 112 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” รถตักล้อยาง ขนาดไม่น้อยกว่า 150 แรงม้า 4. สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จ ากัด เครื่องเกี่ยวนวดข้าว รถตักล้อยาง ขนาด 140 แรงม้า โครงการ การส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าและการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร ทดแทนแรงงาน (ในเขตนิคมสหกรณ์พิชัย) “โครงการเพิ่มประสิทธิภาพทางการตลาด การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตรทดแทนแรงงานของ สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จ ากัด” 1. เครื่องเกี่ยวนวดข้าว ขนาดถังเก็บจุข้าวได้ 2.5 ตัน จ านวน 1 คัน 2. รถตักล้อยาง ขนาดไม่น้อยกว่า 140 แรงม้า จ านวน 1 คัน 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ: 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิต การแปรรูปสินค้าเกษตร ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 113 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 2. เพื่อรวบรวมผลิตผลทางการเกษตร (ข้าว) จากสมาชิกสหกรณ์ 3. เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี จะมีผลโดยตรงต่อการเพิ่มรายได้ของสมาชิกในด้านการผลิต และการ สร้างตลาดจ าหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพ 4. เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพขบวนการห่วงโซ่อุปทาน ในระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ (ข้าว) ตาม นโยบายของคณะรัฐมนตรี 2. ผลการด าเนินงาน 1. สร้างความเข้มแข็งในระบบการส่งเสริมสหกรณ์ในการเพิ่มอ านาจการต่อรองให้กับเกษตรกร สมาชิก สหกรณ์ในการจ าหน่ายผลิตผลทางการเกษตร 2. สหกรณ์เป็นแหล่งจ าหน่ายผลิตผลทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่มีคุณภาพ 3 เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรสมาชิกในด้านการผลิต 3.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ขยายผลปริมาณธุรกิจการตลาดได้เพิ่มขึ้น ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์มีผลผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน เกิดความเข้มแข็งในการรวมกลุ่มผู้ผลิต 2. สมาชิกสหกรณ์ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการผลผลิต 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี- 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ เครื่องเกี่ยวนวดข้าว ขนาดถังเก็บจุข้าวได้ 2.5 ตัน


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 114 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” รถตักล้อยาง 140 แรงม้า รวบรวมผลผลิต โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดตั้งธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร ประจ าปี ๒๕๖๑” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ ๑. สนับสนุนสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการธนาคารข้าวผ่านระบบสหกรณ์ ให้การบริหารจัดการธนาคารสินค้า เกษตรส่งเสริมให้สมาชิก มีการร่วมกันผลิต การฝากสินค้าเกษตร มีการลดต้นทุน การผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และมีการสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร ๒. เพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการธนาคารข้าวผ่านระบบสหกรณ์ มีการด าเนินกิจกรรมครอบคลุม การด าเนินชีวิตของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ เป้าหมาย ผู้เข้าร่วมประชุม จ านวน 100 คน ประกอบด้วย เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด ซึ่งเป็นเกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการธนาคารข้าวผ่านระบบสหกรณ์ประจ าปี 2561 พื นที่ด าเนินงานโครงการ สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด 2. ผลการด าเนินงาน จัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเพิ่มขีดความสามารถธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร ประจ าปี 2561” ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้สหกรณ์ด าเนินการธนาคารข้าว ให้ครอบคลุมการด าเนินชีวิตของสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการตั้งแต่ต้นน้ า กลางน้ า ปลายน้ า เพื่อส่งเสริม คุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนต่อไป 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ ที่เข้าร่วมโครงการธนาคารข้าว ได้เข้าประชุม จ านวน 100 คน ตามเป้าหมาย


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 115 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการธนาคารข้าวผ่านสหกรณ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของธนาคารสินค้าอย่าง เป็นระบบและเข้าใจในกระบวนการอย่างแท้จริง มีการแลกเปลี่ยนสินค้า มีคลังอาหารส ารองในชุมชน สามารถ ลดต้นทุนการผลิต มีแหล่งเมล็ดพันธ์ส ารองไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน และสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือน ช่วยยก ฐานะความเป็นอยู่ของสมาชิกให้ดีขึ้นได้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข วิธีปฏิบัติในการด าเนินการธนาคารสินค้าเกษตรยังไม่ชัดเจน และสหกรณ์ไม่มีเงินทุนในการด าเนิน กิจกรรมเกี่ยวกับธนาคารสินค้าเกษตร 5. ภาพแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดตั งธนาคารข้าวในสถาบัน เกษตรกร ประจ าปี2561”


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 116 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดตั้งธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร ประจ าปี ๒๕๖๑” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและจัดตั้งธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกรกร 2. ส่งเสริมให้สถาบันเกษตรกรมีการด าเนินการบริหารจัดการในรูปแบบของธนาคารสินค้าเกษตร เพื่อ เป็นแหล่งอาหาร แหล่งส ารองเมล็ดพันธุ์ แหล่งให้บริการปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกรสมาชิกซึ่งจะช่วยลด ต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ เป้าหมาย ผู้เข้าร่วมประชุม จ านวน 320 คน ประกอบด้วย เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ ซึ่งเป็นเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการการธนาคารข้าวผ่านสหกรณ์ประจ าปี 2561 ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์จ ากัด จ านวน 110 คน 2. สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จ ากัด จ านวน 50 คน 3. สหกรณ์การเกษตรบ้านหม้อ จ ากัด จ านวน 20 คน 4. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าคอรุม จ ากัด จ านวน 20 คน 5. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินหนองกอก จ ากัด จ านวน 20 คน 6. สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จ ากัด จ านวน 100 คน พื นที่ด าเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์จ ากัด 2. สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จ ากัด 3. สหกรณ์การเกษตรบ้านหม้อ จ ากัด 4. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าคอรุม จ ากัด 5. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินหนองกอก จ ากัด 6. สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จ ากัด 2. ผลการด าเนินงาน จัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดตั้งธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร ประจ าปี 2561” ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อสนับสนุนเกษตรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการธนาคารข้าว ให้มี ความรู้ในการบริหารจัดการสินค้าเกษตร การแลกเปลี่ยนสินค้า การฝากสินค้าเกษตร การยืมสินค้าทางการ เกษตร และการยืมปัจจัยการผลิตซึ่งท าให้สามารถลดต้นทุนในการผลิตให้แก่เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ได้


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 117 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ ที่เข้าร่วมโครงการธนาคารข้าว ได้เข้าประชุม จ านวน 320 คน ตามเป้าหมาย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการธนาคารข้าว มีความรู้ความเข้าใจในการด าเนินการบริหารจัดการธนาคารข้าว ผ่านระบบสหกรณ์ มีคลังอาหารส ารองในชุมชน เกษตรกรสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือน ลดต้นทุนการผลิต ตลอดมีแหล่งเมล็ดพันธุ์ในการผลิตสินค้าเกษตร ซึ่งจะส่งผลให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้นอย่างยั่งยืน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข วิธีปฏิบัติในการด าเนินการธนาคารสินค้าเกษตรยังไม่ชัดเจน และสหกรณ์ไม่มีเงินทุนในการด าเนิน กิจกรรมเกี่ยวกับธนาคารสินค้าเกษตร 5. ภาพแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ 4. ภาพการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดตั งธนาคารข้าวในสถาบัน เกษตรกร ประจ าปี2561”


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 118 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบอุทกภัย ปี ๒๕๕๙/๖๐ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการช่วยเหลือบรรเทาภาระหนี้สิน และลดต้นทุนของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบ อุทกภัย เป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่ตามประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณี ฉุกเฉิน (อุทกภัย) ปี 2559/60 ตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 ไปจนกว่าจะสิ้นสุดฤดูฝนของภาคใต้ (ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2560) 2. ผลการด าเนินงาน 1. ส ารวจข้อมูลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ (อุทกภัย) ตามเงื่อนไขโครงการ มีสหกรณ์จ านวน 1 แห่ง แจ้งความประสงค์เข้าร่วมโครงการ ได้แก่สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้า บ้านดอนโพ จ ากัด สมาชิกได้รับผลกระทบจ านวน 43 ราย 2. ตรวจสอบเอกสารประกอบการขอเบิกชดเชยดอกเบี้ยมาตรการฯ ของสหกรณ์ฯ พบว่าสมาชิกมี คุณสมบัติและเงื่อนไขตามคู่มือที่โครงการก าหนดจ านวน 38 ราย มูลหนี้ต้นเงินจ านวน 410,508.17 บาท ดอกเบี้ยชดเชยจ านวน 3,143.03 บาท 3. จ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยแทนสมาชิกให้แก่สถาบันเกษตรกร 4. ตรวจสอบ ติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดยสหกรณ์ฯ ได้ด าเนินการจ่ายเงินชดเชย ดอกเบี้ยที่ได้รับให้กับสมาชิกเรียบร้อยแล้ว 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านดอนโพ จ ากัด ได้รับการช่วยเหลือด้านการชดเชย ดอกเบี้ยจ านวน 38 ราย ดอกเบี้ยชดเชยที่เบิกจ่ายให้กับสมาชิกจ านวน 3,143.03 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกได้รับการช่วยเหลือบรรเทาภาระหนี้สิน และลดต้นทุนของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ภายหลังจากประสบอุทกภัย 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข งบประมาณเพื่อน าไปชดเชยดอกเบี้ยให้กับสมาชิก มาล่าช้า ไม่ตรงกับห้วงระยะเวลาของการฟื้นฟูหรือ เยียวยาให้กับสมาชิก


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 119 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ เกษตรอินทรีย์ (ในเขตนิคมสหกรณ์พิชัย) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ: วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาสมาชิกสหกรณ์ให้มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2. เพื่อให้มีแหล่งผลิตสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น 3 เพื่อพัฒนาเครือข่ายและเชื่อมโยงธุรกิจเกษตรอินทรีย์ในสถาบันเกษตรกร เป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จ ากัด จ านวน 25 ราย พื นที่ด าเนินงานโครงการ: แปลงเกษตรกรสมาชิกในพื้นที่นิคมสหกรณ์ จ านวน 25 ราย 2. ผลการด าเนินงาน 1. สมาชิกสหกรณ์มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตสินค้าเกษตรตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. มีแหล่งผลิตสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น 3.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ 5 ปี(ปี2560-2564) ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์มีความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นและสามารถน าไปปรับใช้ในการผลิตสินค้าเกษตร อินทรีย์ให้ได้ตามระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ พัฒนาและเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ผลิตให้เข้มแข็ง มีความเป็นอยู่ที่ ดีขึ้นทั้งด้านรายได้ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ อาหารและความมั่นคงของอาหาร และด้านสังคมได้อย่างยั่งยืน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี–


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 120 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 5. ภาพแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ อบรมและฝึกปฏิบัติ โครงการ เกษตรอินทรีย์ (ในเขตนิคมสหกรณ์ฟากท่า) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ: วัตถุประสงค์ เพื่อให้สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้มีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการท าเกษตรอินทรีย์และการผลิต สินค้าระบบอินทรีย์ มีความรู้ด้านระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ การพัฒนาธุรกิจเกษตรอินทรีย์ มีองค์ความรู้ ด้านการสร้างเครือข่ายการตลาดธุรกิจเกษตรอินทรีย์ มีการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตภาคเกษตรเคมีเป็น เกษตรอินทรีย์ เพื่อผลักดันให้สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการ เกี่ยวกับการเชื่อมโยงตลาดเกษตรกร เป้าหมาย ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์นิคมฟากท่า จ ากัด จ านวน 45 ราย ที่ได้รับการคัดเลือกเข้า ร่วมโครงการจากปี พ.ศ. 2560 จ านวน 25 ราย และปี พ.ศ. 2561 จ านวน 20 ราย พื นที่ด าเนินโครงการ สมาชิกในเขตนิคมสหกรณ์ฟากท่า อ าเภอฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์ พื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการ จ านวน 25 ไร่


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 121 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 2. ผลการด าเนินงาน ด าเนินการจัดการฝึกอบรม ทั้งสมาชิกรายเก่า จ านวน 25 รายและสมาชิกรายใหม่ จ านวน 20 ราย รวม 45 ราย เพื่อเตรียมความพร้อมเป็นเกษตรอินทรีย์ขั้นที่ 1 จัดอบรม จ านวน 2 ครั้ง และพาสมาชิกราย ใหม่ จ านวน 20 ราย ที่สมัครใหม่ จ านวน 20 ราย ศึกษาดูงาน ณ สหกรณ์นิคมศรีส าโรง จ ากัด และแปลง สมาชิกสหกรณ์ที่ผลิตผักอินทรีย์ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพิจารณาตามมาตรฐานกลุ่มเกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP พืช มะขามหวาน แล้ว จ านวน 6 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการได้น าความรู้มาประยุกต์และปฏิบัติใช้ สามารถผลิตสินค้า เกษตรปลอดภัย จากสารพิษ สินค้าเกษตรอินทรีย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถปรับใช้พื้นที่ทางการเกษตรได้อย่างเหมาะสม และประกอบอาชีพเกษตรกรได้อย่างมีศักยภาพ โดยสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนและได้รับการรับรอง มาตรฐานจากชุมชน หรือ PGS 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข อุปสรรค ของการด าเนินการพื้นที่ส่วนใหญ่ของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการกระจายอยู่ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ฟากท่า ไม่ได้อยู่รวมกันเป็นจุดเดียว ท าให้ยากต่อการผลักดัน เพราะมีพื้นที่ข้างเคียงที่ยังคงใช้สารเคมี 5. ภาพแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 122 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” ภาพกิจกรรมการอบรมและการศึกษาดูงาน ณ สหกรณ์นิคมศรีส าโรง จ ากัด โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ประจ าปี ๒๕๖๑ และแปลงใหญ่ปี ๒๕๕๙” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. สนับสนุนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบสหกรณ์ ให้มีการ บริหารจัดการกลุ่มร่วมกันผลิต มีการลดต้นทุน การผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และมีการสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้า เกษตร 2.เพื่อส่งเสริมให้ผลผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบ สหกรณ์มีตลาดรองรับและมีการช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้นภายใต้การบรูณาการของหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน เป้าหมาย ผู้เข้าร่วมประชุม จ านวน 340 คน ประกอบด้วย เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ ซึ่งเป็นเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ปี 2559 (แปลงใหญ่ข้าว) ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จ ากัด จ านวน 50 คน


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 123 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 2. สหกรณ์การเกษตรทองแสนขัน จ ากัด จ านวน 50 คน 3. สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด จ านวน 140 คน 4. สหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์ จ ากัด จ านวน 100 คน พื นที่ด าเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จ ากัด 2. สหกรณ์การเกษตรทองแสนขัน จ ากัด 3. สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด 4. สหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์ จ ากัด 2. ผลการด าเนินงาน จัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ประจ าปี 2561 แปลง ใหญ่ ปี 2559 ” ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อสนับสนุนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริม การเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบสหกรณ์ มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกันผลิต มีการลดต้นทุน การผลิต สินค้าที่มีคุณภาพ และมีการสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร เพื่อส่งเสริมให้ผลผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบสหกรณ์มีตลาดรองรับและมีการช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น ภายใต้การบรูณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ ที่เข้าร่วมโครงการการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ปี 2559 (แปลงใหญ่ ข้าว) ได้เข้าประชุม จ านวน 340 คน ตามเป้าหมาย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบสหกรณ์ มีความรู้ ความเข้าในในการพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร มีการบริหารจัดการร่วมกัน และร่วมกันจ านวนหน่าย สินค้าโดยวิธีการสหกรณ์ และเกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตการตลาดระหว่าง เกษตรกร สหกรณ์ ภาครัฐ และเอกชน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี–


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 124 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 5. ภาพแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพการประชุมเชิงปฏิบัติงาน “การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ประจ าปี 2561 แปลงใหญ่ปี 2559” โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ประจ าปี ๒๕๖๐ และปี ๒๕๖๑” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ ๑. สนับสนุนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบสหกรณ์ ให้มีการ บริหารจัดการกลุ่มร่วมกันผลิต มีการลดต้นทุน การผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และมีการวางแผนการผลิตร่วมกัน ๒.เพื่อส่งเสริมให้ผลผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบ สหกรณ์มีตลาดรองรับและมีการช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้นภายใต้การบรูณาการของหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 125 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” เป้าหมาย ผู้เข้าร่วมประชุม จ านวน 1,865 คน ประกอบด้วย เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ซึ่งเป็น เกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ปี 2560 และปี 2561 ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์จ ากัด จ านวน 453 คน 2. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านโคกหม้อ จ ากัด จ านวน 30 คน 3. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าคอรุม จ ากัด จ านวน 60 คน 4. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านท้ายวัดพญาปันแดน จ ากัด จ านวน 40 คน 5. สหกรณ์การเกษตรท่าพญา จ ากัด จ านวน 60 คน 6. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านโรงหม้อ จ ากัด จ านวน 30 คน 7. สหกรณ์นิคมพิชัยภูเบนทร์ จ ากัด จ านวน 30 คน 8. สหกรณ์การเกษตรบ้านหม้อ จ ากัด จ านวน 50 คน 9. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านดอนโพ จ ากัด จ านวน 60 คน 10. สหกรณ์การเกษตรเต่าไหใต้จ ากัด จ านวน 60 คน 11. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านวังพะเนียด จ ากัด จ านวน 30 คน 12. สหกรณ์การเกษตรน้ าพี้ จ ากัด จ านวน 52 คน 13. กลุ่มเกษตรกรท านาบ่อทอง จ านวน 60 คน 14. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านแสนขัน จ ากัด จ านวน 30 คน 15. กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านแสนขัน 3 จ านวน 30 คน 16. สหกรณ์การเกษตรทองแสนขัน จ ากัด จ านวน 50 คน 17. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินหนองกอก จ ากัด จ านวน 60 คน 18. สหกรณ์การเกษตรฟากท่า จ ากัด จ านวน 70 คน 19. สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอุตรดิตถ์ จ ากัด จ านวน 40 คน 20. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินนาอิน จ ากัด จ านวน 60 คน 21. สหกรณ์การเกษตรบ้านโคก จ ากัด จ านวน 50 คน 22. สหกรณ์นิคมฟากท่า จ ากัด จ านวน 50 คน 23. สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด จ านวน 64 คน 24. สหกรณ์การเกษตรท่าปลา จ ากัด จ านวน 67 คน 25. สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ล าน้ าน่าน จ ากัด จ านวน 102 คน 26. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านไร่ จ ากัด จ านวน 31 คน 27. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านวังหิน จ ากัด จ านวน 91 คน 28. สหกรณ์ผู้เลี้ยงผึ้งอุตรดิตถ์ จ ากัด จ านวน 55 คน พื นที่ด าเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์จ ากัด 2. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านโคกหม้อ จ ากัด


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 126 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 3. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าคอรุม จ ากัด 4. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านท้ายวัดพญาปันแดน จ ากัด 5. สหกรณ์การเกษตรท่าพญา จ ากัด 6. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านโรงหม้อ จ ากัด 7. สหกรณ์นิคมพิชัยภูเบนทร์ จ ากัด 8. สหกรณ์การเกษตรบ้านหม้อ จ ากัด 9. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านดอนโพ จ ากัด 10. สหกรณ์การเกษตรเต่าไหใต้จ ากัด 11. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านวังพะเนียด จ ากัด 12. สหกรณ์การเกษตรน้ าพี้ จ ากัด 13. กลุ่มเกษตรกรท านาบ่อทอง 14. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านแสนขัน จ ากัด 15. กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านแสนขัน 3 16. สหกรณ์การเกษตรทองแสนขัน จ ากัด 17. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินหนองกอก จ ากัด 18. สหกรณ์การเกษตรฟากท่า จ ากัด 19. สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอุตรดิตถ์ จ ากัด 20. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินนาอิน จ ากัด 21. สหกรณ์การเกษตรบ้านโคก จ ากัด 22. สหกรณ์นิคมฟากท่า จ ากัด 23. สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด 24. สหกรณ์การเกษตรท่าปลา จ ากัด 25. สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ล าน้ าน่าน จ ากัด 26. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านไร่ จ ากัด 27. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านวังหิน จ ากัด 28. สหกรณ์ผู้เลี้ยงผึ้งอุตรดิตถ์ จ ากัด 2. ผลการด าเนินงาน จัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ประจ าปี 2561 แปลง ใหญ่ ปี 2560 ” ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อสนับสนุนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริม การเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบสหกรณ์ มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกันผลิต มีการลดต้นทุน การผลิต สินค้าที่มีคุณภาพ และมีการสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร เพื่อส่งเสริมให้ผลผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบสหกรณ์มีตลาดรองรับและมีการช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น ภายใต้การ บรูณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 127 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ปี 2560 และแปลงใหญ่ปี 61 ได้เข้าประชุม จ านวน 1,865 คน ตามเป้าหมาย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ผ่านระบบสหกรณ์ มีความรู้ ความเข้าในในการพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร มีการบริหารจัดการร่วมกัน และร่วมกันจ านวนหน่าย สินค้าโดยวิธีการสหกรณ์ และเกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตการตลาดระหว่าง เกษตรกร สหกรณ์ ภาครัฐ และเอกชน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี- 5. ภาพแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพการประชุมเชิงปฏิบัติงาน “การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ประจ าปี 2560 และปี 2561” โครงการ การพัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ ๒. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องด้านการผลิต การแปรรูปและการตลาด ในการประกอบอาชีพ ด้านการเกษตร 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถให้ค าแนะน าและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกรรายอื่นได้


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 128 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีรายได้เพิ่มขึ้น และพัฒนาให้มีคุณสมบัติของเกษตรกรสมาชิกปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ต้นแบบได้ เป้าหมาย 1. สมาชิกหรือทายาทสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์ จ ากัด จ านวน 20 ราย 2. สมาชิกหรือทายาทสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด จ านวน 20 ราย 3. สมาชิกหรือทายาทสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จ ากัด จ านวน 20 ราย 4. สมาชิกหรือทายาทสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้านท้ายวัดพญาปันแดน จ ากัด จ านวน 5 ราย 2. ผลการด าเนินงาน จัดโครงการพัฒนาสมาชิกสหกรณ์เป็นสมาชิกปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ประกอบด้วยสมาชิกและทายาทสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์ จ ากัด สหกรณ์ การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรบ้านท้ายวัดพญา ปันแดน จ ากัด จ านวนทั้งสิ้น 65 คน โดยมีวิทยากรจากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มาให้ความรู้ใน เนื้อหาวิชา อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ และการด าเนินธุรกิจในรูปแบบสหกรณ์เทคโนโลยีการเกษตร ด้านการผลิต การลดต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ และการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร และ การตลาดสู่ผู้บริโภค อบรมในวันที่ 21 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ อ าเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จ ากัด ได้รับร่วมกิจกรรมปรับแนวคิดเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็น Smart Farmer โดยศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ วิเคราะห์และประเมินศักยภาพของ Smart Farmer เพื่อสร้างความสามารถการบริหารจัดการ และเข้ารับการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อปรับเปลี่ยนแนวคิดเพื่อ ก้าวเข้าสู่การเป็น Smart Farmer ระหว่างวันที่ 29 ถึง 31 สิงหาคม 2561 ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ สองสลึง อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์และทายาทสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ Smart Farmer ประจ าปี 2561 จ านวน 65 ราย มีรายได้ไม่ต่ ากว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี จ านวน 44 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์และทายาทสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ Smart Farmer ได้รับความรู้ด้านการผลิต การ แปรรูปและการตลาด ในการประกอบอาชีพท านา และท าสวน และสามารถให้ค าแนะน าและถ่ายทอด เทคโนโลยีสู่เกษตรกรรายอื่นได้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์มีเกษตรกรที่ปลูกพืชหลากหลายชนิดในแต่ละพื้นที่ การคัดเลือก เป้าหมายควรพิจารณาจากสมาชิกเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดเป็นหลัก เพื่อผลักดันพืช เศรษฐกิจมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 129 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการพัฒนาสมาชิกสหกรณ์เป็นสมาชิกปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ในวันที่ 21 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่สู่การเป็น Smart Farmer ในระหว่างวันที่ 29–31 สิงหาคม 2561 ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 130 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ บริหารจัดการพื้นที่เกษตรตามแผนที่การเกษตรเชิงรุก (Zoning by Agri-Map) ในเขตนิคมสหกรณ์พิชัย โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนการเกษตรกรตามแผนที่ Agri-Map ในนิคมสหกรณ์ หลักสูตร “การเลี้ยงโคขุนแบบรวมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ ด้วยวิธีการสหกรณ์” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ: 1.เพื่อน าร่องในการปรับเปลี่ยนการท าการเกษตรของสมาชิกสหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จ ากัด ให้เหมาะสม กับพื้นที่ 2. เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่นิคมสหกรณ์ สามารถลดต้นทุนการผลิตและลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 3. เพื่อให้สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการสามารถก าหนดเป้าหมายในการเลี้ยงโคขุนของตัวเองได้ 2. ผลการด าเนินงาน 1. สมาชิกสหกรณ์มีการปรับเปลี่ยนพื้นที่การเกษตรตามแผนที่ Agri-Map 2. สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ สามารถเลี้ยงโคขุนแบบรวมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ ด้วยวิธีการสหกรณ์ อย่างมี ประสิทธิภาพ 3.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ขยายผลการลดพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมตามแผน Agri-Map จาก 500 ไร่เป็น 1,000 ไร่ ภายใน 1 ปี ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกเกิดความมั่นใจ และมีเป้าหมายต่อการเลี้ยงโคขุนแบบรวมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ ด้วยวิธีการ สหกรณ์ ที่ชัดเจนขึ้น 2. สมาชิกสามารถพัฒนาตนเองและเลี้ยงโคขุนแบบรวมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ ด้วยวิธีการสหกรณ์ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. การด าเนินการปรับเปลี่ยนพื้นที่การเกษตรในพื้นที่นิคมสหกรณ์พิชัย ประสบผลส าเร็จตามวัตถุประสงค์ ของนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี–


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 131 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ลูกหญ้าอาหารสัตว์


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 132 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ บริหารจัดการพื้นที่เกษตรตามแผนที่การเกษตรเชิงรุก (Zoning by Agri-Map) ในเขตนิคมสหกรณ์ฟากท่า โครงการการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในเขตนิคมสหกรณ์ฟากท่า 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์ มีความรู้และความเข้าใจเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและตระหนักใน ความส าคัญของการด าเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้น าประยุกต์ใช้ในการประกอบ อาชีพ การด าเนินชีวิตในระดับครัวเรือน ให้สามารถลดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป้าหมาย ผู้สมาชิกสหกรณ์นิคมฟากท่า จ ากัด จ านวน ๓๕ คน พื นที่ด าเนินโครงการ สมาชิกในเขตนิคมสหกรณ์ฟากท่า อ าเภอฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์ 2. ผลการด าเนินงาน : ด าเนินการจัดการฝึกอบรมให้แก่สมาชิกเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและพาสมาชิก ศึกษาดูงาน ณ โครงการศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตรสิรินธร ต าบลเนินมะกอก อ าเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร เพื่อศึกษาแปลงตัวอย่าง 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์ สามารถลดต้นทุนการผลิต ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว มี คุณภาพชีวิตดีขึ้น ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์นิคมฟากท่า จ ากัด มีความรู้ ความเข้าใจ เกิดกระบวนการเรียนรู้ การด าเนินชีวิตตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการประกอบอาชีพได้อย่าง สมดุลและยั่งยืน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี–


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 133 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” ภาพกิจกรรมการอบรมและการศึกษาดูงาน ณ โครงการศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตรสิรินธร ต าบลเนินมะกอก อ าเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร โครงการ “๕ ประสาน สืบสานการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรน าแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่มาปรับใช้ในการด าเนินกิจกรรมทางการเกษตรใน พื้นที่ของตนเองตามความเหมาะสม 2. ผลการด าเนินงาน : 1. ติดตามเยี่ยมเยือนเกษตรกรรายเดิมจ านวน 42 ราย แบ่งเป็นกลุ่มพร้อมมาก 7 ราย พร้อมปานกลาง 32 ราย และกลุ่มพร้อม 3 ราย 2. คัดเลือกเกษตรกรเป้าหมายเพิ่มจ านวน 14 ราย เป็นกลุ่มพร้อมปานกลาง 10 ราย และกลุ่มพร้อม 4 ราย ให้ความรู้ ติดตาม เยี่ยมเยือน เพื่อให้สามารถด าเนินกิจกรรมได้อย่างยั่งยืน 3. จัดเวทีเสวนาร่วม 5 ประสาน เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยมีปราชญ์ ชาวบ้าน ผู้แทนหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตรต าบลวังดิน อ าเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ จ านวน 1 ครั้ง


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 134 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จ านวนเกษตรกรที่ได้รับการแนะน า ส่งเสริมตามขั้นตอนเกษตรทฤษฎีใหม่ จ านวน 56 ราย 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี-


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 135 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และส่งเสริมการรวมกลุ่มให้แก่ประชาชนในพื้นที่ 2. ผลการด าเนินงาน 1. ส่งเสริม พัฒนาอาชีพและการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้ ระบบการอนุรักษ์ดินและน้ า 2. ประชุมคณะท างานขับเคลื่อนนโยบายที่ดินจังหวัดอุตรดิตถ์ คณะท างานส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ (คณะที่ ๓) จ านวน 2 ครั้ง 3. จัดอบรมเกษตรกรเชิงปฏิบัติการ การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ภายใต้โครงการจัดที่ดินท ากินให้ชุมชน ตามนโยบายรัฐบาล ในพื้นที่บ้านน้ าลีต าบลน้ าหมัน อ าเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์จ านวน 1 ครั้ง 3. ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรมต่อเกษตรกรสมาชิกและชุมชน : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการรวมกลุ่ม ระบบสหกรณ์ และศาสตร์พระราชา ไปประยุกต์ใช้ ในการสร้างกิจกรรมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของคนในชุมชน จ านวน 42 ราย 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข แผนงานโครงการของแต่ละหน่วยงานในคณะส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ไม่สอดคล้องกัน ท าให้เป้าหมาย การท างานแตกต่างกัน ขาดการบูรณาการร่วมกัน ประชุมคณะท างานขับเคลื่อนนโยบายที่ดินจังหวัดอุตรดิตถ์ โครงกำรไทยนิยม ยั่งยืน ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ (งบประมำณเพิ่มเติม ปี ๒๕๖๑)


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 136 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” จัดอบรมเกษตรกรเชิงปฏิบัติการ การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อสนับสนุนเกษตรกรในการก่อสร้าง จัดซื้อจัดหา ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานด้านจัดเก็บผลผลิต สินค้าเกษตร รวมถึงปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานและอุปกรณ์อื่นที่จ าเป็น เพื่อการรวบรวม การเก็บรักษาและสร้าง เสถียรภาพด้านราคาในสินค้าข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันส าปะหลัง 2. เพื่อให้สถาบันเกษตรกรเป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตรายใหญ่ของเกษตรกรสมาชิกในการสร้างระบบ กลไกผลผลิตเกินความต้องการของตลาดด้านราคาในสินค้าข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และมันส าปะหลัง ให้ท างาน อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินโครงการ สนับสนุนสหกรณ์ในการก่อสร้าง จัดซื้อจัดหา ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานด้านจัดเก็บผลผลิตสินค้าเกษตร รวมถึงปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานและอุปกรณ์อื่นที่จ าเป็น เพื่อการรวบรวม การเก็บรักษา และสร้างเสถียรภาพ ด้านราคาในสินค้าข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันส าปะหลัง โดยมีเป้าหมายจ านวน 13 สหกรณ์ 31 รายการ ดังนี้ ที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รายการอุปกรณ์/ เครื่องมือที่ต้องการ ขนาด จ านวน หน่วย นับ รัฐอุดหนุน 1 ชุมนุมสหกรณ์เมืองพิชัย จ ากัด ฉาง 1,200 ตัน 1 แห่ง 2,610,000 ลานตาก 3,200 ตรม. 1 แห่ง 1,728,000 2 สหกรณ์การเกษตรทองแสนขัน จ ากัด ลานตาก 2,000 ตรม. 1 แห่ง 1,080,000 3 สหกรณ์การเกษตร ท่าพญา จ ากัด (ระงับการอุดหนุน ส่งคืนงบประมาณ) ลานตาก 4,000 ตรม. 1 แห่ง 2,160,000 โกดัง 1,200 ตัน 1 แห่ง 2,610,000 4 สหกรณ์การเกษตร น้ าปาด จ ากัด โกดัง 1,000 ตัน 1 แห่ง 2,160,000 เครื่องชั่งพร้อม ห้องควบคุมและ โรงคลุม 50 ตัน 1 เครื่อง 805,000 ลานตาก 4,000 ตรม. 1 แห่ง 2,160,000


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 137 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” ที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รายการอุปกรณ์/ เครื่องมือที่ต้องการ ขนาด จ านวน หน่วย นับ รัฐอุดหนุน 5 สหกรณ์การเกษตร ปฏิรูปที่ดินหนองกอก จ ากัด เครื่องชั่งพร้อม ห้องควบคุม 80 ตัน 1 เครื่อง 1,350,000 โกดัง 2,000 ตัน 1 แห่ง 4,500,000 6 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส.อุตรดิตถ์ จ ากัด (ยกเลิกขอรับการสนับสนุน ส่งคืน งบประมาณ) เครื่องสีข้าวโพด 3 ตัน/ชั่วโมง 1 ชุด 225,000 7 สหกรณ์การเกษตร เมืองอุตรดิตถ์ จ ากัด ไซโล 4,000 ตัน 2 ชุด 36,450,000 ลานตาก 8,000 ตรม. 1 แห่ง 3,902,400 รถตักล้อยาง 173 แรงม้า 1 คัน 3,855,600 8 สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จ ากัด ลานตาก 2,450 ตรม. 1 แห่ง 1,323,000 เครื่องชั่งพร้อม ห้องควบคุม (ยกเลิกขอรับการ สนับสนุน ส่งคืน งบประมาณ) 80 ตัน 1 แห่ง 828,600 9 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานี สูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้าน ดอนโพ จ ากัด ฉาง 1,500 ตรม. 1 แห่ง 4,950,000 ลานตาก 4,800 ตรม. 1 แห่ง 2,592,000 10 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานี สูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้าน ท้ายวัดพญาปันแดน จ ากัด ฉาง 1,200 ตัน 1 แห่ง 2,610,000 ลานตาก 4,000 ตรม. 1 แห่ง 2,160,000 11 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วย ไฟฟ้าบ้านวังพะเนียด จ ากัด โกดัง 1,000 ตัน 1 แห่ง 2,205,000 ลานตาก 3,200 ตรม. 1 แห่ง 1,728,000 12 สหกรณ์การเกษตร เมืองลับแล จ ากัด ลานตาก 4,000 ตรม. 1 แห่ง 1,474,300 โกดัง 1,200 ตัน 1 แห่ง 2,610,000 เครื่องชั่งพร้อม ห้องควบคุม 80 ตัน 1 แห่ง 776,900 เครื่องอบลด ความชื้นพร้อม โรงคลุม 350 ตัน 1 แห่ง 24,836,400 13 สหกรณ์การเกษตร ไซโล 1,000 ตัน 1 แห่ง 9,544,500 เมืองตรอน จ ากัด ลานตาก 8,000 ตรม. 1 แห่ง 4,320,000 เครื่องอบลด ความชื้นพร้อม โรงคลุม 240 ตันต่อวัน 1 แห่ง 18,423,000 โกดัง 8,000 ตัน 1 แห่ง 11,869,700 รถตักล้อยาง 173 แรงม้า 1 คัน 3,855,600 งบประมาณทั งหมด 161,703,000


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 138 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” 2. ผลการด าเนินงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอนุมัติงบประมาณ 161,703,000 บาท เป้าหมายให้การ สนับสนุนสหกรณ์ จ านวน 13 แห่ง 31 รายการ มีสหกรณ์แจ้งความประสงค์ยกเลิกไม่รับการสนับสนุน จ านวน 2 แห่ง 2 รายการ งบประมาณ 1,053,600 บาท ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ระงับให้การ สนับสนุน จ านวน 1 แห่ง 2 รายการ งบประมาณ 4,770,000 บาท โดยสหกรณ์ได้ด าเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างของสหกรณ์ ได้ผู้รับจ้างแล้ว จ านวน 11 สหกรณ์ 27 รายการ ส านักงาน สหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ด าเนินการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้สหกรณ์เป็นเงินงบประมาณทั้งสิ้น 154,695,900 บาท ส่งคืนงบประมาณจ านวน 7,007,100 บาท ซึ่งเป็นงบประมาณที่สหกรณ์แจ้งขอ ยกเลิก 1,053,600 บาท ระงับให้การสนับสนุน 4,770,000 บาท และเป็นเงินงบประมาณเหลือจ่ายจาก ผลการจัดซื้อจัดจ้างของสหกรณ์ 1,183,500 บาท รายละเอียดดังนี้ ที่ สหกรณ์ ผลการ สอบราคา/ ประกวดราคา รัฐอุดหนุน สหกรณ์ สมทบ ส่งคืน งบประมาณ ความก้าวหน้าการก่อสร้าง 1 ชุมนุมสหกรณ์ เมืองพิชัย จ ากัด - ฉาง 1,200 ตัน 1 แห่ง 2,894,000 2,604,600 289,400 5,400 เสร็จเรียบร้อยแล้ว - ลานตาก 3,200 ตรม. 1 แห่ง 1,968,000 1,728,000 240,000 - อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 2 สหกรณ์ การเกษตรทอง แสนขัน จ ากัด - ลานตาก 2,000 ตรม. 1 แห่ง 1,045,000 940,500 104,500 139,500 เสร็จเรียบร้อยแล้ว 3 สหกรณ์ การเกษตร ท่าพญา จ ากัด - ลานตาก 4,000 ตรม. 1 แห่ง - - - 2,160,000 - - โกดัง 1,200 ตัน 1 แห่ง - - - 2,610,000 - 4 สหกรณ์ การเกษตร น้ าปาด จ ากัด - โกดัง 1,000 ตัน 1 แห่ง 2,400,000 2,160,000 240,000 - ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 1 จ านวนเงินเบิกจ่าย 905,695 บาท - เครื่องชั่ง พร้อม 916,000 805,000 111,000 - ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 1 จ านวนเงินเบิกจ่าย


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 139 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” ที่ สหกรณ์ ผลการ สอบราคา/ ประกวดราคา รัฐอุดหนุน สหกรณ์ สมทบ ส่งคืน งบประมาณ ความก้าวหน้าการก่อสร้าง ห้องควบคุม และโรงคลุม ขนาด50 ตัน 1 แห่ง 183,200 บาท - ลานตาก 4,000 ตรม. 1 แห่ง 2,600,000 2,160,000 440,000 - เสร็จเรียบร้อยแล้ว 5 สหกรณ์ การเกษตร ปฏิรูปที่ดิน หนองกอก จ ากัด - เครื่องชั่ง พร้อม ห้องควบคุม ขนาด 80 ตัน 1 แห่ง 1,630,000 1,350,000 280,000 - เสร็จเรียบร้อยแล้ว - โกดัง 2,000 ตัน 1 แห่ง 6,929,999 4,500,000 2,429,999 - ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 5 จ านวนเงินเบิกจ่าย 5,544,000 บาท 6 สหกรณ์ การเกษตรเพื่อ การตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.อุตรดิตถ์ จ ากัด - เครื่องสีข้าวโพด ขนาด 3 ตัน/ ชั่วโมง 1 เครื่อง - - - 225,000 - 7 สหกรณ์ การเกษตรเมือง อุตรดิตถ์ จ ากัด - ไซโล 4,000 ตัน 2 ชุด 42,480,150 36,450,000 6,030,150 - ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 4 จ านวนเงินเบิกจ่าย 27,612,097.50 บาท - ลานตาก 8,000 ตรม. 1 แห่ง 4,800,000 3,902,400 897,600 - ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 1 จ านวนเงินเบิกจ่าย 1,200,000 บาท - รถตักล้อยาง 173 แรงม้า 1 คัน 4,590,000 3,855,600 734,400 - ก าหนดส่งมอบวันที่ 27 มกราคม 2562 8 สหกรณ์นิคม พิชัยพัฒนา จ ากัด


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 140 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” ที่ สหกรณ์ ผลการ สอบราคา/ ประกวดราคา รัฐอุดหนุน สหกรณ์ สมทบ ส่งคืน งบประมาณ ความก้าวหน้าการก่อสร้าง - ลานตาก 2,450 ตรม. 1 แห่ง 1,320,000 1,188,000 132,000 135,000 เสร็จเรียบร้อยแล้ว - เครื่องชั่ง พร้อม ห้องควบคุม ขนาด 80 ตัน 1 แห่ง - - - 828,600 - 9 สหกรณ์ผู้ใช้น้ า สถานีสูบน้ า ด้วยไฟฟ้า บ้านดอนโพ จ ากัด - ฉาง 1,500 ตรม. 1 แห่ง 6,680,000 4,950,000 1,730,000 - เสร็จเรียบร้อยแล้ว - ลานตาก 4,800 ตรม. 1 แห่ง 3,997,000 2,592,000 1,405,000 - เสร็จเรียบร้อยแล้ว 10 สหกรณ์ผู้ใช้น้ า สถานีสูบน้ า ด้วยไฟฟ้าบ้าน ท้ายวัดพญาปัน แดน จ ากัด - ฉาง 1,200 ตัน 1 แห่ง 2,896,000 2,606,400 289,600 3,600 เสร็จเรียบร้อยแล้ว - ลานตาก 4,000 ตรม. 1 แห่ง 2,464,000 2,160,000 304,000 - เสร็จเรียบร้อยแล้ว 11 สหกรณ์ผู้ใช้น้ า สถานีสูบน้ า ด้วยไฟฟ้าบ้าน วังพะเนียด จ ากัด - โกดัง 1,000 ตัน 1 แห่ง 2,485,000 2,205,000 280,000 - ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 1 จ านวนเงินเบิกจ่าย 994,000 บาท - ลานตาก 3,200 ตรม. 1 แห่ง 2,628,000 1,728,000 900,000 - เสร็จเรียบร้อยแล้ว 12 สหกรณ์ การเกษตรเมือง ลับแล จ ากัด


รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์| 141 “ซื่อตรงต่อหน้าที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต” ที่ สหกรณ์ ผลการ สอบราคา/ ประกวดราคา รัฐอุดหนุน สหกรณ์ สมทบ ส่งคืน งบประมาณ ความก้าวหน้าการก่อสร้าง - ลานตาก 4,000 ตรม. 1 แห่ง 3,180,000 1,474,300 1,705,700 - อยู่ระหว่างการก่อสร้าง - โกดัง 1,200 ตัน 1 แห่ง 3,100,000 2,610,000 490,000 - ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 1 จ านวนเงินเบิกจ่าย 465,000 บาท - เครื่องชั่ง พร้อม ห้องควบคุม ขนาด 80 ตัน 1 แห่ง 1,200,000 776,900 423,100 - ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 1 จ านวนเงินเบิกจ่าย 300,000 บาท - เครื่องอบลด ความชื้นพร้อม โรงคลุม ขนาด 350 ตัน 1 แห่ง 34,000,000 24,836,400 9,163,600 - ยังไม่ได้ลงนามสัญญาจ้าง 13 สหกรณ์ การเกษตร เมืองตรอน จ ากัด - ไซโล 1,000 ตัน 1 ชุด 10,990,000 9,544,500 1,445,500 - อยู่ระหว่างการก่อสร้าง - ลานตาก 8,000 ตรม. 1 แห่ง 3,800,000 3,420,000 380,000 900,000 ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 2 จ านวนเงินเบิกจ่าย 1,710,000 บาท - เครื่องอบลด ความชื้นพร้อม โรงคลุม ขนาด 240 ตัน 1 แห่ง 20,470,000 18,423,000 2,047,000 - ส่งคืนงบประมาณกรมฯ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2561 - โกดัง 8,000 ตัน 1 แห่ง 17,408,168 11,869,700 5,538,468 - ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 2 จ านวนเงินเบิกจ่าย 42,134,309.20 บาท - รถตักล้อยาง 173 แรงม้า 1 คัน 4,590,000 3,855,600 734,400 - ก าหนดส่งมอบวันที่ 27 มกราคม 2562 193,461,317 154,695,900 38,765,417 7,007,100


Click to View FlipBook Version