รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 37 ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์ที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐานให้ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 80 ร้อยละ 86 41 47.67 2. ยกระดับให้สหกรณ์ผ่านมาตรฐาน ไม่น้อย กว่าร้อยละ 10 ของสหกรณ์ที่ไม่ผ่านมาตรฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ร้อยละ 52 10 19.23 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) สหกรณ์ผ่านมาตรฐาน จำนวน 41 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 47.67 ของสหกรณ์ทั้งหมดที่นำมาจัด มาตรฐาน (2) สหกรณ์ยกระดับผ่านมาตรฐาน จำนวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 19.23 ของสหกรณ์ที่ไม่ผ่าน มาตรฐานในปีที่ผ่านมา - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) สหกรณ์ผ่านมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 47.67 ของสหกรณ์ทั้งหมดที่นำมาจัดมาตรฐาน (2) สหกรณ์สามารถยกระดับมาตรฐานสหกรณ์ได้ ร้อยละ 19.23 ของสหกรณ์ที่ไม่ผ่านมาตรฐาน ในปีที่ผ่านมา - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สหกรณ์ได้รับการส่งเสริมความเข้มแข็งตามศักยภาพให้มีมาตรฐานสหกรณ์ ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน - - - ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน สหกรณ์ส่วนใหญ่ตกมาตรฐานจากการประกอบธุรกิจขาดทุน - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน จัดทำแผนธุรกิจสหกรณ์ตามศักยภาพ
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 38 ภาพกิจกรรม 5) งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่นแห่งชาติ ▪ วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์การประเมินความเข้มแข็งสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรในระดับชั้น 1 และ 2 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ไม่มีข้อบกพร่องและข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีที่ เป็นสาระสำคัญ รวมทั้งต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราช กฤษฎีกาว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2547 ข้อบังคับสหกรณ์ และไม่ฝ่าฝืนกฎหมายอื่น เพื่อให้มีคุณสมบัติ เป็นไปตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ▪ ตัวชี้วัด คัดเลือกส่งรายชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติอย่างน้อยประเภทละ 1 แห่ง ประกอบด้วย สหกรณ์ภาคการเกษตร นอกภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร รวมทั้งสิ้นจำนวน 3 แห่ง ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) ประเภทสหกรณ์ภาคการเกษตร ได้แก่ 1.1) สหกรณ์การเกษตรเต่าไหใต้ จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ 1.2) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านท้ายพญาปันแดน จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัด อุตรดิตถ์ 1.3) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านไร่ จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) ประเภทสหกรณ์นอกภาคการเกษตร ได้แก่ 2.1) สหกรณ์ออมทรัพย์กำนันผู้ใหญ่บ้านอุตรดิตถ์ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 2.2) สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 3) ประเภทกลุ่มเกษตรกรทำนา ได้แก่ 3.1) กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านหาดสองแคว อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ 3.2) กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านแสนขัน3 อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ ประชุมรับทราบผลความก้าวหน้าการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ทุกเดือน
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 39 ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์การคัดเลือก (2) ประชาสัมพันธ์แนวทางการดำเนินการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอุตรดิตถ์เตรียมความพร้อมเพื่อเข้ารับการคัดเลือก (3) พิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย (4) แต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ (5) ประชุมพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด (6) เสนอผลการคัดเลือกให้คณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับภาค ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ คัดเลือกส่งรายชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดีเด่นแห่งชาติอย่างน้อยประเภทละ 1 แห่ง ประกอบด้วยสหกรณ์ภาคการเกษตร นอกภาค การเกษตร และกลุ่มเกษตรกร แห่ง 3 4 125.00 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เสนอผลการคัดเลือกให้คณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับภาค จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ (1) ประเภทสหกรณ์ภาคการเกษตร ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเต่าไหใต้ จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัด และสหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านท้ายพญาปันแดน จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ (2) ประเภทสหกรณ์นอกภาคการเกษตร ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์กำนันผู้ใหญ่บ้านอุตรดิตถ์ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ (3) ประเภทกลุ่มเกษตรกรทำนา ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านแสนขัน 3 อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์การประเมินความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใน ระดับชั้น 1 และ 2 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ไม่มีข้อบกพร่องและข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีที่เป็น สาระสำคัญ รวมทั้งปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราช กฤษฎีกาว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2547 ข้อบังคับสหกรณ์ และไม่ฝ่าฝืนกฎหมายอื่น ทำให้มี คุณสมบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 40 - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเกิดการพัฒนาสามารถรักษาระดับชั้นความเข้มแข็งในระดับชั้น 1 และชั้น 2 ได้ ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน - - - ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ประสบปัญหาในการคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่น เนื่องจากจำนวนกลุ่มเกษตรกรที่มี ระดับความเข้มแข็งในขั้น 1 ค่อนข้างน้อย และกลุ่มเกษตรกรที่มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้น 2 ส่วน ใหญ่มีปัญหาด้านการควบคุมภายใน จึงทำให้กลุ่มเกษตรกรที่มีผลคะแนนสามารถส่งเข้ารับการคัดเลือก กลุ่มเกษตรกรดีเด่นได้มีจำนวนค่อนข้างน้อย - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ ควรปรับปรุงหลักเกณฑ์การให้คะแนนกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นให้สอดคล้องกับบริบทและ สภาพแวดล้อมปัจจุบัน เนื่องจากกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ดำเนินธุรกิจเพียงด้านเดียว เกณฑ์การประเมิน ในบางข้อจึงทำให้เกิดผลต่อการคะแนนรวมของกลุ่มเกษตรกร ภาพกิจกรรม 9 สิงหาคม 2566 ลงพื้นที่ประเมินความพร้อม สหกรณ์การเกษตรเต่าไหใต้ จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ 9 สิงหาคม 2566 ลงพื้นที่ประเมินความพร้อม กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านแสนขัน3 อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 41 16 สิงหาคม 2566 ลงพื้นที่ประเมินความพร้อม สหกรณ์ออมทรัพย์กำนันผู้ใหญ่บ้านอุตรดิตถ์จำกัด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 10 สิงหาคม 2566 ลงพื้นที่ประเมินความพร้อม สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านไร่ จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ 24 สิงหาคม 2566 ประชุมคณะกรรมการ ระดับจังหวัดเพื่อคัดเลือกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 8 ธันวาคม 2566 ผู้ตรวจราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ เขตตรวจราชการที่ 17, 18 พร้อมคณะ ลงพื้นที่ สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านท้ายวัดพญาปันแดน จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อติดตามข้อมูลสำหรับใช้การคัดเลือกสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติในระดับภาค
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 42 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 1) โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจ ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตลอดห่วงโซ่อุปทาน ▪ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจ และองค์กร จำนวน 7 แห่ง 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงินปันผล และเงินเฉลี่ยคืนในธุรกิจเกษตร (รวบรวมและแปรรูป) มูลค่าเพิ่มสูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ 3) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านน้ำอ่าง จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ 4) สหกรณ์การเกษตรบ้านหม้อ จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ 5) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านดอนโพ จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ 6) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าคอรุม จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ 7) สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินหนองกอก จำกัด อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์จัดโครงการอบรมต่อยอดเพิ่มขีดความสามารถในการ ดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ในรูปแบบการอบรมเชิงปฏิบัติการในหลักสูตรที่สหกรณ์เป้าหมายมีความ ประสงค์จะพัฒนา ระยะเวลาการอบรม 1 วัน (2) เชิญวิทยากรจากหน่วยงานภาคเอกชนที่มีความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนิน ธุรกิจของสถาบันเกษตรกรในด้านการเงิน การรวบรวม/แปรรูป หรือด้านอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ใน การจัดทำแผนธุรกิจของสหกรณ์ (3) รายงานผลการดำเนินงานตามที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 43 ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับ การพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจ พัฒนา องค์กร แห่ง 7 7 100 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ สามารถให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงิน ปันผลและเงินเฉลี่ยคืนในธุรกิจเกษตร (รวบรวม และแปรรูป) มูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ร้อยละ 3 3 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้ง 7 แห่ง ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ สามารถ ให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนในธุรกิจเกษตร มูลค่าเพิ่มสูงขึ้น อย่างน้อยร้อยละ 3 - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ รวบรวมและแปรรูปของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตลอดห่วงโซ่อุปทาน - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ การบริหารจัดการ องค์กร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างความเข้มแข็งองค์กรสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (2) สหกรณ์ให้ผลตอบแทนให้แก่สมาชิกต่อราย ในรูปเงินเฉลี่ยคืน (Patronage refund) เพิ่มขึ้น ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 104,700.00 104,700.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการจัดทำแผนตามโครงการฯ เนื่องจากมีแผนการดำเนินงานประจำปี/แผนฟื้นฟูสหกรณ์อยู่แล้ว - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ (1) สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความแตกต่างของแผนดำเนินงานของแต่ละธุรกิจและแผนการ ดำเนินงานประจำปี/แผนฟื้นฟู ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตร
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 44 ภาพกิจกรรม 2) โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร 2.1)กิจกรรมการสนับสนุนการทำการเกษตรปลอดภัยสำหรับสินค้าผักและผลไม้ ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่ออบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices : GAP) หรือเกษตรอินทรีย์ให้กับเกษตรกรสมาชิก 2) เพื่อส่งเสริมให้สถาบันเกษตรกรทำเกษตรปลอดภัยหรือเกษตรอินทรีย์ ▪ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทำการเกษตรปลอดภัย 2 แห่ง 2) จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3) เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 3 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) จัดอบรมหลักสูตร “การจัดทำมาตรฐานเกษตรปลอดภัยเพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม” ให้สหกรณ์เป้าหมายทั้ง 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด และสหกรณ์การเกษตร นิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด โดยให้ความรู้ด้านการสร้างระบบรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นใน การผลิตสินค้าปลอดภัย และด้านการวางแผนการผลิต การตลาด เชื่อมโยงสินค้าเกษตรปลอดภัย ระยะเวลา 1 วัน (2) รายงานผลการดำเนินงานตามที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด จัดอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน เชิงปฏิบัติการ
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 45 ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วย นับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทำ การเกษตรปลอดภัย แห่ง 2 2 100 เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตเกษตร ปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 3 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการยื่นขอใบรับรองมาตรฐานการ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับความรู้ด้านการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) หรือมาตรฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ปฏิบัติหรือเป็นแนวทางในการทำเกษตรปลอดภัย - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับ/ได้ยื่นขอใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตร ที่ดี (GAP) และเป้าหมายมีปริมาณการรวบรวมผลผลิตทางการเกษตรของสมาชิกเพื่อเข้าสู่ตลาดเพิ่ม มากขึ้น รวมทั้งสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายผลผลิตได้ในราคาที่ สูงขึ้น ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 42,300.00 42,300.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการฯ จัดทำแบบบันทึกการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ไม่สม่ำเสมอ ทำให้การยื่นขอต่ออายุใบรับรองไม่ผ่าน หรือเกิดความล่าช้า (2) สำหรับผลผลิตบางชนิดที่ยังไม่มีตลาดรองรับทำให้ต้องขายในราคาทั่วไปเท่ากับผลผลิตปกติที่ ไม่ได้รับการรับรอง จึงทำให้สมาชิกไม่เห็นความสำคัญของการขอใบรับรอง - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ (1) แนะนำ ส่งเสริมให้สมาชิกปลูกผลผลิตที่มีตลาดรองรับใบรับรอง GAP
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 46 ภาพกิจกรรม 2.2) กิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรปลอดภัยในสถาบันเกษตรกรในเขตพื้นที่นิคมสหกรณ์ ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ การผลิตพืชปลอดภัยของสมาชิกสหกรณ์นิคม ให้ไปสู่การได้รับ การรับรองมาตรฐาน GAP หรือ PGS และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ขั้นสูงสุด 2) เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกมีการถ่ายทอดองค์ความรู้แบบมีส่วนร่วม ซึ่งจะก่อให้เกิดการเรียนรู้โดย ธรรมชาติ มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามหลักการสหกรณ์ 3) เพื่อส่งเสริมให้สถาบันเกษตรกรมีส่วนร่วมกับสมาชิกในการทําเกษตรปลอดภัยหรือเกษตรอินทรีย์ ▪ ตัวชี้วัด 1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมทำการเกษตรปลอดภัย 40 ราย จัดอบรมหลักสูตร “การจัดทำมาตรฐานเกษตรปลอดภัยเพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม” ณ สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด จัดอบรมหลักสูตร “การจัดทำมาตรฐานเกษตรปลอดภัยเพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม” ณ สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 47 2) เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตเกษตรปลอดภัยและการผลิตเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 3) มูลค่าธุรกิจสินค้าเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) สหกรณ์นิคมฟากท่า จำกัด อำเภอฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) จัดอบรมให้ความรู้ด้านการทำเกษตรปลอดภัยในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ให้สหกรณ์เป้าหมายทั้ง 2 แห่ง โดยวิธีบรรยาย/อภิปราย ได้แก่ สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จำกัด และสหกรณ์นิคมฟากท่า จำกัด ระยะเวลา 1 วัน (2) รายงานผลการดำเนินงานตามที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทำ การเกษตรปลอดภัย แห่ง 2 2 100 เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตเกษตร ปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 3 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการยื่นขอใบรับรองมาตรฐานการ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) มีฐานข้อมูลสมาชิกผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการเกษตรปลอดภัย สามารถผลักดันให้ ไปสู่การได้รับการรับรองมาตรฐาน และต่อยอดในปีต่อไป - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) เกษตรกรสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติหรือเป็นแนวทางในการทําเกษตรปลอดภัย (2) มีแหล่งผลิตสินค้าปลอดภัย/สินค้าเกษตรอินทรีย์ ที่ผู้บริโภคมั่นใจการผลิต ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 37,200.00 37,200.00 100
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 48 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) บริเวณพื้นที่ที่นิคมสหกรณ์ทั้ง 2 แห่ง มีข้อจำกัด สามารถเพาะปลูกผักผลไม้ได้ไม่กี่ชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผักผลไม้ที่ตลาดยังไม่ได้ให้ความสำคัญกับการมีใบรับรอง GAP - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ (1) แนะนำ ส่งเสริมให้สมาชิกปลูกผลผลิตที่มีตลาดรองรับใบรับรอง GAP ภาพกิจกรรม 3) โครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร ▪ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตรกร เกษตรกรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูปที่มีประสิทธิภาพ ▪ ตัวชี้วัด 1) บุคลากรของสหกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการรวบรวมและแปรรูปของสหกรณ์ ภาคการเกษตร ที่เข้าร่วมโครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบธุรกิจเกษตรผ่านการอบรม จัดอบรมให้ความรู้ด้านการทำเกษตรปลอดภัยในพื้นที่นิคมสหกรณ์ณ สหกรณ์นิคมฟากท่า จำกัด จัดอบรมให้ความรู้ด้านการทำเกษตรปลอดภัยในพื้นที่นิคมสหกรณ์ณ สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จำกัด
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 49 2) ชุดข้อมูลความต้องการสินค้าเกษตร/ผลิตภัณฑ์ ของหน่วยงาน ภาคเอกชน หรือองค์กรอื่น รวมทั้ง สหกรณ์ประเภทอื่น ๆ ที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 1 ชุดข้อมูล/สหกรณ์ ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน ดำเนินการจัดประชุมเพื่อให้สหกรณ์สามารถบริหารจัดการวัตถุดิบจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตร เกษตรกรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูปได้อย่างเป็นระบบ โดย กำหนดจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต ชี้แจงศักยภาพและแผนการ รวบรวมและแปรรูปของสหกรณ์ ระดมความคิดเห็นและข้อมูลจากแหล่งผลิต พร้อมจัดทำแผน บริหารจัดการสินค้าสินค้าจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตร เกษตรกรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เข้าสู่ กระบวนการรวบรวมและแปรรูปอย่างเป็นระบบ โดยเนื้อหาวิชาเกี่ยวกับการบรรยาย ระดมสมอง ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. แผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่ง ผลิต แผน 1 1 100 2. ชุดข้อมูลความต้องการสินค้าเกษตร/ ผลิตภัณฑ์ ของหน่วยงานภาคเอกชน หรือ องค์กรอื่น รวมทั้งสหกรณ์ประเภทอื่นๆ ชุดข้อมูล 1 1 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) แผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต จำนวน 1 แผน (2) ชุดข้อมูลความต้องการสินค้าเกษตร/ผลิตภัณฑ์ ของหน่วยงาน ภาคเอกชน หรือองค์กรอื่น รวมทั้งสหกรณ์ประเภทอื่น ๆ จำนวน 1 ชุดข้อมูล/สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการยกระดับสถาบัน เกษตรกรฯ หรือแผนการกระจายสินค้าเกษตรหรือผลิตภัณฑ์ - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) แผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิตที่ได้จากการประชุม เป็นแผนที่สหกรณ์สามารถ นำไปใช้ได้จริงในการดำเนินงานประจำปี 2566 (2) ชุดข้อมูลที่ได้มีความสมบูรณ์ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการผลิตสินค้าเกษตร หรือผลิตภัณฑ์ได้ - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) แปลงเกษตรกร เกษตรกรสมาชิก และสถาบันเกษตรกร แผนการบริหารจัดการสินค้าเกษตร จากแหล่งผลิตเข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูปมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 50 (2) ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตรกร เกษตรกรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูปที่มี ประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า มีค่าใช้จ่ายในกระบวนการดำเนินการลดลง ส่งผลให้ต้นทุนการผลิต สินค้าเกษตรของสหกรณ์ลดลง ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,200.00 9,200.00 100 ภาพกิจกรรม 4) โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ ▪ วัตถุประสงค์ 1) ส่งเสริมแปลงใหญ่ให้มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน การรวมกลุ่มผลิต การจำหน่ายตลอดห่วงโซ่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูป เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิต 2) สนับสนุนและเชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ให้มีตลาดรองรับที่แน่นอน และเพิ่มช่องทางการจำหน่าย ▪ ตัวชี้วัด 1) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ ไม่น้อยกว่า 25 แปลง จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมจัดทำแผนบริหารจัดการ สินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตรกร เกษตรกรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูป ณ สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายการตลาดของสหกรณ์ภาคการเกษตรกับหน่วยงาน ภาคเอกชนหรือองค์กรอื่น รวมทั้งสหกรณ์ประเภทอื่น ๆ ณ โรงแรมตรัง เขตพระนคร กทม.สถาบันเกษตรกร
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 51 2) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปี 2564 ได้รับการสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงตลาดเครือข่าย ไม่น้อยกว่า 22 แปลง 3) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีต้นทุนการผลิตลดลงเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 1,200 บาท/ไร่ ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 25 แปลง 2) แปลงใหญ่ที่จัดตั้งปี 2564 จำนวน 22 แปลง ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) ได้แนะนำส่งเสริม กำกับ ติดตามกลุ่มเป้าหมายภายใต้โครงการ จำนวน 47 แห่ง (2) ปรับปรุงฐานข้อมูลสมาชิกและข้อมูลแปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในระบบรายงาน ข้อมูลของกรมส่งเสริมการเกษตร (Co-farm) โดยจังหวัดประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน จำนวน 39 แปลง (3) จัดประชุมการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ จำนวน 25 แปลง 125 ราย (4) สนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงตลาด/เครือข่ายระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อในแปลงที่จัดตั้ง ปี 2564 จำนวน 22 แปลง (5) ลงพื้นที่ติดตามการขับเคลื่อนโครงการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรมหลักและ ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการ จำนวน 11 ครั้ง (6) บูรณาการงานและร่วมประชุมเชื่อมโยงตลาด/เครือข่ายเกษตรแบบแปลงใหญ่และศพก.ระดับ อำเภอ และระดับจังหวัดกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 4 ครั้ง ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1.แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการ ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการร่วมกันตลอด ห่วงโซ่ แปลง 25 25 100 2.แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปี 2564 ได้รับการสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงตลาด เครือข่าย แปลง 22 22 100 3.แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีต้นทุน การผลิตลดลงเฉลี่ย บาท 1,200 1,200 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ ไม่น้อยกว่า 25 แปลง (2) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปี 2564 ได้รับการสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงตลาด เครือข่าย ไม่น้อยกว่า 22 แปลง
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 52 - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีต้นทุนการผลิตลดลงเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 1,200 บาท/ไร่ - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปี 2564 ได้รับการสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงตลาด/ เครือข่าย จำนวน 22 แปลง (2) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ จำนวน 25 แปลง 3)งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 42,900.00 42,900.00 100 4) ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) การรวมกลุ่มและการบริหารจัดการแปลงใหญ่ยังไม่เข้มแข็ง (2) พื้นที่ตั้งกลุ่มแปลงใหญ่อยู่ห่างไกล การประสานงานไม่สะดวก (3) เกษตรกร/สมาชิกแปลงใหญ่ไม่ให้ความสนใจและไม่มีความพร้อม (4) งบประมาณไม่เพียงพอในการจัดประชุมแนะนำ ส่งเสริม และประสานงาน (5) แบบรายงาน เอกสารมีกิจกรรมและตัวชี้วัดจำนวนมาก (6) ตัวชี้วัดบางตัวปฏิบัติได้ยาก - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ (1) เพิ่มงบประมาณในการจัดประชุมแนะนำ ส่งเสริม และประสานงาน (2) ลดภาระการรายงาน เอกสาร กิจกรรม และตัวชี้วัด (3) พิจารณาทบตัวชี้วัดบางตัวให้ปฏิบัติได้ง่ายขึ้น ภาพกิจกรรม จัดประชุมโครงการแปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ (ศูนย์ข้าวชุมชนตำบลป่าคาย)
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 53 5) โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้แก่สหกรณ์เกี่ยวกับนวัตกรรม/เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร/ การพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์/การทำสื่อประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาด 2) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ของสหกรณ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ▪ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการแปรรูปผลผลิต จำนวน 6 แห่ง 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรที่เข้าร่วมโครงการมีมูลค่าการจำหน่ายสินค้า/ผลิตภัณฑ์แปรรูปเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ (สินค้า ข้าว) 2) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านดอนโพ จำกัด (สินค้า ข้าว) 3) สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด (สินค้า พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีเอกลักษณ์) 4) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด (สินค้า Re branding เพื่อจำหน่ายตลาดภายในประเทศ) 5) สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ จำกัด (สินค้า เนื้อปลานิลแดดเดียวกึ่งสำเร็จรูป) 6) สหกรณ์ผู้เลี้ยงผึ้งอุตรดิตถ์ จำกัด (สินค้า น้ำผึ้งบรรจุขวด) ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) แนะนำส่งเสริม กำกับ ติดตามกลุ่มเป้าหมายภายใต้โครงการ จำนวน 6 แห่ง (2) เข้าร่วมประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการและกิจกรรมตามโครงการฯ จำนวน 1 ครั้ง (3) จัดอบรมส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการวิเคราะห์ตลาดหรือการแปรรูปหรือการจัดทำบรรจุภัณฑ์ จำนวน 2 แห่ง 30 ราย (4) เข้าร่วมประชุมสร้างเวที/เจรจาทางการค้าเพื่อเชื่อมโยงตลาดระหว่างสหกรณ์ผู้ผลิตและ ผู้ซื้อเพื่อทำแผนการรับซื้อผลผลิตร่วมกัน จำนวน 4 แห่ง (5) ลงพื้นที่ติดตามกิจกรรมการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการวิเคราะห์ตลาดหรือการแปรรูปหรือ การจัดทำบรรจุภัณฑ์ จำนวน 2 แห่ง (6) ติดตามกิจกรรมการเชื่อมโยงเครือข่าย จัดหาตลาด หรือสร้างเวทีเจรจาทางการค้า จำนวน 4 แห่ง (7) ลงพื้นที่ติดตามการขับเคลื่อนโครงการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรมหลักและ ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการ จำนวน 10 ครั้ง
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 54 ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริม และสนับสนุนด้านการแปรรูปผลผลิต แห่ง 6 6 100 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรที่เข้าร่วมโครงการมี มูลค่าการจำหน่ายสินค้า/ผลิตภัณฑ์แปรรูป ร้อยละ 10 10 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและสามารถ จำหน่ายได้จำนวน 6 แห่ง - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้ารับการอบรมมีองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตรสร้างมูลค่า การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า การวางแผนการตลาด การจัดจำหน่าย การส่งเสริมการขายและการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม/เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร/การ พัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์/การทำสื่อประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาด (2) สหกรณ์เป้าหมายได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 68,400.00 68,400.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) โรงสีของสหกรณ์บางแห่งเป็นโรงสีขนาดเล็กทำให้ได้ข้าวสารที่ไม่ได้คุณภาพ (2) สหกรณ์บางแห่งดำเนินการผลิตเมล็ดพันธุ์มากกว่าการแปรรูปข้าวสาร (3) มีการเชื่อมโยงเครือข่ายในการซื้อขายข้าวเปลือก แต่ยังไม่มีตลาดรองรับสินค้าข้าวสารบรรจุถุง (4) การเข้าถึงเทคโนโลยีการแปรรูป สมาชิกปลูกข้าวขาว ทำให้สหกรณ์ไม่มีข้าวหอมมะลิที่ได้ คุณภาพ (5) สหกรณ์บางแห่งขาดบุคลากรที่มีความรู้ด้านการแปรรูป
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 55 ภาพกิจกรรม 6) โครงการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดทำแผนพัฒนาเพื่อรักษาและยกระดับความเข้มแข็งของ สถาบันเกษตรกร” ภายใต้โครงการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อรักษาระดับชั้นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้น 1 อย่างต่อเนื่อง 2) เพื่อยกระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร จากชั้น 2 ไปสู่ชั้น 1 ▪ ตัวชี้วัด 1) ร้อยละ 100 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย สามารถรักษาความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้น 1 2) ร้อยละ 60 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายสามารถยกระดับความเข้มแข็งจากระดับ ชั้น 2 ขึ้นสู่ระดับชั้น 1 จัดอบรมส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการวิเคราะห์ตลาดหรือการแปรรูปหรือการจัดทำบรรจุภัณฑ์ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์นิคมพิชัยพัฒนา จำกัด และสหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านดอนโพ จำกัด กิจกรรมการเชื่อมโยงเครือข่าย จัดหาตลาด หรือสร้างเวทีเจรจาทางการค้า จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด, สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด, สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอุตรดิตถ์จำกัด, และสหกรณ์ผู้เลี้ยงผึ้งอุตรดิตถ์ จำกัด
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 56 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) กิจกรรม : รักษาความเข้มแข็งระดับชั้น 1 จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ (1) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านไร่ จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ (2) สหกรณ์การเกษตรบ้านต้นม่วง จำกัด อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ (3) กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านร้องประดู่ อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) กิจกรรม : ผลักดันและยกระดับชั้น 2 สู่ระดับชั้น 1 จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร บ้านหาดกำแพง จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) คัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำ ด้วยไฟฟ้าบ้านไร่ จำกัด, สหกรณ์การเกษตรบ้านต้นม่วง จำกัด, สหกรณ์การเกษตรบ้านต้นม่วง จำกัด และกลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านร้องประดู่ (2) วิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย (3) จัดทำฐานข้อมูลสถาบันเกษตรกร ข้อมูลสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย (4) จัดประชุมเพื่อรักษาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้น 1 อย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งผลักดันและยกระดับสหกรณ์ที่มีความเข้มแข็ง ระดับชั้น 2 ขึ้นสู่ระดับชั้น 1ให้แก่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย แห่งละ 1 วัน เป้าหมาย 20 รายต่อแห่ง (5) การติดตามประเมินผล (6) รายงานผลตามแบบรายงานและระบบ E-project ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. ร้อยละ 100 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย สามารถรักษาความเข้มแข็งอยู่ใน ระดับชั้น 1 แห่ง 3 3 100 2. ร้อยละ 60 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมายสามรถยกระดับความเข้มแข็งจาก ระดับชั้น 2 ขึ้นสู่ระดับชั้น 1 แห่ง 1 0 0 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) จัดประชุม กิจกรรม : รักษาความเข้มแข็งระดับชั้น 1 จำนวน 3 แห่ง ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 20 ราย (2) จัดประชุม กิจกรรม : ผลักดันและยกระดับชั้น 2 สู่ระดับชั้น 1 จำนวน 1 แห่ง ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 20 - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย สามารถรักษาความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้น 1 จำนวน 3 แห่ง
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 57 - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งเป็นที่พึ่งของสมาชิกและชุมชน ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 47,200.00 47,200.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน สหกรณ์ไม่สามารถผลักดันและยกระดับชั้น 2 สู่ระดับชั้น 1 เนื่องจากสหกรณ์ไม่สามารถจัดจ้าง ผู้ทำบัญชีให้สหกรณ์ได้ตามเงื่อนไขของการประเมินการความคุมภายใน - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ ควรจัดจ้างผู้จัดทำบัญชีที่สามารถทำบัญชีให้เป็นปัจจุบัน และเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจของ สหกรณ์ วางแผนการดำเนินงานให้เป็นระบบ สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านไร่ จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ จัดประชุมในวันที่ 13 มกราคม 2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ สหกรณ์การเกษตรบ้านต้นม่วง จำกัด อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ จัดประชุมในวันที่ 26 กรกฎาคม 2566 ณ ศาลาการเปรียญวัดต้นม่วง อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ และจัดประชุมในวันที่ 13 มกราคม 2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 58 7) โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเพิ่มช่องทางการจําหน่ายสินค้าเกษตรอัตลักษณ์ของสถาบันเกษตรกร ผู้ประกอบการ เกษตรกร เป็นการสร้างโอกาสทางธุรกิจ 2) เพื่อส่งเสริมและประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตรอัตลักษณ์ของสถาบันเกษตรกรให้เกิด การยอมรับและเป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น 3) เพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิตสินค้าอัตลักษณ์ สำหรับการเตรียมความพร้อมการทำการตลาดเชิงรุก ▪ ตัวชี้วัด 1) ผลไม้ของสมาชิกสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและได้รับการรับรอง GI หรือสินค้าเกษตร อัตลักษณ์พื้นถิ่น ไม่น้อยกว่า 2 ชนิดสินค้า 2) ผลไม้ของสมาชิกสถาบันเกษตรกรมีสื่อประชาสัมพันธ์ผลไม้ GI หรือสินค้าเกษตรอัตลักษณ์ ไม่น้อยกว่า 2 ชนิดสินค้า กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านร้องประดู่ อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ จัดประชุมในวันที่ 12 มกราคม 2566 ณ ห้องประชุมกลุ่มเกษตรกรทำนา บ้านร้องประดู่ อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ สหกรณ์การเกษตรบ้านหาดกำแพง จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ จัดประชุมในวันที่ 23 มีนาคม 2566 ณ สหกรณ์การเกษตรบ้านหาดกำแพง จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 59 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สินค้าอัตลักษณ์ของสหกรณ์เป้าหมาย จำนวน 2 แห่ง โดยสำนักงาน สหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นผู้ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นมีมูลค่าเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 3 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นมีมูลค่าเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) สถาบันเกษตรกร เป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมี อัตลักษณ์พื้นถิ่น สร้างมูลค่าเพิ่มทางด้านราคาได้เพิ่มขึ้น - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) ผลไม้อัตลักษณ์ของสถาบันเกษตรกร มีการสร้างมูลค่าเพิ่มและมีช่องทางการจําหน่ายสร้าง การรับรู้กับผู้บริโภคได้ (2) สถาบันเกษตรกร เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมผลไม้ที่มีอัตลักษณ์พื้นถิ่น และสร้าง มูลค่าเพิ่มทางการตลาดได้ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 125,800.00 125,800.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) ผู้รับจ้างผลิตสื่อในจังหวัดมีน้อยราย - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ -ไม่มี-
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 60 ภาพกิจกรรม 8) โครงการสร้างความเชื่อมั่นในสินค้าเกษตรและอาหาร ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเพิ่มช่องทางการจําหน่ายสินค้าเกษตรปลอดภัย สินค้าเกษตรอัตลักษณ์ และสินค้าเกษตรที่มี มาตรฐานให้กับสถาบันเกษตรกร ผู้ประกอบการและเกษตรกร 2) เพื่ออํานวยความสะดวกแก่ผู้บริโภคให้สามารถเข้าถึงสินค้าเกษตรได้ง่ายขึ้น รวมทั้งส่งเสริม และประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตรให้เกิดการยอมรับและเชื่อมั่นจากผู้บริโภคผ่านการตรวจสอบย้อนกลับ ▪ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์ที่ร่วมโครงการมีช่องทางการจําหน่ายสินค้าเพิ่มขึ้น 1 แห่ง 2) สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีการใช้การตรวจสอบย้อนกลับสินค้าเกษตรเพื่อสร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้บริโภค ร้อยละ 10 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด อำเภอเมืองลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) กรมส่งเสริมสหกรณ์จัดโครงการอบรมหลักสูตร “ส่งเสริมการตลาดออนไลน์ สร้างนักขาย ออนไลน์มืออาชีพ” นำเสนอการแปรรูปเม็ดมะม่วงหิมพานต์ สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด การนำเสนออัตลักษณ์ทุเรียนหลง–หลิน ผ่านคลิป VTR สหกรณ์การเกษตรเมือง ลับแล จำกัด
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 61 ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์ที่ร่วมโครงการมีช่องทางการจําหน่าย สินค้าเพิ่มขึ้น แห่ง 2 2 100 สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีการใช้การ ตรวจสอบย้อนกลับสินค้าเกษตรเพื่อสร้างความ เชื่อมั่น ร้อยละ 10 10 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สถาบันเกษตรกร และเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น และสินค้าเกษตรที่มีมาตรฐานเข้าร่วมโครงการ จํานวน 2 แห่ง - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ประชาชนทั่วไปที่สนใจบริโภคสินค้าเกษตรปลอดภัยสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น และสินค้า เกษตรที่มีมาตรฐาน - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สถาบันเกษตรกร/เกษตรกร มีช่องทางจําหน่ายสินค้าเกษตรปลอดภัย สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น และสินค้าเกษตรที่มีมาตรฐานเพิ่มขึ้น นําไปสู่การสร้างการรับรู้และจดจําของผู้บริโภค ทําให้มีการ ซื้อขายที่ต่อเนื่อง สร้างรายได้ที่แน่นอนให้แก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน - - - ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน -ไม่มี- - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ -ไม่มี- ภาพกิจกรรม อบรมหลักสูตร “ส่งเสริมการตลาดออนไลน์ สร้างนักขายออนไลน์มืออาชีพ” รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 3 กุมภาพันธ์ 2566 ณ สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 62 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการดำเนินภารกิจพื้นฐานเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม 1) โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้วยระบบสหกรณ์ ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2) เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ของ ตนเอง 3) เพื่อส่งเสริมสร้างรายได้ให้แก่สมาชิก โดยผ่านกลไกลให้บริการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ▪ ตัวชี้วัด 1) เชิงปริมาณ - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้ค้าง (NPL) ได้รับการส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการ สินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ จำนวน 1,100 แห่ง 2) เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการมีภาระหนี้ค้างลดลงเฉลี่ยร้อยละ 10 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ สหกรณ์ 21 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) รับฟังการชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนโครงการจากกรมฯ (2) แต่งตั้งคณะทำงานฯ / ทีมโค้ช (3) ทีมโค้ชนำข้อมูลการให้เงินกู้แก่สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจากกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ มาวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลต่อคณะทำงานฯ พิจารณาคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย (4) คณะทำงานฯ ประชุมเพื่อพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและรายงานผลการ คัดเลือกให้กรมฯ ทราบ (5) สหกรณ์จังหวัดจัดประชุมชี้แจงโครงการกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย (6) ทีมโค้ชเข้าร่วมอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพทีมงาน ฯ แผนงานยุทธศาสตร์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 63 (7) ทีมโค้ชร่วมกับทีมปฏิบัติการจัดทำแผนการแก้ไขปัญหาหนี้สมาชิก แผนส่งเสริมอาชีพ และ จัดทำคลินิกแก้หนี้ (8) การจัดอบรมโครงการบริหารจัดการหนี้และส่งเสริมอาชีพให้สมาชิกมีรายได้อย่างยั้งยืน (9) ทีมโค้ชร่วมกันทีมปฏิบัติการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขับเคลื่อนตามแผนที่กำหนด (10) ทีมโค้ชติดตามความก้าวหน้ารายงานผลการดำเนินการและปัญหาอุปสรรคให้คณะทำงาน แก้ไขปัญหาหนี้ฯ ทราบในแต่ละเดือน (11) สำนักงานสหกรณ์จังหวัด รายงานผลการดำเนินการให้กรมทราบตามแบบรายงานตาม ระยะเวลาที่กำหนด ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ แต่งตั้งคณะทำงานฯ ประชุมเพื่อพิจารณา แห่ง 22 22 100 คัดเลือกคณะทำงานฯ / ทีมโค้ช แห่ง 22 22 100 ทีมโค้ชร่วมกับทีมปฏิบัติการจัดทำแผนการ แก้ไขปัญหาหนี้สมาชิก แห่ง 22 22 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ที่ได้คัดเลือก มีการส่งเสริมการจัดการหนี้สินที่มีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น (2) หนี้สินของสมาชิกที่มีหนี้ค้างลดลงร้อยละ 10 - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) จำนวนสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้ค้าง (NPL) ได้รับการส่งเสริมให้มีบริหารจัดการสินเชื่อ ที่มีประสิทธิภาพ (2) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีภาระหนี้ค้างลดลงเฉลี่ยร้อยละ 10 - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ (2) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ของตนเอง (3) สามารถสร้างรายได้ให้แก่สมาชิก โดยผ่านกลไกการให้บริการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 29,300.00 29,300.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไม่เข้าใจการเก็บข้อมูลตามแบบรายงานของโครงการ
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 64 (2) สหกรณ์ไม่มีความพร้อมในการส่งเสริมอาชีพเพื่อให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ 1) ให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริม/เจ้าหน้าที่โครงการ (กบส) แนะนำการเก็บข้อมูลตามแบบรายงาน 2) แก้ไขปัญหาหนี้โดยวิธีอื่น ๆ เช่น ขยายเวลาชำระหนี้ ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ เป็นต้น ภาพกิจกรรม 2) โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อภาระหนี้ดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 2) เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนำเงินส่วนที่ได้รับการ ช่วยแหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน ▪ ตัวชี้วัด 1) จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย 2) จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น (ใช้ข้อมูลจากรายงานอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเฉพาะสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ต้นเงินกู้ขอรับการชดเชยไม่เกิน 300,000 บาทแรก จำนาวน 5,991 ราย ประชุมชี้แจงโครงการกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 65 ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตรวจสอบคุณสมบัติของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย (2) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเบิกจ่ายเงินให้กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (3) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดรายงานตามแบบให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตรวจสอบคุณสมบัติของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรเป้าหมาย แห่ง 34 34 100.00 เบิกจ่ายเงินให้กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แห่ง 34 34 100.00 รายงานตามแบบให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ แห่ง 34 34 100.00 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย (2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรลดภาระดอกเบี้ยให้สมาชิก - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนด้านภาระหนี้สิน (2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับโอกาสในการฟื้นฟูอาชีพตนเอง ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบเงินอุดหนุน 3,497,208.36 3,497,208.36 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไม่มีเจ้าหน้าที่ ที่รับผิดชอบโครงการฯ (2) ในการจัดทำเอกสารเบิกเงินมีรายละเอียดที่ต้องตรวจสอบ - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ กลุ่มงานที่รับผิดชอบโครงการ ร่วมกับ เจ้าหน้าที่ส่งเสริม และเจ้าหน้าที่สหกรณ์ควรร่วมกันศึกษา และดำเนินการตามโครงการฯ
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 66 ภาพกิจกรรม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านพลังทางสังคม แผนงานพื้นฐาน แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 1) โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1.1) โครงการส่งเสริมการสหกรณ์ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้กลุ่มชาวบ้านมีความรู้หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการ บริหารจัดการกลุ่มได้อย่างเข้าใจและมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อให้กลุ่มชาวบ้านมีแนวทาง/แผนงานการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ การสร้าง มูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ สามารถพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น เพื่อสร้างความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนของชุมชน โดยใช้รูปแบบการสหกรณ์ ▪ ตัวชี้วัด 1) กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ด้านการสหกรณ์ จำนวน 1 แห่ง ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) สมาชิกกลุ่มอาชีพทำข้าวกระยาสารท หมู่ที่ 5 ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 20 คน (เป็นกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดินลุ่มน้ำลี จังหวัดอุตรดิตถ์ ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์)
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 67 ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยว เช่น กคร. สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ สำนักงาน กปร. และ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพื้นที่ เพื่อแนะนำส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใน พื้นที่โครงการฯ (2) ประสานกับสหกรณ์กลุ่มอาชีพเพื่อแนะนำส่งเสริมกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการฯ (แห่ง) แนะนำส่งเสริมกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (แห่ง) (3) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อหาแนวทางการพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพ ส่งเสริมการรวมกลุ่ม ให้เข้มแข็ง พัฒนาสินค้าเกษตรอันเป็นอัตลักษณ์พื้นถิ่น เพื่อความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนของชุมชนโดยใช้รูปแบบ การสหกรณ์ (กลุ่มฯ ละ ๑ ครั้ง ๆ ละ ๑ วันเป้าหมายแห่งละ ๒๐ คน) (แห่ง/ราย) (4) รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ตามแบบรายงานที่ กคร.กำหนด ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับการส่งเสริม และพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ แห่ง 1 1 100 2. โรงเรียน/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มชาวบ้าน ในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริได้รับการ ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ แห่ง 1 1 100 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริผ่านเกณฑ์ มาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 56 56 100 4. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 3 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ด้านสหกรณ์ จำนวน 1 แห่ง 20 คน - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) ผู้เข้าประชุมดำเนินกิจกรรมกลุ่มในรูปแบบของกลุ่มเกษตรกร/สหกรณ์หรือวิสาหกิจ ชุมชนเพื่อให้กลุ่มเข้มแข็งขึ้น โดยการใช้ระบบบัญชีในการบริการกลุ่ม รวมทั้งวางแผนการ ดำเนินงานของกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ (กระยา สาร)
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 68 - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) ผู้เข้าประชุมสามารถนำความรู้เรื่องการดำเนินกิจกรรมกลุ่มในรูปแบบของสหกรณ์ ไป ประยุกต์ใช้ในการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมในชุมชน (2) ผู้เข้าประชุมสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการบันทึกบัญชีครัวเรือนและบันทึกบัญชีขั้นต้น ไปใช้ในการคำนวณต้นทุนการประกอบอาชีพได้ (3) ผู้เข้าประชุมสามารถนำแนวทางการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม ผลิตภัณฑ์ ไปปรับใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ สามารถขอการรับรองมาตรฐานจาก หน่วยงาน (4) ผู้เข้าประชุมสามารถจัดทำแผนการดำเนินงาน เพื่อให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถและ ทรัพยากรที่มีในชุมชน ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 8,700.00 8,700.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 1) การดำเนินงานโครงการ “รักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน” ในพื้นที่ลุ่มน้ำลียังไม่สามารถ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรได้ครบทุกหมู่บ้านในพื้นที่ เนื่องจากข้อจำกัดในเรื่องของงบประมาณ และความต้องการของเกษตรกรในแต่ละหมู่บ้านไม่เหมือนกัน - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ - ไม่มี - ภาพกิจกรรม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อหาแนวทางเสริมสร้างศักยภาพของ กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 69 1.2) โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน และการส่งเสริมกลุ่มอาชีพ ประชาชนตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (1) กิจกรรมทัศนศึกษาเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์แก่นักเรียนที่เป็น คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนและสมาชิกสหกรณ์ ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปิดโลกทัศน์และสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์และประสบการณ์ด้านอื่น ๆ ให้กับ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์นักเรียนและสมาชิกสหกรณ์ 2) เพื่อให้คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์นักเรียนได้เข้าใจในระบบการทำงานของสหกรณ์จริงใน ชุมชน และสามารถเปรียบเทียบกับสหกรณ์ของนักเรียน ▪ ตัวชี้วัด โรงเรียนในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการ สหกรณ์ จำนวน 2 โรงเรียน ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์นักเรียนและสมาชิกสหกรณ์ของโรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดนยอดโพธิ์ทอง 1 และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบุญธรรม - บุญพริ้ง ตำบลบ่อเบี้ย อำเภอ บ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ โรงเรียนละ 12 คน ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดกิจกรรมทัศนศึกษาในวันที่ 13 มกราคม 2566 สถานที่ทัศนศึกษา ดังนี้ (1) สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ (2) โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร เมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ (3) ศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยทัศนศึกษาในหัวข้อดังนี้ 1) หัวข้อ : การบริหารจัดการธุรกิจในรูปแบบสหกรณ์เยี่ยมชมการดำเนินงานและโครงการ Supermarket ของสหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ วิทยากร : เจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) หัวข้อ : การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการประกอบอาชีพและดำรงชีวิต ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ วิทยากร : เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด 3) หัวข้อ : การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่แหล่งน้ำ วิทยากร : เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 70 ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ โรงเรียนในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ด้านการสหกรณ์ โรงเรียน 2 2 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ โรงเรียนในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการ สหกรณ์ จำนวน 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยอดโพธิ์ทอง 1 และโรงเรียน ตำรวจตระเวนชายแดนบุญธรรม - บุญพริ้ง อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถนำประสบการณ์และระบบการทำงานของสหกรณ์ไปปรับใช้กับกิจกรรม สหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนของตนได้ - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์นักเรียนและสมาชิกสหกรณ์ได้เปิดโลกทัศน์ รวมทั้งมี ประสบการณ์ด้านการสหกรณ์และประสบการณ์ด้านอื่น ๆ (2) คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์นักเรียนได้เข้าใจในระบบการทำงานของสหกรณ์จริงใน ชุมชน และสามารถเปรียบเที่ยบกับสหกรณ์ของนักเรียน ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 14,400.00 14,400.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ ไม่มี
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 71 ภาพกิจกรรม ดูงานการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการประกอบอาชีพและดำรงชีวิตของสมาชิก สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ดูงานการบริหารจัดการธุรกิจในรูปแบบสหกรณ์เยี่ยมชมการดำเนินงาน และโครงการ Supermarket ของสหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ดูงานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 72 (2) กิจกรรมจัดการประกวดการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อกระตุ้นให้โรงเรียนมีส่วนร่วมกับกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 2) เพื่อเชิดชูเกียรติให้กับโรงเรียนที่ได้รับรางวัล 3) เพื่อสร้างขวัญกำลังใจในการทำงานให้กับผู้บริหารและครูสหกรณ์ ▪ ตัวชี้วัด จัดกิจกรรมการประกวดการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ จำนวน 2 กิจกรรม ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยอดโพธิ์ทอง 1 และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบุญธรรม - บุญพริ้ง อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) จัดกิจกรรมประกวดการวาดภาพระบายสีในหัวข้อ “สหกรณ์ของฉัน” นักเรียนชั้น ประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 - 3 (2) และการประกวดเขียนเรียงความในหัวข้อ “สหกรณ์ของฉัน” นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ จัดกิจกรรมการประกวดการจัดการเรียนรู้การ สหกรณ์ กิจกรรม 2 2 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดกิจกรรมการประกวดการจัดเรียนรู้การสหกรณ์ได้จำนวน 2 กิจกรรม - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ นักเรียนมีส่วนร่วมกับกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนทุกระดับชั้น - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สามารถสร้างการเรียนรู้ด้านการสหกรณ์ให้กับนักเรียน และสร้างขวัญกำลังใจในการทำงานให้กับ ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 2,000.00 2,000.00 100
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 73 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ ไม่มี ภาพกิจกรรม ประกวดวาดภาพระบายสีและเขียนเรียงความ วันที่ 30 มิถุนายน 2566 ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยอดโพธิ์ทอง 1 อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ประกวดวาดภาพระบายสีและเขียนเรียงความ วันที่ 30 มิถุนายน 2566 ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบุญธรรม - บุญพริ้ง อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 74 คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดวาดภาพระบายสี วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 ณ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดเขียนเรียงความ วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 ณ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ มอบรางวัลผู้ชนะการประกวดวาดภาพระบายสีและเขียนเรียงความ วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยอดโพธิ์ทอง 1 อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 75 1.3) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นิคมสหกรณ์ฟากท่า ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสนองพระราชดําริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) 2) เพื่อเก็บรวบรวมพันธุ์พืชท้องถิ่น และพันธุ์พืชหายาก เพื่อใช้ในการปลูกรักษา และรวบรวมพันธุ์ไม้ 3) เพื่อดูแล รักษา พัฒนาแปลงสาธิตให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของสมาชิกนิคมสหกรณ์นักเรียน ประชาชนและผู้ที่สนใจ 4) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ให้แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 5) เพื่อให้เกิดฐานข้อมูลทรัพยากร พันธุกรรมพืชในท้องถิ่นของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดําริ 6) เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดําเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดําริฯ สนองพระราชดําริโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ ▪ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับการส่งเสริม และ พัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 2) โรงเรียน/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มชาวบ้าน ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้รับการ ส่งเสริม และพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ 3) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 4) สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น มอบรางวัลผู้ชนะการประกวดวาดภาพระบายสีและเขียนเรียงความ วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบุญธรรม - บุญพริ้ง อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 76 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) แปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ฟากท่า 2) องค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.) โรงเรียนสวนพฤกษาศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่นิคม/ศูนย์สาธิต สหกรณ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) สำรวจ เก็บรวบรวมทรัพยากร จัดเก็บข้อมูลด้านพันธุ์ไม้ (2) ประสานและสำรวจพันธุกรรมพืชร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.) โรงเรียนสวน พฤกษาศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่นิคม/ศูนย์สาธิตสหกรณ์ (3) จัดทำ/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ (4) มอบหมายเจ้าหน้าที่ในนิคมสหกรณ์1 คน เป็นผู้รับผิดชอบแปลงสาธิตพันธุกรรมพืช ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สํารวจ เก็บรวบรวมทรัพยากร จัดเก็บข้อมูล ด้านพันธุ์ไม้ เพื่อจัดทําฐานข้อมูลทรัพยากร แห่ง 6 2 33.33 2. ประสาน และสํารวจพันธุกรรมพืชร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตําบล (อบต.) โรงเรียนสวน พฤกษศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่ และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสํารวจและจดบันทึกลักษณะตาม พันธุกรรมของพืชท้องถิ่นตามรูปแบบของ โครงการ ฯ แห่ง 1 2 200.00 3. จัดทํา/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชใน พื้นที่ ให้พร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรม พืชของชุมชน/สมาชิกสหกรณ์ อยู่เสมอ พร้อม สํารวจพันธุ์พืชในแปลงสาธิต แปลง 1 1 100.00 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) แปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ฟากท่า ได้รับการพัฒนาและปรับปรุง จำนวน 1 แปลง (2) ประสาน และสํารวจพันธุกรรมพืชร่วมกับองค์การบริหารส่วนตําบล (อบต.) โรงเรียนสวน พฤกษาศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสํารวจและจดบันทึกลักษณะตาม พันธุกรรมของพืชท้องถิ่นตามรูปแบบของโครงการ ฯ จำนวน 2 แห่ง
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 77 - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) สมาชิกสหกรณ์ ประชาชน และหน่วยงานอื่นมีความรู้ ความเข้าใจ การใช้ประโยชน์พันธุ์พืชใน แปลงอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และมีแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืช (2) สมาชิกสหกรณ์ ประชาชน และหน่วยงานอื่นมีส่วนร่วมในการสนองพระราชดำริในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รวมทั้งเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมบูรณ์ยั่งยืน - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) สมาชิกสหกรณ์ ประชาชน นักเรียน นักศึกษา มีสถานที่สำหรับศึกษาการอนุรักษ์พันธุกรรม พืช (2) สมาชิกสหกรณ์ ประชาชน และหน่วยงานอื่น มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้สมบูรณ์ยั่งยืน ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 7,600.00 7,600.00 100.00 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอต่อการดำเนินงานและการจัดหาอุปกรณ์ในการบำรุงรักษาพันธุ์พืช (2) บุคลากรยังขาดความรู้ในด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและการอนุรักษ์ธรรมชาติ - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ (1) จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการดำเนินกิจกรรม (2) ให้การศึกษาอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจในโครงการและการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ภาพกิจกรรม พัฒนา และปลูกต้นไม้เพิ่มเติมเพื่อทดแทน ต้นตาย บนแปลงสาธิตของนิคมสหกรณ์ฟากท่า
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 78 นิคมสหกรณ์พิชัย ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสนองพระราชดําริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) 2) เพื่อเก็บรวบรวมพันธุ์พืชท้องถิ่น และพันธุ์พืชหายาก เพื่อใช้ในการปลูกรักษา และรวบรวมพันธุ์ไม้ 3) เพื่อดูแล รักษา พัฒนาแปลงสาธิตให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของสมาชิกนิคมสหกรณ์นักเรียน ประชาชนและผู้ที่สนใจ 4) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ให้แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 5) เพื่อให้เกิดฐานข้อมูลทรัพยากร พันธุกรรมพืชในท้องถิ่นของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดําริ 6) เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดําเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดําริฯ สนองพระราชดําริโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ ▪ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับการส่งเสริม และ พัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 2) โรงเรียน/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มชาวบ้าน ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้รับการ ส่งเสริม และพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ 3) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 4) สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) แปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์พิชัย 2) องค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.) โรงเรียนสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่นิคม/ศูนย์สาธิต สหกรณ์ ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) สำรวจ เก็บรวบรวมทรัพยากร จัดเก็บข้อมูลด้านพันธุ์ไม้ (2) ประสานและสำรวจพันธุกรรมพืชร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.) โรงเรียนสวน พฤกษศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่นิคม/ศูนย์สาธิตสหกรณ์ (3) จัดทำ/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ (4) มอบหมายเจ้าหน้าที่ในนิคมสหกรณ์1 คน เป็นผู้รับผิดชอบแปลงสาธิตพันธุกรรมพืช
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 79 ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สํารวจ เก็บรวบรวมทรัพยากร จัดเก็บข้อมูล ด้านพันธุ์ไม้ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลทรัพยากร ครั้ง 3 3 100 2. ประสาน และสํารวจพันธุกรรมพืชร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) โรงเรียนสวน พฤกษศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่ และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสํารวจและจดบันทึกลักษณะตาม พันธุกรรมของพืชท้องถิ่นตามรูปแบบของ โครงการ ฯ แห่ง 1 1 100 3. จัดทำ/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่ ให้พร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืชของ ชุมชน/สมาชิกสหกรณ์ อยู่เสมอ พร้อมสํารวจ พันธุ์พืชในแปลงสาธิต แห่ง 1 1 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) แปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์พิชัย ได้รับการพัฒนาและปรับปรุง จำนวน 1 แปลง (2) ประสาน และสํารวจพันธุกรรมพืชร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) โรงเรียนสวน พฤกษศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสํารวจและจดบันทึกลักษณะตาม พันธุกรรมของพืชท้องถิ่นตามรูปแบบของโครงการ ฯ จำนวน 1 แห่ง - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) สมาชิกสหกรณ์ ประชาชน และหน่วยงานอื่นมีความรู้ ความเข้าใจ การใช้ประโยชน์พันธุ์พืชใน แปลงอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และมีแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืช (2) สมาชิกสหกรณ์ ประชาชน และหน่วยงานอื่นมีส่วนร่วมในการสนองพระราชดำริในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รวมทั้งเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมบูรณ์ยั่งยืน - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) สมาชิกสหกรณ์ ประชาชน นักเรียน นักศึกษา มีสถานที่สำหรับศึกษาการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (2) สมาชิกสหกรณ์ ประชาชน และหน่วยงานอื่น มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้สมบูรณ์ยั่งยืน ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 7,600.00 7,600.00 100.00
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 80 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอต่อการดำเนินงานและการจัดหาอุปกรณ์ในการบำรุงรักษา พันธุ์พืช (2) บุคลากรยังขาดความรู้ในด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและการอนุรักษ์ธรรมชาติ - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ (1) จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการดำเนินกิจกรรม (2) ให้การศึกษาอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจในโครงการและการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ภาพกิจกรรม 1.4) โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อร่วมจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระรานุเคราะห์ฯ ให้การจัดงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2) เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ให้เป็นที่รู้จัก และให้ความรู้เรื่องหลักการ อุดมการณ์และ วิธีการสหกรณ์ ให้คำปรึกษาเรื่องปัญหาสหกรณ์ และกฎหมายสหกรณ์ 3) เพื่อส่งเสริม พัฒนา ให้ความรู้เรื่องอาชีพแก่เกษตรกร สมาชิกสหกรณ์ และประชาชนที่สนใจ เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้ชุมชนหรือท้องที่ ได้รับทราบการจัดกิจกรรมคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชา นุเคราะห์ฯ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ▪ ตัวชี้วัด 1) จัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ไตรมาสละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง/ปีงบประมาณ 2) มีผู้ร่วมกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ทั้งปี ไม่น้อยกว่า 300 ราย พัฒนาร่วมกับเกษตรกรสมาชิก และเกษตรกรในเขตพื้นที่นิคมสหกรณ์พิชัย พร้อมทั้งสำรวจพันธุ์ไม้และจำนวนต้นไม้บนแปลงสาธิตของนิคมสหกรณ์พิชัย เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชน
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 81 ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ ครั้งที่ 1 โรงเรียนวัดบ้านเกาะ หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านดารา อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2565 จำนวนเกษตรกรมีที่มาใช้บริการ จำนวน 109 คน ครั้งที่ 2 องค์การบริหารส่วนตำบลหาดสองแคว อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 มีจำนวนเกษตรกรที่มาใช้บริการ จำนวน 86 คน ครั้งที่ 3 หอประชุมที่ว่าการอำเภอท่าปลา ตำบลท่าปลา อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2566 มีจำนวนเกษตรกรที่มาใช้บริการ จำนวน 89 คน ครั้งที่ 4 องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแฝก อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2566 มีจำนวนเกษตรกรที่มาใช้บริการ จำนวน 99 คน รวมจำนวนเกษตรกรที่มาใช้บริการ 4 ครั้ง จำนวน 383 คน ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) ประสานงาน ติดต่อ เข้าร่วมประชุม ร่วมกับสำนักงานเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อเตรียมการ จัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ให้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด (2) ดำเนินการกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุ เคราะห์ ฯ ไตรมาสละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง/ปีงบประมาณ ดังนี้ 2.1) ไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม – ธันวาคม 2565) 2.2) ไตรมาสที่ 2 (มกราคม – มีนาคม 2566) 2.3) ไตรมาสที่ 3 (เมษายน – มิถุนายน 2566) 2.4) ไตรมาสที่ 4 (คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ฯ เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่อง ในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เดือนกรกฎาคม 2566) ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ กิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ครั้ง 4 1 100.00 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรในพื้นที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ใน พระราชานุเคราะห์ ฯ เป้าหมายผู้เข้ารับบริการ 300 ราย - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรในพื้นที่ ได้รับคำปรึกษาด้านการสหกรณ์ การจัดตั้งสหกรณ์ การบริหารงานในสหกรณ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบต่าง ๆ เกี่ยวกับสหกรณ์ การให้คำปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับสหกรณ์ การจัดการปัญหาเรื่องราคาผลผลิตในรูปแบบสหกรณ์ การจัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู้เรื่อง การสหกรณ์ และกิจกรรมเสริม อาชิเช่น การตอบปัญหาชิงรางวัล การส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การแจกเมล็ดพันธุ์ผักเพื่อเพาะปลูกในครัวเรือน การแจกสารกำจัดวัชพืช และของใช้ในครัวเรือน มีจำนวนเกษตรกรที่มาใช้บริการ 4 ครั้ง จำนวน 383 คน
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 82 - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) ผู้เข้ารับการบริการได้นำความรู้ที่ได้รับบริการจากคลินิกสหกรณ์ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดให้แก่ ลูกหลาน ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน ภายหลังเข้ารับบริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ (2) ผู้เข้ารับบริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ได้นำความรู้ที่ได้จากการชมนิทรรศการไปปฏิบัติในเรื่อง นำพระบรมราโชวาทไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน และทำอาชีพเสริม พร้อมทั้งนำความรู้เรื่องเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,100.00 9,100.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน (1) ปัจจัยการผลิตที่นำมาแจก ไม่เพียงพอต่อจำนวนผู้เข้าร่วมงาน (2) ผู้เข้าร่วมงานส่วนหนึ่งเป็นผู้นำชุมชน ซึ่งต้องเข้าร่วมพิธีเปิดงาน ทำให้ได้เดินชมงานช้ากว่าผู้อื่น ส่งผลให้ไม่ได้รับปัจจัยการผลิต เนื่องจากปัจจัยการผลิตหมดก่อน (3) เวลาในการจัดงาน ไม่สอดคล้องกับการเดินทางของเกษตรกร - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ (1) ควรเพิ่มปัจจัยการผลิตให้มากขึ้น เพื่อรองรับกับความต้องการของผู้เข้าร่วมงาน (2) ควรแจกปัจจัยการผลิตหลังพิธีการเสร็จก่อน เพราะเกษตรกรที่เข้าร่วมงานทีหลัง อาจพลาด การรับแจกปัจจัย เนื่องจากปัจจัยการผลิตหมดก่อน (3) ควรจัดงานในช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อความสะดวกในการเดินทางของเกษตรกร ภาพกิจกรรม ครั้งที่ 1 โรงเรียนวัดบ้านเกาะ หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านดารา อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2565 มีจำนวนเกษตรกรที่มาใช้บริการ จำนวน 109 คน
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 83 ครั้งที่ 4 องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแฝก อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2566 มีจำนวนเกษตรกรที่มาใช้บริการ จำนวน 99 คน ครั้งที่ 2 องค์การบริหารส่วนตำบลหาดสองแคว อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 มีจำนวนเกษตรกรที่มาใช้บริการ จำนวน 86 คน ครั้งที่ 3 หอประชุมที่ว่าการอำเภอท่าปลา ตำบลท่าปลา อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2566 มีจำนวนเกษตรกรที่มาใช้บริการ จำนวน 89 คน
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 84 1.5) โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่นำแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อื่นสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับองค์กรได้ 2) เพื่อเป็นการเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้นำ แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ▪ ตัวชี้วัด 1) คัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้และ สามารถเป็นแบบอย่างได้ จำนวน 2 แห่ง ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด 3) สหกรณ์ออมทรัพย์ ป.พัน.20 จำกัด 4) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าท้ายวัดพญาปันแดน จำกัด 5) กลุ่มเกษตรกรทำนาบ่อทอง ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกให้นำแนวทางหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานและในการดำเนินชีวิต (2) ประชุมชี้แจงคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้และสามารถเป็นแบบอย่างได้ (3) คัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้และ สามารถเป็นแบบอย่างได้ (4) รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ตามแบบรายงานที่ กคร. กำหนด ▪ ผลสำเร็จ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับการส่งเสริม และพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ แห่ง 1 1 100
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 85 ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 2. โรงเรียน/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มชาวบ้าน ในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริได้รับการ ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ แห่ง 1 1 100 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริผ่านเกณฑ์ มาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 56 56 100 4. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 3 100 - ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (1) มีผลการคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้และสามารถเป็นแบบอย่างได้ จำนวน 2 แห่ง - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ (1) การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปี 2566 จังหวัดอุตรดิตถ์เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่นำแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรอื่นสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับองค์กรได้ (2) การเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้นำ แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุน ให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ (1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการขับเคลื่อนหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน การดำเนินงานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และขับเคลื่อนสู่สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ▪ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ งบดำเนินงาน 1,900.00 1,900.00 100 ▪ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน - ไม่มี - - แนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อเสนอแนะ - ไม่มี -
รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 86 ภาพกิจกรรม 1.6 ) โครงการจัดงาน "7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจำปี 2566" ▪ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน 2) เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนสู่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน ทั่วไปให้เป็นที่แพร่หลาย 3) เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการสหกรณ์ให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา และประชาชน ทั่วไป ▪ ตัวชี้วัด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการไม่น้อยกว่า 80 คน ▪ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ ครูและนักเรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมงาน ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ เจ้าหน้าที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อุตรดิตถ์ ผู้แทนหน่วยงานราชการในจังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้แทนสหกรณ์ใน จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 80 คน ▪ ผลการดำเนินการ - กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน (1) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ จัดประชุมบุคลากรในสังกัดเพื่อร่วมพิจารณาวาง แผนการดำเนินโครงการ (2) แต่งตั้งคณะทำงานและคณะกรรมการประกวดการจัดงาน “7 มิถุนายน วันสหกรณ์ นักเรียน ประจำปี 2566” จังหวัดอุตรดิตถ์ โครงการประชุมคัดเลือกประชุมคณะกรรมการคัดเลือกการประกวดผลงานการ ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปี2566 จังหวัดอุตรดิตถ์โดยที่ประชุมได้คัดเลือกสหกร์ณการเกษตรเมืองตรอน จำกัด และสหกรณ์ผู้ใช้น้ำด้วยสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านท้ายวัดพญาปันแดน จำกัด