The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cpd.utt2558, 2024-01-29 04:00:18

AnnualReport uttaradit 2565

AnnualReport uttaradit 2565

รายงานประจำปี 2565 - 39 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์และ เพื่อแนะนำส่งเสริมการดำเนินงานของสหกรณ์ให้เป็นไปตาม กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และ มติที่ประชุม เพื่อแนะนำส่งเสริมการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ 2. เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อชี้แจงการดำเนินธุรกิจ ของสหกรณ์แบบมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์ 3. เข้าไปแนะนำส่งเสริมการดำเนินงานและร่วมแก้ไข ปัญหากับสหกรณ์เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ 4. เข้าแนะนำให้สหกรณ์วิเคราะห์หนี้แยกอายุหนี้ของสมาชิกและวางแผนออกติดตามเร่งรัดหนี้ออกเยี่ยม เยียนสมาชิกตามบ้านเรือนเพื่อทราบปัญหาการประกอบอาชีพแหล่งที่มาของรายได้-รายจ่ายในครัวเรือนและ วางแผนการส่งเสริมอาชีพเพื่อให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น 5. เข้าแนะนำให้สหกรณ์มีการบริหารจัดการภายในที่ดีโดยสหกรณ์ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับระเบียบของ สหกรณ์อย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันไม่ให้สหกรณ์เกิดความเสียหาย 6. เข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 7. เข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 8. ให้การศึกษาอบรมการสหกรณ์ หลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์แก่สมาชิกและเกษตรกรทั่วไป ด้านการพัฒนาธุรกิจ งานดำเนินการ 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมการดำเนินธุรกิจการตลาด และรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกเพื่อขายเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับสมาชิก 2. ติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาดที่ได้รับเงินอุดหนุน จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. เข้าแนะนำส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิก ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 2. สหกรณ์ใช้อุปกรณ์การตลาดที่ได้รับเงินอุดหนุน จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด


รายงานประจำปี 2565 - 40 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ งานดำเนินการ 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์ให้ดำเนินงานให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และมติที่ประชุม 2. เข้าแนะนำให้สหกรณ์ให้จัดทำเอกสารประกอบการบันทึก บัญชีถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 3. แนะนำให้สหกรณ์ควบคุมค่าใช้จ่ายให้อยู่ภายในวงเงิน งบประมาณที่กำหนดไว้หรือกำหนดงบประมาณให้สอดคล้องกับสถานการณ์การดำเนินงานของสหกรณ์ทุกด้าน 4. ผู้ตรวจการสหกรณ์และทีมตรวจการสหกรณ์เข้าตรวจสอบกิจการและฐานการเงินของสหกรณ์และเข้า ไปแก้ไขปัญหาสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ควรเฝ้าระวังด้านความสามารถของลูกหนี้ในการชำระหนี้ได้ตามกำหนดที่อาจเกิดความเสี่ยงต่อ สภาพคล่อง 2. สหกรณ์ ควรมีการสำรองเงินทุนในอัตราเพิ่มขึ้น และเพิ่มทุนภายในโดยการระดมหุ้นและรับฝากเงิน จากสมาชิก 3. สหกรณ์ควรเฝ้าระวังการบริหารจัดการเกี่ยวกับลูกหนี้โดยติดตามเร่งรัดการชำระหนี้ให้เป็นไปตาม กำหนดสัญญาเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาหนี้ค้างนานและภาระค่าใช้จ่ายอันเกิดจากการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4. คณะกรรมการออกติดตามเยี่ยมเยียนสมาชิกตามบ้านเพื่อพบปะพูดคุยกับสมาชิกและหาแนวทางแก้ไข ปัญหาร่วมกัน 5. สหกรณ์จัดทำสัญญากู้เงินเอกสารถูกต้องครบถ้วนเป็นไปตามระเบียบว่าด้วยเงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้ 6. สหกรณ์มีการสอบทานหนี้สินเงินกู้ เงินรับฝาก ทุนเรือนหุ้นเพื่อยืนยันความถูกต้อง ปัจจัยแห่งความสำเร็จ งานดำเนินการ 1. สหกรณ์ต้องดำเนินงานให้เป็นไปตามข้อบังคับระเบียบ คำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ประกาศ นายทะเบียนสหกรณ์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อไม่ให้สหกรณ์เกิดข้อบกพร่อง 2.สหกรณ์บริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและศรัทธาให้กับสมาชิก 3. สหกรณ์ดำเนินงานต้องกำไร สมาชิกได้เงินปันผล เงินเฉลี่ยคืน เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับสมาชิก 4. สมาชิกสหกรณ์มีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดำเนินงานของสหกรณ์


รายงานประจำปี 2565 - 41 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ดำเนินงานเป็นไปตามข้อบังคับ คำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์และ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. สหกรณ์มีกำไร สมาชิกได้เงินปันผล และเงินเฉลี่ยคืน ทำให้สมาชิกมีความเชื่อมั่นและศรัทธาในองค์กร 3. สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจเพิ่มมากขึ้น 4. สหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและบัญชี ❖กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางอำเภอท่าปลา ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งานที่ดำเนินการ : 1. แนะนำส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรให้เป็นไป ตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่งนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร และมติที่ประชุม 2. แนะนำส่งเสริมให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ 3. แนะนำส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 4. ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มเกษตรกรสู่ความเข้มแข็ง 5. แนะนำส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้ปิดบัญชีและประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน 6. ให้การศึกษาอบรมการสหกรณ์ หลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์แก่สมาชิกและเกษตรกรทั่วไป ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการกลุ่มเกษตรกรและเพื่อแนะนำส่งเสริมการดำเนินงานของ กลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่งนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร และมติที่ประชุม เพื่อแนะนำส่งเสริมการดำเนินธุรกิจ 2. เข้าร่วมประชุมเพื่อชี้แจงการดำเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรแบบมีส่วนร่วมของสมาชิก 3. เข้าไปแนะนำส่งเสริมการดำเนินงานและร่วมแก้ไขปัญหากับกลุ่มเกษตรกรเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุ วัตถุประสงค์ 4. เข้าแนะนำส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5. เข้าแนะนำส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 6. ให้การศึกษาอบรมการสหกรณ์ หลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์แก่สมาชิกและเกษตรกรทั่วไป


รายงานประจำปี 2565 - 42 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ด้านการพัฒนาธุรกิจ งานดำเนินการ 1. เข้าร่ว มประช ุมคณะกรรมการดำเนินการ กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมการดำเนินธุรกิจ 2. เข้าแนะนำส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิก ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. กลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ งานดำเนินการ 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการกลุ่มเกษตรกร แนะนำส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้ดำเนินงานให้ เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่งนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร และมติที่ประชุม 2. เข้าแนะนำให้กลุ่มเกษตรกรให้จัดทำเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 3. แนะนำให้กลุ่มเกษตรกรควบคุมค่าใช้จ่ายให้อยู่ภายในวงเงินงบประมาณที่กำหนดไว้หรือกำหนด งบประมาณให้สอดคล้องกับสถานการณ์การดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรทุกด้าน ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. คณะกรรมการออกติดตามเยี่ยมเยียนสมาชิกตามบ้านเพื่อพบปะพูดคุยกับสมาชิกและหาแนวทางแก้ไข ปัญหาร่วมกัน 2. กลุ่มเกษตรกรจัดทำสัญญากู้เงินเอกสารถูกต้องครบถ้วนเป็นไปตามระเบียบว่าด้วยเงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้ 3. กลุ่มเกษตรกรมีการสอบทานทุนเรือนหุ้นเพื่อยืนยันความถูกต้อง ปัจจัยแห่งความสำเร็จ งานดำเนินการ 1. กลุ่มเกษตรกรต้องดำเนินงานให้เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่งนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร ประกาศนายทะเบียน กลุ่มเกษตรกร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. กลุ่มเกษตรกรบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและศรัทธาให้กับสมาชิก 3. กลุ่มเกษตรกรดำเนินงานต้องกำไร สมาชิกได้เงินปันผล เงิน เฉลี่ยคืน เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับสมาชิก 4. สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดำเนินงานของ กลุ่มเกษตรกร


รายงานประจำปี 2565 - 43 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. กลุ่มเกษตรกรดำเนินงานเป็นไปตามข้อบังคับ คำสั่งนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร ประกาศนายทะเบียน กลุ่มเกษตรกรและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. กลุ่มเกษตรกรมีกำไร สมาชิกได้เงินปันผล และเงินเฉลี่ยคืน ทำให้สมาชิกมีความเชื่อมั่นและศรัทธาในองค์กร 3. สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจเพิ่มมากขึ้น 4. กลุ่มเกษตรกรไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและบัญชี ▪ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์4 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ อำเภอบ้านโคก และอำเภอตรอน จำนวนทั้งหมด 21 แห่ง แยกเป็น สหกรณ์10 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 11 แห่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 38,180.00 38,180.00 100 3. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์ความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 1 อย่างน้อยร้อยละ 88 แห่ง 9 3 33.34 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 24 แห่ง 3 3 100 กิจกรรมที่ดำเนินการ ด้านส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนแนะนำ ส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปี พ.ศ. 2565 แห่ง 21 21 100 2. สหกรณ์ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร่อยละ 90 แห่ง 9 6 54 3. กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในระดับดีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 แห่ง 3 3 100 4. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 8 4 50 5. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 แห่ง 9 7 77.78 6. สหกรณ์และกลุ่มเกษตร จัดทำงบการเงินและปิดบัญชีประจำปี ได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี แห่ง 21 20 95.24


รายงานประจำปี 2565 - 44 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 7. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ประชุมใหญ่ สามัญ ภายใน 150 วัน แห่ง 21 21 100 8. จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น ราย 101 101 100 ด้านการพัฒนาธุรกิจ 1. สหกรณ์ สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนินกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนสมาชิก แห่ง 10 9 90 2. กลุ่มเกษตรกรสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนิน กิจกรรมร่วมกับกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของ จำนวนสมาชิก แห่ง 11 10 90.91 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการดำเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 แห่ง 21 18 85.72 4. สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐาน ขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 แห่ง 9 4 44.45 5. กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 แห่ง 3 5 166.67 6. จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของ สมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 62 แห่ง 13 13 100 7. ผลการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีกำไรประจำปี ร้อยละ 100 แห่ง 21 15 71.43 ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. สหกรณ์ทั้งหมดที่อยู่ระหว่างชำระบัญชีสามารถถอนชื่อได้ ร้อยละ 25 แห่ง 0 0 0 2. สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้วไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 แห่ง 0 0 0 3. กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้วไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 แห่ง 0 0 0 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน 4.1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับคำแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแล จำนวน 21 แห่ง 4.2 การดำเนินงานในภาพรวมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีส่วนช่วยเหลือสมาชิกและคนในชุมชน ในด้านเศรษฐกิจและสังคมได้


รายงานประจำปี 2565 - 45 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 5.1 คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งยังขาดความตระหนักเรื่องหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ และมีอายุมากอาจเป็นอุปสรรคกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ 5.2 ฝ่ายจัดการสหกรณ์บางแห่งขาดความตระหนักเรื่องหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ 5.3 กลุ่มเกษตรกรมีปัญหาเรื่องขาดผู้จัดทำบัญชีเป็นปัญหาหลักของกลุ่มเกษตรกรหลายๆ แห่งในพื้นที่ จึงเป็นเหตุให้ไม่ผ่านการควบคุมภายใน 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 6.1 ให้ความรู้ ความเข้าใจเพื่อสร้างความตระหนักเรื่อง หลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ อย่าง เข้มข้น จริงจัง มีการประเมินหลังให้ความรู้แก่คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยอาจมี หลักสูตรพัฒนาคณะกรรมการดำเนินการ 6.2 ให้ความรู้ ความเข้าใจเพื่อสร้างความตระหนักเรื่อง หลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ อย่าง เข้มข้น จริงจัง มีการประเมินหลังให้ความรู้แก่ฝ่ายจัดการ อาจมีหลักสูตรพัฒนาฝ่ายจัดการสหกรณ์ ▪ นิคมสหกรณ์ฟากท่า 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ อำเภอฟากท่า จำนวนทั้งหมด 1 แห่ง แยกเป็น สหกรณ์1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร - แห่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 171,010.00 169,906.00 99.94 3. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์ความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 1 อย่างน้อยร้อยละ 88 แห่ง 1 0 0 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 24 แห่ง 0 0 0 ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ กิจกรรมที่ดำเนินการ ด้านส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนแนะนำ ส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปี พ.ศ. 2565 แห่ง 1 1 100


รายงานประจำปี 2565 - 46 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 2. สหกรณ์ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร่อยละ 90 แห่ง 1 1 100 3. กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในระดับดีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 แห่ง 0 0 0 4. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 1 0 0 5. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 แห่ง 0 0 0 6. สหกรณ์และกลุ่มเกษตร จัดทำงบการเงินและปิดบัญชีประจำปี ได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี แห่ง 1 1 100 7. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ประชุมใหญ่ สามัญ ภายใน 150 วัน แห่ง 1 1 100 8. จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น ราย 32 32 100 ด้านการพัฒนาธุรกิจ 1. สหกรณ์ สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนินกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนสมาชิก แห่ง 1 0 0 2. กลุ่มเกษตรกรสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนิน กิจกรรมร่วมกับกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของ จำนวนสมาชิก แห่ง 0 0 0 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการดำเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 แห่ง 1 1 100 4. สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐาน ขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 แห่ง 1 0 0 5. กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 แห่ง 0 0 0 6. จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของ สมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 62 แห่ง 1 1 100 7. ผลการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีกำไรประจำปี ร้อยละ 100 แห่ง 1 0 0 ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. สหกรณ์ทั้งหมดที่อยู่ระหว่างชำระบัญชีสามารถถอนชื่อได้ ร้อยละ 25 แห่ง 0 0 0 2. สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้วไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 แห่ง 0 0 0


รายงานประจำปี 2565 - 47 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 3. กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้วไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 แห่ง 0 0 0 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน 4.1 สหกรณ์ได้รับคำแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแล จำนวน 1 แห่ง 4.2 การดำเนินงานในภาพรวมของสหกรณ์ มีส่วนช่วยเหลือสมาชิกและคนในชุมชนในด้านเศรษฐกิจและ สังคมได้ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 5.1 คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ยังขาดความตระหนักเรื่องหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ และความรู้เรื่องการบริหารจัดการสหกรณ์อาจเป็นอุปสรรคกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ 5.2 ฝ่ายจัดการสหกรณ์บางแห่งขาดความตระหนักเรื่องหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ การดำเนิน ธุรกิจแบบสหกรณ์ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 6.1 ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่คณะกรรมการ เพื่อสร้างความตระหนักเรื่อง หลักการ อุดมการณ์และวิธีการ สหกรณ์ การบริหารการจัดการสหกรณ์ อย่างเข้มข้น จริงจัง มีการประเมินหลังให้ความรู้แก่คณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์ โดยอาจมีหลักสูตรพัฒนาคณะกรรมการดำเนินการ 6.2 ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ฝ่ายจัดการ เพื่อสร้างความตระหนักเรื่อง หลักการ อุดมการณ์และวิธีการ สหกรณ์ การดำเนินธุรกิจแบบสหกรณ์ อย่างเข้มข้น จริงจัง มีการประเมินหลังให้ความรู้แก่ฝ่ายจัดการ อาจมี หลักสูตรพัฒนาฝ่ายจัดการสหกรณ์ ▪ นิคมสหกรณ์พิชัย 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ อำเภอพิชัย จำนวนทั้งหมด 2 แห่ง แยกเป็น สหกรณ์2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร - แห่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 19,400 19,400 100 3. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์ความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 1 อย่างน้อยร้อยละ 88 แห่ง 2 2 100


รายงานประจำปี 2565 - 48 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 24 แห่ง กิจกรรมที่ดำเนินการ ด้านส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนแนะนำ ส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปี พ.ศ. 2565 แห่ง 2 2 100 2. สหกรณ์ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร่อยละ 90 แห่ง 2 2 100 3. กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในระดับดีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 แห่ง - - - 4. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 2 2 100 5. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 แห่ง 6. สหกรณ์และกลุ่มเกษตร จัดทำงบการเงินและปิดบัญชีประจำปี ได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี แห่ง 2 2 100 7. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ประชุมใหญ่ สามัญ ภายใน 150 วัน แห่ง 2 2 100 ด้านการพัฒนาธุรกิจ 1. สหกรณ์ สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนินกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนสมาชิก แห่ง 2 2 100 2. กลุ่มเกษตรกรสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนิน กิจกรรมร่วมกับกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของ จำนวนสมาชิก แห่ง - - - 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการดำเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 แห่ง 2 2 100 4. สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐาน ขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 แห่ง 2 2 100 5. กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 แห่ง 6. จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของ สมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 62 แห่ง 2 2 100 7. ผลการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีกำไรประจำปี ร้อยละ 100 แห่ง 1 1 100


รายงานประจำปี 2565 - 49 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. สหกรณ์ทั้งหมดที่อยู่ระหว่างชำระบัญชีสามารถถอนชื่อได้ ร้อยละ 25 แห่ง - - - 2. สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้วไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 แห่ง - - - 3. กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้วไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 แห่ง - - - โครงการการออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ (กสน.3,5) • นิคมสหกรณ์ฟากท่า 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อจัดสรรที่ดินทำกินให้แก่สมาชิกสหกรณ์นิคมในการประกอบอาชีพ เป้าหมาย 1) สมาชิกนิคมสหกรณ์ได้รับหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดินพื้นที่นิคมสหกรณ์ เพื่อทำการเกษตร พื้นที่ดำเนินโครงการ 1) ในเขตพื้นที่นิคมสหกรณ์ฟากท่า 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 7,050.00 7,050.00 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ การออกหนังสือ กสน. 3 ไร่ 250 218 87.20 การออกหนังสือ กสน. 3 ไร่ 200 155 77.50 สมาชิกได้รับ กสน. 5 ยื่นขอออกโฉนด ไร่ 200 316 158.00 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สมาชิกนิคมสหกรณ์ได้รับหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดินพื้นที่นิคมสหกรณ์ 650 ไร่ 2) มีแผนปฏิบัติงาน เพื่อติดตามและแก้ไขปัญหาการจัดที่ดิน การออกกสน.3 และ กสน. 5 จำนวน 1 แผน


รายงานประจำปี 2565 - 50 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกนิคมสหกรณ์ได้ทำประโยชน์ในที่ดินพื้นที่นิคมสหกรณ์ 2) สมาชิกนิคมสหกรณ์มีรายได้จากทำประโยชน์ในที่ดินพื้นที่นิคมสหกรณ์ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 สมาชิกนิคมสหกรณ์ขาดความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดิน ของนิคมสหกรณ์ 5.2 บุคลากรของนิคมสหกรณ์ไม่เพียงพอต่อการ ดำเนินงานตามภารกิจ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 ให้การศึกษาอบรม เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบที่ เกี่ยวข้องกับสมาชิกนิคมสหกรณ์ 6.2 ประชาสัมพันธ์การจัดที่ดินของนิคมสหกรณ์ใน รูปแบบต่างๆแก่สมาชิกนิคมสหกรณ์และประชาชนในพื้นที่ นิคมสหกรณ์ • นิคมสหกรณ์พิชัย 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อจัดสรรที่ดินให้แก่ราษฎรที่ไม่มีที่ดินทำกินหรือมีน้อย ไม่เพียงพอแก่การครองชีพ เป้าหมาย 1) สมาชิกนิคมสหกรณ์พิชัยในเขตพื้นที่โครงการ พื้นที่ดำเนินโครงการ 1) ในเขตพื้นที่ ต.ท่ามะเฟือง ต.คอรุม ต.พญาแมน จ.อุตรดิตถ์ และ ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก , ต.สามเรือน อ.ศรีสำโรง จ.สุโขทัย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 2,054 2,054 100


รายงานประจำปี 2565 - 51 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สมาชิกสหกรณ์นิคมได้รับกรรมสิทธิ์ที่ดินในพื้นที่นิคมสหกรณ์ เพื่อทำการเกษตรในรูปแบบ กสน.3 กสน.5 และโฉนด 1 65 65 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สามารถจัดสรรที่ดินทำกินให้แก่ราษฎรที่ไม่มีที่ดินทำกินหรือมีน้อยไม่เพียงพอแก่การประกอบ อาชีพและที่อยู่อาศัยให้กับสมาชิกนิคมสหกรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกนิคมสหกรณ์พิชัย ได้รับเอกสารสิทธิ์ในที่ดินสามารถนำไปออกโฉนดที่ดินถูกต้องตาม กฎหมายที่ดินได้ งานการกำกับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ ▪ กิจกรรม : จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์ปฏิบัติงานในฐานะผู้ตรวจการณ์สหกรณ์เป็นตามแผนงานงบประมาณ 2) เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์มีความเข้าใจ สามารถรายงานผลการตรวจการผ่านระบบตรวจการ สหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย 1) บุคลากรสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ในฐานะผู้ตรวจการสหกรณ์ จำนวน 30 ราย พื้นที่ดำเนินโครงการ 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตร ในการกำกับ แนะนำส่งเสริม สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 5,200 5,200 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการ ครั้ง 1 1 100


รายงานประจำปี 2565 - 52 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สามารถจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการ สหกรณ์ จำนวน 1 ครั้ง 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนงานงบประมาณ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 ผู้ตรวจการสหกรณ์แต่ละคน มีประสบการณ์แตกต่างกัน เทคนิควิธีการตรวจไม่เหมือนกัน การค้นหา ความจริงจึงขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถของผู้ตรวจการสหกรณ์ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 จัดโครงการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถให้กับผู้ตรวจการสหกรณ์เพื่อให้ทันต่อ สถานการณ์ปัจจุบันของสหกรณ์ ▪ กิจกรรม : ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจการระดับจังหวัด (ร้อยละ 25) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้การกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ในฐานะของผู้ตรวจการสหกรณ์เป็นไป ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2) สนับสนุนการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง เป้าหมาย 1) ร้อยละ 25 ของสหกรณ์ที่มีสถานะดำเนินการ ณ วันที่ 1 กันยายน 2565 พื้นที่ดำเนินโครงการ สหกรณ์เป้าหมาย จำนวน 23 แห่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 40,400 40,400 100


รายงานประจำปี 2565 - 53 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ร้อยละ 25 ของสหกรณ์ที่มีสถานะดำเนินการ ณ วันที่ 1 กันยายน 2565 แห่ง 23 23 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์เป้าหมายได้รับการตรวจการณ์สหกรณ์ตามแบบรายงานตรวจการสหกรณ์ จำนวน 23 แห่ง 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ผู้ตรวจการสหกรณ์ปฏิบัติหน้าที่ในการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ในฐานะ ของผู้ตรวจการสหกรณ์เป็นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 สหกรณ์ไม่ให้ความสำคัญ และให้ความร่วมมือในการเข้าตรวจการสหกรณ์ 5.2 ผู้ตรวจการสหกรณ์แต่ละคน มีประสบการณ์ แตกต่างกัน เทคนิควิธีการตรวจไม่เหมือนกัน การค้นหา ความจริงจึงขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถของผู้ตรวจการ สหกรณ์ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 จัดโครงการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะความรู้ ความสามารถให้กับผู้ตรวจการสหกรณ์เพื่อให้ทันต่อ สถานการณ์ปัจจุบันของสหกรณ์ ▪ กิจกรรม : ตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์(ร้อยละ 15) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้การกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ในฐานะของผู้ตรวจการสหกรณ์เป็นไป ตามตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2) สนับสนุนการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง เป้าหมาย 1) ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ที่มีสถานะดำเนินการ ณ วันที่ 1 กันยายน 2565 พื้นที่ดำเนินโครงการ สหกรณ์เป้าหมาย จำนวน 14 สหกรณ์


รายงานประจำปี 2565 - 54 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 18,500 18,500 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ที่มีสถานะดำเนินการ ณ วันที่ 1 กันยายน 2565 แห่ง 14 14 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์เป้าหมายได้รับการตรวจการณ์สหกรณ์ตามแบบรายงานตรวจการสหกรณ์ จำนวน 14 แห่ง 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ผู้ตรวจการสหกรณ์ปฏิบัติหน้าที่ในการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ในฐานะ ของผู้ตรวจการสหกรณ์เป็นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 สหกรณ์ไม่ให้ความสำคัญ และให้ความร่วมมือในการเข้าตรวจการสหกรณ์ 5.1 ผู้ตรวจการสหกรณ์แต่ละคน มีประสบการณ์ แตกต่างกัน เทคนิควิธีการตรวจไม่เหมือนกัน การค้นหา ความจริงจึงขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถของผู้ตรวจการ สหกรณ์ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 จัดโครงการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะความรู้ ความสามารถให้กับผู้ตรวจการสหกรณ์เพื่อให้ทันต่อ สถานการณ์ปัจจุบันของสหกรณ์ ▪ กิจกรรม : จัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดเพื่อแก้ไขปัญหาดำเนินงานของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อประมวลข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนต่าง ๆ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2) เพื่อพิจารณาข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร


รายงานประจำปี 2565 - 55 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3) เพื่อพิจารณาหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องและติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องและ ข้อร้องเรียนให้ได้ขอยุติ 4) เพื่อดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องข้อร้องเรียน เป้าหมาย จัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด แก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มี ข้อบกพร่อง (จกบ) จังหวัดอุตรดิตถ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ พนักงานราชการที่เกี่ยวข้องและผู้สังเกตการณ์ ประชุม จำนวน 4 ครั้ง พื้นที่ดำเนินโครงการ ห้องประชุมภูสอยดาว อาคารขุนประสิทธิ์สหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 11,400 11,400 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ - ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดเพื่อแก้ไขปัญหา ดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ครั้ง 4 4 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดประชุม จำนวน 4 ครั้ง ไตรมาสละ 1 ครั้ง 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอุตรดิตถ์ ได้รับการพิจารณาแก้ไข 2) การแก้ไขข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนได้ข้อยุติ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 คณะทำงานมาจากหลายหน่วยงาน การกำหนดบุคลากร เข้าร่วมประชุม ขึ้นอยู่กับแต่ละหน่วยงานมีการเปลี่ยนคนเข้าร่วม ประชุม ทำให้ขาดการต่อเนื่องในข้อมูล 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 กรมส่งเสริมสหกรณ์ควรมีการจัดสรรงบประมาณ ในส่วน ของเบี้ยประชุมด้วย เนื่องจากคณะทำงานมาจากหลายหน่วยงาน


รายงานประจำปี 2565 - 56 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ▪ กิจกรรม : การชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชำระบัญชีขั้นตอนที่ 3 – 4 ยกระดับขึ้นสู่ขั้นตอนที่ 5 2) เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งหมดที่อยู่ระหว่างชำระบัญชีสามารถถอนชื่อได้ เป้าหมาย 1) สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมและหอมแดงเมืองอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) สหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 3) สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมและหอมแดงน้ำปาด จำกัด อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ พื้นที่ดำเนินโครงการ 1) อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 5,000 5,000 100 3. ผลการดำเนินงาน 3.1 การดำเนินการชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมและหอมแดงเมืองอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ขั้นตอนที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและผู้ชำระบัญชี โดยแต่งตั้งนายมิตร ทองชัย เป็นผู้ชำระ บัญชี ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 ขั้นตอนที่ 2 ผู้ชำระบัญชีรับมอบทรัพย์สินและจัดทำงบการเงินตามมาตรา 80 จากสหกรณ์ ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 ขั้นตอนที่ 3 ผู้ชำระบัญชีส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตามมาตรา 80 ณ วันที่ 29 พฤษภาคม 2562 ขั้นตอนที่ 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลมาตรา 80 ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2562 ขั้นตอนที่ 5 นายทะเบียนสหกรณ์อนุมัติงบการเงิน ณ วันที่ 23 กรกฎาคม 2562 ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินแล้วเสร็จวันที่ 30 เมษายน 2565 ขั้นตอนที่ 7 ผู้ชำระบัญชีส่งรายงานการชำระบัญชีตามมาตรา 87 ให้ผู้สอบบัญชี ณ วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 ขั้นตอนที่ 8 ผู้สอบบัญชีรับรองงบการเงินตามมาตรา 87 ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2565 ขั้นตอนที่ 9 นายทะเบียนสหกรณ์ออกคำสั่งถอนชื่อสหกรณ์ วันที่ 27 กรกฎาคม 2565


รายงานประจำปี 2565 - 57 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ขั้นตอนที่ 10 ส่งมอบบรรดาสมุดและเอกสารต่างๆ ของสหกรณ์ให้นายทะเบียนสหกรณ์วันที่ 2 สิงหาคม 2565 2) สหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ขั้นตอนที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและผู้ชำระบัญชี โดยแต่งตั้งนายนรเศรษฐ์ เขียวษา เป็น ผู้ชำระบัญชี ณ วันที่ 2 ธันวาคม 2563 และเปลี่ยนตัวผู้ชำระบัญชีเป็นนางสาวภคพร จงสมจิตต์ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 ขั้นตอนที่ 2 ผู้ชำระบัญชีรับมอบทรัพย์สินและจัดทำงบการเงินตามมาตรา 80 จากสหกรณ์ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2565 ขั้นตอนที่ 3 ผู้ชำระบัญชีส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตามมาตรา 80 ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2565 3) สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมและหอมแดงน้ำปาด จำกัด อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ขั้นตอนที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและผู้ชำระบัญชี โดยแต่งตั้งนางเสาวนีย์ อาจหยุด เป็น ผู้ชำระบัญชี ณ วันที่ 11 มีนาคม 2562 และเปลี่ยนตัวผู้ชำระบัญชีเป็นนายธีระพงษ์ ใจใหญ่ ตั้งแต่วันที่ 21 มิถุนายน 2564 ขั้นตอนที่ 2 ผู้ชำระบัญชีรับมอบทรัพย์สินและจัดทำงบการเงินตามมาตรา 80 จากสหกรณ์ ณ วันที่ 18 มีนาคม 2562 ขั้นตอนที่ 3 ผู้ชำระบัญชีส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตามมาตรา 80 ณ วันที่ 30 เมษายน 2562 ขั้นตอนที่ 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลมาตรา 80 ณ วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 ขั้นตอนที่ 5 นายทะเบียนสหกรณ์อนุมัติงบการเงิน ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2562 ขั้นตอนที่ 6 อยู่ระหว่างดำเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน 3.2 รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการชำระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นตอนการชำระบัญชี ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ความก้าวหน้า/ขั้นตอน ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 1. สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมและ หอมแดงเมืองอุตรดิตถ์ จำกัด ดำเนินการจัดการทรัพย์สินและ หนี้สิน (ขั้นตอนที่ 6) ส่งมอบบรรดาสมุดและเอกสาร ต่างๆ ของสหกรณ์ให้นายทะเบียน สหกรณ์ (ขั้นตอนที่ 10) 2. สหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรอุตรดิตถ์ จำกัด ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและผู้ ชำระบัญชีสหกรณ์ (ขั้นตอนที่ 1) ส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตาม มาตรา 80 (ขั้นตอนที่ 3) 3. สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมและ หอมแดงน้ำปาด จำกัด ดำเนินการจัดการทรัพย์สินและ หนี้สิน (ขั้นตอนที่ 6) ดำเนินการจัดการทรัพย์สินและ หนี้สิน (ขั้นตอนที่ 6)


รายงานประจำปี 2565 - 58 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3.3 รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สามารถถอนชื่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วันที่ถอนชื่อ 1. สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมและหอมแดงเมือง อุตรดิตถ์ จำกัด 27 กรกฎาคม 2565 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ผู้ชำระบัญชีประสบปัญหาการดำเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน เนื่องจากลูกหนี้เงินกู้สหกรณ์บางราย ขาดอายุความ และบางรายไม่สามารถติดต่อได้ จึงยังไม่สามารถเรียกรับชำระหนี้เพื่อให้มีทรัพย์สินเพียงพอ สำหรับจ่ายคืนค่าหุ้นให้แก่สมาชิกได้เต็มจำนวน 5. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ร่วมหารือกับผู้สอบบัญชีเพื่อพิจารณาแนวทางแก้ไขและวิธีปฏิบัติทางบัญชีที่ถูกต้อง โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การรายงานข้อมูลทางการเงินผ่านระบบ MIS” เจ้าของโครงการ : ศูนย์วิเคราะห์และติดตามสถานการณ์ทางการเงินสหกรณ์ 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการประชุม กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้กำหนดจัดโครงการประชุมเชิงวิชาการ “การรายงานข้อมูลทางการเงินผ่านระบบ MIS” ให้กับสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนให้สามารถปฏิบัติตามกฎกระทรวงว่าด้วยการ ดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ข้อ 25 ได้อย่างถูกต้อง โดยกำหนดจัดอบรมออนไลน์ถ่ายทอดสัญญาณ ณ ศูนย์วิเคราะห์และติดตามสถานการณ์ทางการเงินสหกรณ์ (ชั้น 6 กรมส่งเสริมสหกรณ์ เทเวศร์ ) 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการรายงานข้อมูลทางการเงินผ่านระบบ MIS ให้กับเจ้าที่ที่สหกรณ์ ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน


รายงานประจำปี 2565 - 59 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 2) เพื่อให้สหกรณ์สามารถปฏิบัติตามกฎกระทรวงว่าด้วยการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ข้อ 25 ได้อย่างถูกต้อง เป้าหมาย 1) สำหรับสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนขนาดสินทรัพย์ต่ำกว่า 1,000 ล้านบาท จำนวน 12 รุ่น สหกรณ์ในจังหวัดอุตรดิตถ์จำนวน 5 สหกรณ์ รุ่นที่ 8 ระหว่างวันที่ 25 – 26 เมษายน 2565 2) สำหรับสหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดสินทรัพย์ตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป แต่ไม่เกิน 5,000 ล้านบาท จำนวน 6 รุ่น สหกรณ์ในจังหวัดอุตรดิตถ์จำนวน 3 สหกรณ์ ระหว่างวันที่ 20 – 21 ธันวาคม 2564 3. ผลที่ได้รับจากการประชุม 1) เจ้าหน้าที่สหกรณ์สามารถรายงานข้อมูลทางการเงินผ่านระบบ MIS ได้อย่างถูกต้อง 2) สหกรณ์สามารถปฏิบัติตามกฎกระทรวงว่าด้วยการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออม ทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ข้อ 25 ได้อย่างถูกต้องตามแบบรายงานและวิธีการที่นายทะเบียน สหกรณ์ประการกำหนด โครงการพัฒนาศักยภาพให้แก่นิติกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ ประงบประมาณ พ.ศ. 2565 ภาคทฤษฎี ผ่านระบบ Zoom Meeting เจ้าของโครงการ : สำนักนายทะเบียนและกฎหมายสหกรณ์ 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการอบรม ด้วยสำนักนายทะเบียนและกฎหมายสหกรณ์ ได้รับอนุมัติจัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “เพิ่มทักษะ กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานกรมส่งเสริมสหกรณ์” กลุ่มเป้าหมายคือข้าราชการใน ตำแหน่งนิติกร ผู้อำนวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ และข้าราชการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ประจำสำนักงานสหกรณ์จังหวัดทุกจังหวัด สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 – 2 สำนัก นายทะเบียนสหกรณ์และกฎหมาย ผู้สังเกตการณ์ วิทยากรและเจ้าหน้าที่ โดยจัดอบรมหลักสูตรภาคทฤษฎีจะ จัดอบรมในวันที่ 25-26 มกราคม 2565 จำนวน 100 ราย และภาคปฏิบัติ ระหว่างวันที่ 6-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมแกรนด์ พาลาสโซ่ ถนนเพชรตระกูล ตำบลนาเกลือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี จำนวน 220 ราย


รายงานประจำปี 2565 - 60 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเพิ่มทักษะและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์กฎหมายว่า ด้วยกลุ่มเกษตรกร ข้อบังคับ และระเบียบของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตลอดจนการออกค่ำสั่งทางปกครอง การพิจารณาอุทธรณ์ การศึกษาคำพิพากษาที่เกี่ยวข้อง ในภาคทฤษฎี ผ่านระบบ Zoom Meeting 2) เพื่อเสริมสร้างทักษะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์ เป้าหมาย 1) ข้าราชการ ตำแหน่ง นิติกร ในวันที่ 25- 26 มกราคม 2565 3. ผลที่ได้รับจากการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการอบรม ตำแหน่ง นิติกร กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้รับ ความรู้เพิ่มเติมในหัวข้อวิชา การทำงานร่วมกันเป็นทีมเพื่อขับเคลื่อนนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์ คำสั่งทาง ปกครอง การแก้เพิ่มเติมข้อบังคับ อธิปรายกลุ่มการกำหนดประเด็นแสวงหาข้อเท็จจริง คู่มือ คำแนะนำ นโยบายนายทะเบียนสหกรณ์รูปแบบคำสั่งทางปกครอง การพิจารณาอุทธรณ์ และคำพิพากษาที่เกี่ยวข้อง จากวิทยากร องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเรื่องกฎหมายเพื่อการปฏิบัติงานที่ถูกต้องมีความ เข้าใจในบทบาท หน้าที่ และสามารถรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณาสั่งการภายใต้ขอบเขตอำนาจหน้าที่ ตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนส่งผลให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใน พื้นที่ดำเนินกิจการเป็นไปตามหลักธรรมภิบาล นำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนำความรู้จากการอบรมไปใช้ในการ ปฏิบัติงาน พร้อมทั้งถ่ายทอดให้กับบุคลากรในหน่วยงาน และผลักดัน ให้สหกรณ์สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งตลอดจนสามารถ ยกระดับชั้นให้สูงขึ้น และหลังจากการฝึกอบรมการตั้งข้อสังเกตของ คำสั่งทางปกครองลดลง


รายงานประจำปี 2565 - 61 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office โครงการฝึกอบรม หลักสูตร “เสริมสร้างสมรรถนะด้านกฎหมายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ” เจ้าของโครงการ : สำนักนายทะเบียนและกฎหมายสหกรณ์ 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการอบรม ด้วยสำนักนายทะเบียนและกฎหมายสหกรณ์ ได้รับอนุมัติจัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “เพิ่มทักษะ กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานกรมส่งเสริมสหกรณ์” กลุ่มเป้าหมาย คือ ข้าราชการใน ตำแหน่งนิติกร ผู้อำนวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ และข้าราชการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ประจำสำนักงานสหกรณ์จังหวัดทุกจังหวัด สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 – 2 สำนัก นายทะเบียนสหกรณ์และกฎหมาย ผู้สังเกตการณ์ วิทยากรและเจ้าหน้าที่ โดยจัดอบรมหลักสูตรภาคทฤษฎีจะ จัดอมรมในวันที่ 25-26 มกราคม 2565 จำนวน 100 ราย และภาคปฏิบัติ ระหว่างวันที่ 6-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมแกรนด์ พาลาสโซ่ ถนนเพชรตระกูล ตำบลนาเกลือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี จำนวน 220 ราย 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเพิ่มทักษะและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์กฎหมายว่า ด้วยกลุ่มเกษตรกร ข้อบังคับ และระเบียบของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตลอดจนการออกคำสั่งทางปกครอง การพิจารณาอุทธรณ์ การศึกษาคำพิพากษาที่เกี่ยวข้อง 2) เพื่อเสริมสร้างทักษะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์ เป้าหมาย 1) ข้าราชการ ตำแหน่ง นิติกร เข้ารับการอบรมระหว่างวันที่ 6 – 8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรม แกรนด์ พาลาซโซ่ พัทยา จังหวัดชลบุรี 3. ผลที่ได้รับจากการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการอบรม ตำแหน่ง นิติกร กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้รับ ความรู้เพิ่มเติมในหัวข้อวิชา การทำงานร่วมกันเป็นทีมเพื่อขับเคลื่อนนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์ คำสั่งทาง ปกครอง การแก้เพิ่มเติมข้อบังคับ อธิปรายกลุ่มการกำหนดประเด็นแสวงหาข้อเท็จจริง คู่มือ คำแนะนำ นโยบายนายทะเบียนสหกรณ์รูปแบบคำสั่งทางปกครอง การพิจารณาอุทธรณ์ และคำพิพากษาที่เกี่ยวข้อง จาก วิทยากร องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะเรื่องกฎหมายเพื่อการปฏิบัติงานที่ถูกต้องมี ความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ และสามารถรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณาสั่งการภายใต้ขอบเขตอำนาจ


รายงานประจำปี 2565 - 62 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office หน้าที่ตามกฎหายได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนส่งผลให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่ดำเนินกิจการเป็นไปตามหลักธรรมภิบาล นำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนำความรู้จากการอบรมไป ใช้ในการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งถ่ายทอดให้กับบุคลากรใน หน่วยงาน และผลักดันให้สหกรณ์สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรมีความเข้มแข็งตลอดจนสามารถยกระดับชั้นให้ สูงขึ้น และหลังจากการฝึกอบรมการตั้งข้อสังเกตของ คำสั่งทางปกครองลดลง โครงการพัฒนาผู้ตรวจการสหกรณ์ หลักสูตร “ผู้ตรวจการระดับพื้นฐาน” รุ่นที่ 1 – 4 ผ่านระบบ Zoom เจ้าของโครงการ : 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการอบรม ด้วยกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้กำหนดจัดโครงการพัฒนาผู้ตรวจการสหกรณ์ หลักสูตร “ผู้ตรวจการสหกรณ์ ระดับพื้นฐาน” จำนวน 4 รุ่น ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 480 คน ประกอบด้วยผู้ตรวจการณ์สหกรณ์ประจำ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 – 2 ที่ยังมิได้เข้ารับการ อบรมหลักสูตร “ผู้ตรวจการสหกรณ์ระดับพื้นฐาน” ผู้สังเกตการณ์ วิทยากร และเจ้าหน้าที่โครงการ 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้พัฒนาองค์ความรู้เพิ่มทักษะและประสบการณ์แก่ผู้ตรวจการสหกรณ์ให้ ทันสถานการณ์ 2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามแนวทางที่ นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด เป้าหมาย ผู้ตรวจการณ์สหกรณ์ประจำจังหวัด จำนวน 6 คน รุ่นที่ 1 จำนวน 1 คน ระหว่างวันที่ 28 ก.พ.– 3 มี.ค. 2565 รุ่นที่ 2 จำนวน 2 คน ระหว่างวันที่ 28 – 31 มี.ค. 2565 รุ่นที่ 3 จำนวน 2 คน ระหว่างวันที่ 23 – 26 พ.ค. 2565 รุ่นที่ 4 จำนวน 1 คน ระหว่างวันที่ 6 – 9 มิ.ย. 2565


รายงานประจำปี 2565 - 63 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3. ผลที่ได้รับจากการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการอบรมผ่านการทดสอบความรู้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ การกำกับดูแลและส่งเสริมสหกรณ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจ การสหกรณ์ แนวทางการตรวจการสหกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับข้อบังคับ/ระเบียบของสหกรณ์/ระเบียบ/คำสั่ง นายทะเบียนสหกรณ์ เทคนิคการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ ข้อสังเกตทางการเงิน การบัญชีสหกรณ์ เทคนิคและ วิธีการตรวจสอบสหกรณ์เมื่อพบเหตุไม่ปกติ เทคนิคการเขียนและการจัดทำ รายงานการตรวจการสหกรณ์ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการปฏิบัติ หน้าที่ของผู้ตรวจการสหกรณ์ นำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติ 1) ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถดำเนินการตรวจสอบสหกรณ์ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2) ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถเขียนรายงานผลการตรวจสอบ พร้อมให้ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อ นายทะเบียนสหกรณ์ เพื่อพิจารณาสั่ง การตามอำนาจหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง โครงการฝึกอบรม หลักสูตร “เสริมสร้างสมรรถนะด้านกฎหมายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ” ผ่านระบบ Zoom เจ้าของโครงการ : สำนักนายทะเบียนและกฎหมาย 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการอบรม กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นการภายใน ประกอบกับ พระราชบัญญัติสหกรณ์(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 มีการแก้ไขบทบัญญัติหลายมาตรา ซึ่งเกี่ยวกับบทนิยามของ คำว่าสหกรณ์ และอีกหลายหมวด อีกทั้งกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้มีการปรับปรุงระเบียบ ประกาศ คำแนะนำของ นายทะเบียนสหกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้ทันสมัยเป็นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ใหม่ สำนักนายทะเบียนและ กฎหมายพิจารณาแล้วเห็นว่า ข้าราชการสังกัดกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ซึ่งได้รับมอบหมายหน้าที่ในการ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรับจดทะเบียน การควบ การแยก การเลิก การชำระบัญชี การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ระเบียบสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จะต้องได้รับการพัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายสหกรณ์และ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ปฏิบัติงานส่งเสริมได้อย่างถูกต้อง


รายงานประจำปี 2565 - 64 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเพิ่มทักษะและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมาย ว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร ข้อบงัคับ ระเบียบของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตลอดจนกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) เพื่อเพิ่มทักษะและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในระบบฐานข้อมูลทะเบียนสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย 1) ข้าราชการผู้ปฏิบัติงานกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 2 คน 3. ผลที่ได้รับจากการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายสหกรณ์และกฎหมายอื่น เพื่อให้การปฏิบัติงานที่ ถูกต้อง มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ และสามารถรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณาสั่งการภายใต้ ขอบเขตอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตลอดจนสามารถใช้งานระบบฐานข้อมูลสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม 1) พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม อำนาจนายทะเบียนสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร ระเบียบประกาศ คำแนะนำของนายทะเบียนสหกรณ์ 2) การจดทะเบียนจัดตังสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรและกระบวนการเลิกและชำระบัญชี 3) แนวทางการตรวจข้อบังคับ และระเบียบของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร นำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติ 1) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนำความรู้จากการอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานในด้านการจดทะเบียนแก้ไข ข้อบังคับ ในระบบฐานข้อมูลทะเบียนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2) การแก้ไขระเบียบต่างๆ พร้อมทั้งถ่ายทอดให้กับบุคลากรในหน่วยงานและผลักดันให้สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง


รายงานประจำปี 2565 - 65 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office โครงการอบรมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร ผ่านระบบ Zoom เจ้าของโครงการ : กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการอบรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มุ่งให้ทุกหน่วยงานภายใต้สังกัดร่วมกันขับเคลื่อนงานตามนโยบายให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ คือ ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้ดีขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้น และมั่นคงโดยยกระดับสถาบัน เกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง ตามหลักเกณฑ์การจัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4 ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการบริการสมาชิก ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร และประสิทธิภาพของการบริหารงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์มีแนวนโยบายในการเพิ่มขีดความสามารถและ ยกระดับคุณภาพของคณะกรรมการดำเนินการและสมาชิกกลุ่มเกษตรกร เพื่อสร้างความเข้มแข็งของ กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งให้มีการจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร และการประเมินกลุ่มเกษตรกรดีเด่น 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ความรู้และแนะนำแนวทางร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร 2) เพื่อชี้แจงหลักเกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรดีเด่น 3) เพื่อให้คำแนะนำในการปฏิบัติงานการส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ เป้าหมาย คณะกรรมการดำเนินการกลุ่มเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด 3. ผลที่ได้รับจากการฝึกอบรม มีความรู้ความเข้าใจแนวทางการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร ตามหลักเกณฑ์การจัดระดับความ เข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4 ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการบริการสมาชิก ประสิทธิภาพในการ ดำเนินธุรกิจ ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร และประสิทธิภาพของการบริหารงาน องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม 1) แนวทางการสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร และหลักเกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรดีเด่น 2) หลักเกณฑ์การประเมินมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร การควบคุมภายในของกลุ่มเกษตรกร นำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติ 1) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้รับการส่งเสริมความรู้มีแนวทางในการสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร การพัฒนาให้ผ่านมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร และผ่านเกณฑ์การประเมินกลุ่มเกษตรกรดีเด่น 2) สามารถถ่ายทอดให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงาน เรื่องการนำแนวทางการควบคุมภายในของ กลุ่มเกษตรกร


รายงานประจำปี 2565 - 66 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ภาพกิจกรรม : โครงการอบรมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร ระหว่างวันที่ 29-30 มีนาคม 2565 โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ” ผ่านระบบ Zoom เจ้าของโครงการ : ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 12 จังหวัดพิษณุโลก 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการอบรม ศูนย์ 12 คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์เป็นตัวแทนของบรรดาสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ่ มีหน้าที่บริหารกิจการสหกรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาให้สมาชิกและตอบสนองความต้องการของบรรดาสมาชิกทั้ง ด้านเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมการดำเนินการต้องตระหนักถึงความสำคัญของบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการในฐานะผู้นำของสหกรณ์ ต้องทำหน้าที่กำกับดูแลและขับเคลื่อนกิจการของสหกรณ์ให้บรรลุ เป้าหมายในการจัดตั้งสหกรณ์ ดังนั้น คณะกรรมการจึงต้องใช้ทั้งความรู้ ความสามารถ ควบคู่กับการใช้ คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการของสหกรณ์ เพื่อให้สมาชิกเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธา และมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจแบบสหกรณ์ 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์มีจิตสำนึกและตระหนักเห็นความสำคัญในบทบาทหน้าที่และความ รับผิดชอบของผู้นำสหกรณ์ที่มีต่อการบริหารงานสหกรณ์ 2) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ได้รู้และเข้าใจแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายภาครัฐกับการพัฒนา สหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง 3) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ได้รับทราบและเข้าใจในบริบทของสหกรณ์ตนเอง และสามารถ กำหนดแผนพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็งได้อย่างยั่งยืน เป้าหมาย คณะกรรมการสหกรณ์ทั้งคณะ ผู้ตรวจสอบกิจการ และฝ่ายจัดการสหกรณ์ ของ 1) สหกรณ์การเกษตรฟากท่า จำกัด 2) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านโคกหม้อ จำกัด


รายงานประจำปี 2565 - 67 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3. ผลที่ได้รับจากการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้ความรู้เรื่องสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบ บทบาทสมาชิกในการกำกับดูแล กิจการสหกรณ์ การมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม 1) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการณ์ ธรรมาภิบาลในสหกรณ์ 2) ความรู้เบื้องต้นด้านการเงิน และบัญชี 3) กฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบสหกรณ์ที่คณะกรรมการต้องรู้และปฏิบัติ 4) การวิเคราะห์การดำเนินงานของสหกรณ์ ในแต่ละมิติ 5) การมีส่วนร่วมแก้ปัญหาด้วยวิธีการสหกรณ์ 6) การมีส่วนร่วมการพัฒนาสหกรณ์ ตามแผนงานของสหกรณ์ 7) การมีส่วนร่วมในการดูแลและตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ 8) แนวทางการพัฒนาให้สหกรณ์มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน นำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติ 1) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจบทบาท หน้าที่ และความ รับผิดชอบ ของกรรมการสหกรณ์ สามารถบริหารงานสหกรณ์ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 2) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และรับทราบสถานการณ์ ดำเนินงานของสหกรณ์ สามารถวางแผนการบริหารงานสหกรณ์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3) ผู้เข้าอบรมสามารถวางแผนการพัฒนาสหกรณ์ของตนเอง ให้ตรงตามสถานการณ์ดำเนินงาน และสภาพปัญหาปัจจุบัน ประชุม “แนวทางการกำกับและตรวจสอบสหกรณ์” ผ่านระบบ Zoom เจ้าของโครงการ : สำนักนายทะเบียนและกฎหมาย 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการประชุม สำนักนายทะเบียนสหกรณ์และกฎหมาย กำหนดจัดการประชุม เรื่อง แนวทางการกำกับและตรวจสอบ สหกรณ์ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระบบออนไลน์ (ระบบ Zoom ) โดยถ่ายทอดสัญญาณจากห้องประชุม กรมส่งเสริมสหกรณ์อาคาร 1 ชั้น 6 ไปยังจุดรับสัญญาณในพื้นที่จังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ ในวันที่ 21 เมษายน 2565 โดยกลุ่มเป้าหมาย คือ สหกรณ์จังหวัด ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 – 2 ผู้อำนวยการกลุ่มงาน ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ และผู้อำนวยการกลุ่มนิคมสหกรณ์


รายงานประจำปี 2565 - 68 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมทราบถึงแนวทางการ กำกับและตรวจสอบสหกรณ์ เป้าหมาย 1) สหกรณ์จังหวัด 2) ผู้อำนวยการกลุ่มงาน 3. ผลที่ได้รับจากการประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม ทราบถึงแนวทางการกำกับและตรวจสอบสหกรณ์การกำกับดูแลและส่งเสริม สหกรณ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวทางการตรวจสหกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับข้อบังคับ/ระเบียบของสหกรณ์/ ระเบียบ/คำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ เทคนิคการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ ข้อสังเกตทางการเงิน การบัญชี สหกรณ์ เทคนิคและวิธีการตรวจสอบสหกรณ์เมื่อพบเหตุไม่ปกติ เทคนิคการเขียนและการจัดทำรายงานการ ตรวจสอบ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ โครงการอบรมหลักสูตร “เข้าใจ เข้าถึง การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ขนาดใหญ่” ผ่านระบบ Zoom เจ้าของโครงการ : กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงินและร้านค้า 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการอบรม โดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้รับอนุมัติแผนงานและงบประมาณประจำปี 2565 ภายใต้แผนงานพื้นฐานด้าน สร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งบดำเนินงาน โครงการ พัฒนาศักยภาพบุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ หลักสูตร “เข้าใจ เข้าถึง การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ขนาดใหญ่” 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อจัดทำคู่มือส่งเสริมการบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ขนาดใหญ่ 2) เพื่อให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมให้สหกรณ์บริหารจัดการควบคุม ระดับความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน เป้าหมาย 1) บุคลากร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์


รายงานประจำปี 2565 - 69 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3. ผลที่ได้รับจากการฝึกอบรม เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์มีคู่มือใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมให้สหกรณ์บริหารจัดการควบคุมระดับ ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน และเป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงเป็นระบบและเป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ เพิ่มทักษะและความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร ข้อบังคับ และระเบียบของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตลอดจนการออกค่ำสั่งทาง ปกครอง การพิจารณาอุทธรณ์ การศึกษาคำพิพากษาที่ เกี่ยวข้อง และเสริมสร้างทักษะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์นำองค์ความรู้จากการ อบรมไปปฏิบัติ โครงการอบรม “การส่งเสริมสหกรณ์ให้ปฏิบัติตามกฎหมายการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน” ผ่านระบบ Zoom เจ้าของโครงการ : กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงินและร้านค้า 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการอบรม กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดทำโครงการอบรมการส่งเสริมสหกรณ์ให้ปฏิบัติตามกฎหมายการป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงินผ่านระบบออนไลน์ ด้วยโปรแกรม Zoom Meeting 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับกฎหมายการป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงินสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติของสำนักงาน ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 2) เพื่อให้สหกรณ์สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปจัดทำนโยบายหลัก จัดทำคู่มือปฏิบัติด้านต่างๆ และ สามารถดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และการป้องกันและ ปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่อานุภาพทำลายล้างสูง ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน เป้าหมาย สหกรณ์ จำนวน 7 สหกรณ์ เข้ารับการอบรมในรุ่นที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม 2565 ผ่านระบบ ออนไลน์ ด้วยโปรแกรม Zoom Meeting


รายงานประจำปี 2565 - 70 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3. ผลที่ได้รับจากการฝึกอบรม สหกรณ์ทั้ง 7 แห่ง ที่ได้รับการอบรมสามารถปฏิบัติตามกฎหมายการป้องกันและปราบปรามการฟอก เงินได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม การจัดทำนโยบายหลักด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน การจัดทำคู่มือและแนวทางการ ปฏิบัติงาน การประเมินความเสี่ยงด้านการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการ แพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูงและกำหนดมาตรฐานการบรรเทาความเสี่ยง การควบคุมภายใ น การทำรายงานธุรกรรม การเก็บรักษาข้อมูล/เอกสาร การปฏิบัติตามกฎหมายการฟอกเงินและการสนับสนุน ทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง นำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์และเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ มีความรู้ ความ เข้าใจในการดำเนินการตามกฎหมายการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง รวมทั้งเข้าใจการจัดทำนโยบายและคู่มือปฏิบัติด้วยการป้องกันและปราบ ปราบการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การแก้ปัญหาการทุจริตของสหกรณ์ใน สถานการณ์ปัจจุบัน” ผ่านระบบ Zoom เจ้าของโครงการ : สำนักนายทะเบียนสหกรณ์และกฎหมาย 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการอบรม โดยสำนักนายทะเบียนสหกรณ์และกฎหมาย กรมส่งเสริมสหกรณ์ ตระหนักถึงสภาพปัญหาของสถานการณ์ ในปัจจุบัน ที่เกิดการทุจริตในกระบวนการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ในฐานะเป็นเจ้าที่ ของรัฐในการกำกับ ดูแล แนะนำส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตร ต้องมีความรู้ ความสามารถ ให้ทันกับการ ดำเนินงานของสหกรณ์ มีทักษะเฉพาะที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับสหกรณ์ได้ จึงจำเป็นต้องมีการประชุม ถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาการทุจริตของสหกรณ์ในสถานการณ์ปัจจุบัน 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจแนวทางดำเนินงาน กำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบ สหกรณ์เกิดประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายตามแผนงาน 2) เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาการทุจริตของสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ เป้าหมาย สหกรณ์จังหวัด ผู้อำนวยการทุกกลุ่มงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์


รายงานประจำปี 2565 - 71 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3. ผลที่ได้รับจากการฝึกอบรม สหกรณ์ จำนวน 24 สหกรณ์ ที่มีข้อทุจริต ได้รับการแก้ไขปัญหา องค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้เพิ่มทักษะและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย สหกรณ์กฎหมายว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร ข้อบังคับ และระเบียบของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตลอดจนการออก ค่ำสั่งทางปกครอง การพิจารณาอุทธรณ์ การศึกษาคำพิพากษาที่เกี่ยวข้อง และเสริมสร้างทักษะและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์นำองค์ความรู้จากการอบรมไปปฏิบัติ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตรได้เข้าถึง องค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต เป้าหมาย ลูกหลานเกษตรกรที่มีความพร้อมจากผู้เข้าร่วมโครงการในปี 2563 จำนวน 7 ราย พื้นที่ดำเนินโครงการ ครัวเรือนโคกหนองนา นายสมชาย ใจแก้ว บ้านเลขที่ 34 หมู่ 10 ต.ร่วมจิต อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 2,560 2,560 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ จัดทำทะเบียนเกษตรกร และจัดทำแผนธุรกิจรายบุคคลตามแบบ ที่ กพก.กำหนด ราย 7 7 100 จัดประชุมลูกหลานเกษตรกรเป้าหมายเข้าร่วมประชุม เชิงปฏิบัติการสร้างทักษะในการประกอบอาชีพ ครั้ง 1 1 100


รายงานประจำปี 2565 - 72 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ แ น ะ น ำ ใ ห ้ ล ู ก ห ล า น เ ก ษ ต ร ก ร ท ี ่ เ ข ้ า ร ่ ว ม โ ค ร ง ก า ร สมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ และให้มีส่วนร่วมในการใช้บริการ หรือมีส่วนร่วมในการจัดหาสินค้ามาจำหน่าย การออม ก า ร ร ว บ ร ว ม ผ ล ผ ล ิ ต ห ร ื อ บ ร ิ ก า ร ด ้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบริหารงานสหกรณ์ ราย 7 7 100 แนะนำ ส่งเสริม ให้ลูกหลานเกษตรกรเป้าหมาย นำผลผลิต/สินค้า มาวางจำหน่ายในร้านสหกรณ์ และซูเปอร์มาเก็ตสหกรณ์ และร่วมกิจกรรมเชื่อมโยงกับโครงการอื่นของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ราย 7 7 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) ลูกหลานสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการมีอาชีพการเกษตรที่มั่นคงและมีรายได้จากการ ประกอบอาชีพการเกษตรที่สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืนภายใน 3 ปี 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สหกรณ์การเกษตรเป็นศูนย์กลางในการนำลูกหลานสมาชิกและบุคคลทั่วไปเข้ามาประกอบอาชีพ การเกษตร 2) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 ลูกหลานเกษตรกรเป้าหมายขาดแหล่งเงินทุนในการต่อยอดธุรกิจ 5.2 ลูกหลานเกษตรกรเป้าหมายขาดความรู้การจัดทำบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนการผลิต 5.3 ลูกหลานเกษตรกรเป้าหมายมีการเน้นการทำเกษตรเชิงเดี่ยว 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 แนะนำให้ลูกหลานเกษตรกรเป้าหมายสมัครสมาชิกสหกรณ์ 6.2 แนะนำแอพพลิเคชั่น SmartMe ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 6.3 แนะนำการทำการเกษตรแบบผสมผสานตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ ภาพกิจกรรม


รายงานประจำปี 2565 - 73 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน ▪ กิจกรรม : พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมการแปรรูปสินค้า เกษตรมาใช้ในการแปรรูปผลผลิตการเกษตร สร้างความหลากหลายของสินค้า รวมทั้งการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ดำเนินการ : อบรมการใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์/ การทำสื่อประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาด 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม การแปรรูปสินค้าเกษตรมาใช้ในการแปรรูปผลผลิตการเกษตร สร้างความหลากหลายของสินค้า รวมทั้ง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการตลาด 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพ และเพิ่มทักษะด้านการผลิต การรวบรวม การแปรรูป รวมทั้งการบริหาร จัดการ การผลิต การตลาดแก่สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้เป็นที่พึ่งในการแก้ไขปัญหา การตลาดสินค้าเกษตรในชุมชนและเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจการผลิตการตลาด เป้าหมาย 120 คน ประกอบด้วย 1) บุคลากรสหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 25 คน 2) บุคลากรสหกรณ์สหกรณ์ผู้เลี้ยงผึ้งอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 25 คน 3) บุคลากรสหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 25 คน 4) บุคลากรสหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 25 คน 5) เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่โครงการ จำนวน 5 คน/แห่ง จำนวน 4 แห่ง รวม 20 คน พื้นที่ดำเนินโครงการ ดำเนินโครงการในเขตพื้นที่ 4 อำเภอ ประกอบด้วย เขตอำเภอท่าปลา อำเภอลับแล อำเภอพิชัย และ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จำนวน 4 แห่ง ดังนี้ 1) สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ 3) สหกรณ์ผู้เลี้ยงผึ้งอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 4) สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์


รายงานประจำปี 2565 - 74 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 210,000 210,000 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์เข้าร่วมอบรมการใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยีการแปร รูปสินค้าเกษตร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์/การทำสื่อ ประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาด แห่ง 4 4 100 2. ผู้แทนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมอบรมการใช้นวัตกรรม/ เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์/ บรรจุภัณฑ์/การทำสื่อประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาด ราย 120 120 100 3. งบประมาณที่ใช้ในการอบรมการใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยี การแปรรูปสินค้าเกษตร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ / การทำสื่อประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาด ร้อยละ 100 100 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์ได้รับการพัฒนาศักยภาพการแปรรูปสินค้าเกษตร จำนวน 4 แห่ง 2) สินค้าเกษตรได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ จำนวน 4 ผลิตภัณฑ์ 3) ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ได้รับการพัฒนาสู่การผลิตและการตลาด จำนวน 4 ผลิตภัณฑ์ 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้ารับการอบรมมีองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตรสร้างมูลค่า การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า การวางแผนการตลาด การจัดจำหน่าย การส่งเสริม การขาย และการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ 2) สหกรณ์เป้าหมายมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ สามารถจำหน่ายได้ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 เกษตรกรชาวสวนลำไย มีการใช้สารเคมี ยาปราบศัตรูพืช ทำให้ผลผลิตน้ำผึ้งที่ได้มาตรฐานมีจำนวน ลดลง ยอดจำหน่ายเลยลดลง 5.2 บรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาใหม่มีต้นทุนสูงกว่าบรรจุภัณฑ์เดิม


รายงานประจำปี 2565 - 75 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 สหกรณ์ต้องการเงินทุนในการจัดหาวัสดุในการผลิต สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลผลิตหลัก : ผลไม้ / ผลิตภัณฑ์ที่พัฒนา : พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีเอกลักษณ์ ผลิตภัณฑ์ก่อนการพัฒนา ผลิตภัณฑ์หลังได้รับการพัฒนา สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลผลิตหลัก : ข้าว / ผลิตภัณฑ์ที่พัฒนา : Re Branding เพื่อจำหน่ายตลาดภายในประเทศ ผลิตภัณฑ์ก่อนการพัฒนา ผลิตภัณฑ์หลังได้รับการพัฒนา สหกรณ์ผู้เลี้ยงผึ้งอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลผลิตหลัก : น้ำผึ้ง / ผลิตภัณฑ์ที่พัฒนา : น้ำผึ้งบรรจุขวด ผลิตภัณฑ์ก่อนการพัฒนา ผลิตภัณฑ์หลังได้รับการพัฒนา


รายงานประจำปี 2565 - 76 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ จำกัด อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลผลิตหลัก : ประมง / ผลิตภัณฑ์ที่พัฒนา : เนื้อปลานิลแดดเดียวกึ่งสำเร็จรูป กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มทักษะด้านการผลิต การรวบรวม การแปรรูป รวมทั้งการบริหาร จัดการ การผลิต การตลาด แก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดำเนินการ 1. จัดประชุมเพื่อวางแผนและขับเคลื่อนการใช้อุปกรณ์การตลาดให้มีประสิทธิภาพ 2. จัดประชุมสรุปผลการขับเคลื่อนการใช้อุปกรณ์การตลาด 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อวางแผนและขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์อุปกรณ์การตลาดให้มีประสิทธิภาพ 2) เพื่อสรุปผลการขับเคลื่อนการใช้อุปกรณ์การตลาดที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ 3) เพื่อแนะนำ กำกับ ติดตาม การใช้อุปกรณ์การตลาดของสหกรณ์และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ เป้าหมาย 40 คน ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการดำเนินการ เจ้าหน้าที่ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด จำนวน 20 คน 2) คณะกรรมการดำเนินการ เจ้าหน้าที่ สมาชิกสหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ จำกัด จำนวน 20คน พื้นที่ดำเนินโครงการ ดำเนินโครงการในเขตพื้นที่ 2 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอลับแล และอำเภอพิชัย จำนวน 2 แห่ง ดังนี้ 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด 2) สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ จำกัด 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 30,400 30,400 100 ผลิตภัณฑ์ก่อนการพัฒนา ผลิตภัณฑ์หลังได้รับการพัฒนา


รายงานประจำปี 2565 - 77 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์เข้าร่วมประชุมเพื่อวางแผนและขับเคลื่อนการใช้ อุปกรณ์การตลาดให้มีประสิทธิภาพ แห่ง 2 2 100 2. ผู้แทนสหกรณ์เข้าร่วมประชุมเพื่อวางแผนและขับเคลื่อนการ ใช้อุปกรณ์การตลาดให้มีประสิทธิภาพ ราย 40 40 100 3. สหกรณ์เข้าร่วมประชุมสรุปผลการขับเคลื่อนการใช้อุปกรณ์ การตลาด แห่ง 2 2 100 4. ผู้แทนสหกรณ์เข้าร่วมประชุมสรุปผลการขับเคลื่อนการใช้ อุปกรณ์การตลาด ราย 40 40 100 5. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและเบิกจ่ายให้ เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนด ร้อยละ 100 100 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์มีแผนการขับเคลื่อนการใช้อุปกรณ์การตลาด จำนวน 2 แห่ง 2) สหกรณ์ใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดให้เกิดประสิทธิภาพ จำนวน 2 แห่ง 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ขับเคลื่อนการใช้อุปกรณ์การตลาดที่มีอยู่ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ทำให้ เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 อุปกรณ์การตลาดบางรายการที่เคยได้รับการอุดหนุนก่อนปี 2560 เช่น เครื่องสีข้าว ไม่เพียงพอต่อ กำลังการผลิต 5.2 สหกรณ์ฯ เคยทดลองทำการขายข้าวผ่านระบบออนไลน์ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จเนื่องจากผู้ซื้อ เห็นว่า ไม่คุ้มกับค่าขนส่ง 5.3 การขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานบางอย่าง เช่น การใช้อุปกรณ์ การขาดการมีส่วนร่วม ของสมาชิก การบริหารจัดการไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้การผลิตสินค้าไม่ต่อเนื่องและยังมีคุณภาพไม่เพียงพอ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 ให้คำแนะนำสหกรณ์ฯ ในการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ประจำดูแลอุปกรณ์การตลาด และตั้งเจ้าหน้าที่สำรองไว้ 2-3 คน เผื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน


รายงานประจำปี 2565 - 78 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 6.2 เพื่อให้สหกรณ์สามารถใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดที่ได้รับอุดหนุนได้อย่างเต็มศักยภาพ ควรส่งเสริมให้สหกรณ์ฯ ดำเนินการ ดังนี้ 1. มองหาช่องทางหรือตลาดใหม่ๆ เพื่อให้สินค้าเป็นที่รู้จัก มากขึ้น 2. เชื่อมโยงเครือข่ายกับสหกรณ์อื่น ในการช่วยจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ 3. ขอ อย. ให้กับตัวสินค้าเพื่อทำให้สินค้ามีคุณภาพได้ตาม มาตรฐานการบริโภค กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานให้มีความพร้อมก่อนการลงไปปฏิบัติหน้าที่แนะนำ ส่งเสริมพัฒนา และกำกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรให้มีความเข้มแข็ง และเพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ตามศักยภาพสามารถเป็นที่พึ่งของสมาชิก 2) เพื่อพัฒนาบุคลากรในการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง โดยดำเนินการใน 4 ด้าน ได้แก่ การเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการสมาชิก การเพิ่มประสิทธิภาพ การดำเนินธุรกิจ ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร และประสิทธิภาพการบริหารงาน รวมถึงการผลิตสื่อ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของหน่วยงาน เป้าหมาย บุคลากรสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ที่มีหน้าที่ในการแนะนำ ส่งเสริมพัฒนา และกำกับสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร ประกอบด้วย ข้าราชการ พนักงานราชการ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน พื้นที่ดำเนินโครงการ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ และวิทยาลัยสารพัดช่างอุตรดิตถ์ อำเภอเมือง อุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 42,670 42,670 100.00 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการได้รับความรู้ในการพัฒนาศักยภาพ การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อดำเนินการใน ราย 50 50 100.00


รายงานประจำปี 2565 - 79 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 4 ด้าน ได้แก่ การเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการสมาชิก การ เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ ประสิทธิภาพในการจัดการ องค์กร และประสิทธิภาพการบริหารงาน 2. ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้การใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยี/การทำ สื่อประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ราย 50 50 100.00 3. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและเบิกจ่ายให้ เป็นไปตามเป้าหมายละวัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนด ร้อยละ 100 100 100.00 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการได้รับความรู้ในการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร เพื่อดำเนินการใน 4 ด้าน ได้แก่ การเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการสมาชิก การเพิ่ม ประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร และประสิทธิภาพการบริหารงาน จำนวน 50 คน 2) ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้การใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยี/การทำสื่อประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์จำนวน 50 คน 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการสามารถนำความรู้ในการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร โดยดำเนินการใน 4 ด้าน ได้แก่ การเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการสมาชิก การเพิ่ม ประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร และประสิทธิภาพการบริหารงาน เพื่อให้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 2) ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้การใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยี/การทำสื่อประชาสัมพันธ์และ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนภารกิจของหน่วยงาน


รายงานประจำปี 2565 - 80 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office โครงการเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อใช้รูปแบบการเกษตรแบบผสมผสานเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งของเกษตรกรในการดำรงชีพ ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร ส่งผลให้สมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีผลผลิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น 2) เพื่อสนับสนุนให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้นำแนวทางการทำเกษตรผสมผสานลักษณะ เกษตรปลอดภัยมาปรับใช้ในการดำเนินกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่ของตนเองตามความเหมาะสม โดยการ ถ่ายทอดความรู้การทำเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัยให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 222 ราย จำนวน 9 แห่ง และเจ้าหน้าที่ จำนวน 16 ราย จำนวน 8 รุ่น (จำนวน 20 - 30 ราย/รุ่น) ดังนี้ รุ่นที่ 1 สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเตาไหใต้ จำกัด 36 คน เจ้าหน้าที่โครงการ 2 คน รวม 38 คน รุ่นที่ 2 สมาชิกสหกรณ์การเกษตรทองแสนขัน จำกัด 11 คน เจ้าหน้าที่โครงการ 2 คน รวม 13 คน สมาชิกสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินหนองกอก จำกัด 8 คน สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้านหม้อ จำกัด 9 คน คน รวมทั้งสิ้น 34 คน รุ่นที่ 3 สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์ จำกัด 30 คน เจ้าหน้าที่โครงการ 2 คน รวม 32 คน รุ่นที่ 4 สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์ จำกัด 33 คน เจ้าหน้าที่โครงการ 2 คน รวม 35 คน รุ่นที่ 5 สมาชิกสหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าคอรุม จำกัด 25 คน เจ้าหน้าที่โครงการ 2 คน รวม 27คน รุ่นที่ 6 สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด 27 คน เจ้าหน้าที่โครงการ 2 คน รวม 29 คน รุ่นที่ 7 สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด 20 คน เจ้าหน้าที่โครงการ 2 คน รวม 22 คน สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้านหนองหมู จำกัด 3 คน รวมทั้งสิ้น 25 คน รุ่นที่ 8 สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด 20 คน เจ้าหน้าที่โครงการ 2 คน รวม 22 คน 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 388,200.00 388,200.00 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทำการเกษตร ปลอดภัย แห่ง 9 9 100


รายงานประจำปี 2565 - 81 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 2. จำนวนพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน ไร่ 1,110 1,110 100 3. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมทำการเกษตร ปลอดภัย ราย 222 222 100 4. สมาชิกที่ผ่านการอบรมได้มีการปรับเปลี่ยนไปทำ การเกษตรปลอดภัย ราย 222 222 100 5. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมี รายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 ราย 222 222 100 6. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรม หลัก เบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของ โครงการที่กำหนด แห่ง 9 9 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้รูปแบบเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัย ในการผลิตการเกษตร ที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มรายได้รวมทั้งลดการใช้สารเคมีในพื้นที่ สมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรที่ทำการผลิตแบบเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัย สามารถประกอบอาชีพ ในถิ่นฐานได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ระยะเวลาในการดำเนินโครงการน้อยเกินไป และอยู่ในช่วงมาตรการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ กลุ่มฯ ไม่สามารถจัดโครงการตามกำหนดได้ 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข กรมส่งเสริมควรจัดสรรงบประมาณและแจ้งแผนการปฏิบัติงานโครงการให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตั้งแต่ ไตรมาสแรก เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบวางแผนการดำเนินงานต่อไป


รายงานประจำปี 2565 - 82 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรกรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตร สู่มาตรฐาน (GAP) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการสร้างระบบการรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นในการผลิต สินค้าเกษตรปลอดภัย และเพื่อส่งเสริมการจัดทำฐานข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัยร่วมกับสมาชิก 2) เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการสร้างระบบการรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นในการผลิต สินค้าเกษตรปลอดภัย และเพื่อส่งเสริมการจัดทำฐานข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัยร่วมกับสมาชิกของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด ผลผลิต : ลองกอง 2) สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด ผลผลิต : มะม่วงหิมพานต์ พื้นที่ดำเนินโครงการ 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลำน้ำน่าน จำกัด 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 151,500 151,500 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ จัดทำฐานข้อมูลด้านสินค้าผักและผลไม้ปลอดภัย ร่วมกับสมาชิกที่ได้รับมาตรฐาน GAP รวมทั้งปรับปรุง และ จัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติมจากฐานข้อมูลเดิมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และจัดทำฐานข้อมูลด้านการเกษตร ปลอดภัยร่วมกับสมาชิกที่ได้รับมาตรฐานในปี 2565 แห่ง/ราย 2/138 2/138 100 อบรมให้ความรู้ด้านการสร้างระบบรับรองมาตรฐานเพื่อสร้าง ความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้าปลอดภัย แห่ง/ราย 2/69 2/69 100 แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสนับสนุนการผลิต และรวบรวมผลผลิตเกษตรปลอดภัยของสมาชิก เพื่อเพิ่ม ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และเพิ่มรายได้ของ สมาชิก (ด้านสินค้าเกษตรปลอดภัย) แห่ง 2 2 100


รายงานประจำปี 2565 - 83 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) อัตราการขยายตัวของมูลค่าของสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัวอย่างน้อยร้อยละ 3 2) ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัวอย่างน้อยร้อยละ 3 3) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยอย่างน้อยร้อยละ 3 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผลิตสินค้ามีคุณภาพได้มาตรฐานความปลอดภัยตรงตามความ ต้องการของตลาด 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 เกษตรกรเป้าหมายขาดความรู้เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีต้นทุนการผลิต บางรายจัดทำบัญชีต้นทุนการ ผลิตไม่ต่อเนื่อง 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 แนะนำแอพพลิเคชั่น SmartMe ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์


รายงานประจำปี 2565 - 84 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “เชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตและการตลาดสินค้าคุณภาพ (สินค้าผลไม้)” ผ่านระบบ Zoom เจ้าของโครงการ : กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร 1. สาระสำคัญของเนื้อหาของการประชุม การบริหารจัดการผลไม้คุณภาพของสถาบันเกษตรกร และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมทั้ง ประสบการณ์ในการเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ดำเนินธุรกิจรวบรวมและจำหน่าย ผลไม้ พร้อมทั้งจัดเวทีเจรจาทางการค้าเพื่อซื้อขายและเปลี่ยนผลผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ตลาดสินค้าเกษตรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรและสร้างพันธมิตรทางการค้า 2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 1) ลูกค้าได้บริโภคสินค้าคุณภาพจากแหล่งผลิตโดยตรง 2) ดูดซับผลผลิตจากสมาชิกไม่น้อยกว่า 5,000 ตัน ยกระดับราคาให้เป็นไปตามกลไกตลาด 3) สถาบันเกษตรกรเป็นศูนย์กลางรวบรวมผลผลิต เป้าหมาย 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด 3. ผลที่ได้รับจากการประชุม สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีการเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการกระจายผลผลิต รวมทั้งการรวมกลุ่มเพื่อ จัดซื้อบรรจุภัณฑ์ในราคาต้นทุน โครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 2) เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างร้านค้าสหกรณ์และเครือข่ายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผู้ผลิตสินค้า เป้าหมาย 1) ผู้แทนของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ จำกัด


รายงานประจำปี 2565 - 85 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 2) ผู้แทนของสหกรณ์เครือข่ายผู้ผลิต จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรนิคมฯลำน้ำน่าน จำกัด สหกรณ์ผู้เลี้ยงผึ้งจังหวัดอุตรดิตถ์ จำกัด ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรอุตรดิตถ์ จำกัด ชุมนุมสหกรณ์เมืองพิชัย จำกัด เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และผู้รับผิดชอบโครงการ รวมทั้งสิ้นจำนวน 20 คน พื้นที่ดำเนินโครงการ ดำเนินโครงการในเขตพื้นที่ 3 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอลับแล อำเภอตรอน และอำเภอพิชัย จำนวน 3 แห่ง ดังนี้ 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตรเมืองตรอน จำกัด 3) สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ จำกัด 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 3,800 3,800 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ร้านค้าสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาและส่งเสริมการ ดำเนินธุรกิจ แห่ง 3 3 100 สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการเชื่อมโยงนำสินค้าจากสมาชิก และเครือข่ายสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร มาจำหน่ายผ่าน ซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ร้อยละ 80 80 100 ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและเบิกจ่ายให้ เป็นไปตามเป้าหมายละวัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนด ร้อยละ 100 100 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) มูลค่าธุรกิจจัดกาสินค้ามาจำหน่ายของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ขยายโอกาสทางการตลาดสินค้าสหกรณ์ ผ่านซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 5.1 การแข่งขันจากภาคธุรกิจเอกชนรายใหญ่ เช่น ห้างสรรพสินค้า บางครั้งมีปัญหาเรื่องต้นทุน 5.2 ประสิทธิภาพการจัดการ เพราะขาดการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากภาครัฐและองค์การ สหกรณ์เอง


รายงานประจำปี 2565 - 86 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 เน้นการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรและระบบงานอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังงานทางสังคม โครงการส่งเสริมการสหกรณ์ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะด้านการสหกรณ์ และสร้างลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ สหกรณ์สร้างจิตสำนึกในการทำงานร่วมกันให้เด็กนักเรียนและประชาชน จนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2) เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในถิ่นทุรกันดารในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริให้สามารถ ช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามวิธีการสหกรณ์ในการยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 3) เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการครองชีพ มุ่งเน้นการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน รวมทั้งในด้านการป้องกันและลดความเสียหายจากภัย ธรรมชาติต่าง ๆ เป้าหมาย เกษตรกรและกลุ่มชาวบ้านที่อยู่ในพื้นที่โครงการ “รักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน” ในพื้นที่ลุ่มน้ำลี จังหวัดอุตรดิตถ์ พื้นที่ดำเนินโครงการ พื้นที่โครงการ “รักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน” ในพื้นที่ลุ่มน้ำลี แยกเป็นในพื้นที่ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ พื้นที่ตำบลน้ำหมัน จำนวน 12 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1


รายงานประจำปี 2565 - 87 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office บ้านปางหมิ่น, หมู่ที่ 2 บ้านวังหัวดอย, หมู่ที่ 3 บ้านน้ำหมันกลาง, หมู่ที่ 4 บ้านนาต้นโพธิ์, หมู่ที่ 5 บ้านน้ำหมันใต้, หมู่ที่ 6 บ้านน้ำลี, หมู่ที่ 7 บ้านผาลาด, หมู่ที่ 8 บ้านน้ำต๊ะ, หมู่ที่ 9 บ้านน้ำหมันเหนือ, หมู่ที่ 10 บ้านทรายงาม, หมู่ที่ 11 บ้านปางหมิ่นเหนือ และหมู่ที่ 12 บ้าน และในพื้นที่ตำบลจริม อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 1 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 11 บ้านกิ่วเคียน 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 8,100 8,100 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1.กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับ การส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ กลุ่ม ชาวบ้าน 1 1 100 2. จัดทำประชุมกลุ่มชาวบ้านเพื่อวางแผนการดำเนินกิจการมของ กลุ่มพัฒนาอาชีพเกษตรด้านการผลิต การตลาดในรูปแบบสหกรณ์ กลุ่ม ชาวบ้าน 1 1 100 3. จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มชาวบ้าน ให้เป็นปัจจุบัน แห่ง 1 1 100 4. ผลลัพธ์ 4.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) จัดประชุมกลุ่มชาวบ้าน จำนวน 1 ครั้ง 20 ราย 2) มีฐานข้อมูลกลุ่มชาวบ้าน จำนวน 1 กลุ่ม 4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) กลุ่มชาวบ้านมีแผนการดำเนินงานในการพัฒนาอาชีพ เพื่อ เป็นแนวทางในการดำเนินการของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ 2) เกษตรกรนำความรู้ในการรวมกลุ่มไปประยุกต์ใช้ให้การ บริหารจัดการกลุ่มให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 6.1 กลุ่มยังไม่สามารถจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ได้ เนื่องจากกลุ่มมี ปริมาณธุรกิจที่ไม่เพียงพอในการจัดตั้งเป็นสหกรณ์ และไม่มีเจ้าหน้าที่ จัดทำบัญชีสหกรณ์


รายงานประจำปี 2565 - 88 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Cooperative Office โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างสมดุล ในด้านพุทธิ ศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา ด้วยกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ มีความรักและหวงแหน ทรัพยากรธรรมชาติ ภาคภูมิใจในความเป็นไทย และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติได้ 2) เพื่อขยายการพัฒนาจากโรงเรียนสู่ชุมชน ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ ครอบครัว และชุมชนเกิดการพัฒนาช่วยเหลือสนับสนุนการพัฒนาเด็กและเยาวชนและโรงเรียนไปพร้อม ๆ กัน 3) เพื่อผลักดันให้สถานศึกษาพัฒนาเป็นศูนย์บริการความรู้ให้แก่ผู้ปกครองและชุมชน และเพิ่มขีด ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการพัฒนาให้แก่สถานศึกษาจากประเทศต่าง ๆ เพื่อนำไป ประยุกต์ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่ สร้างความร่วมมือและเครือข่ายเชื่อมโยงประเทศ เป้าหมาย คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน ผู้ตรวจสอบกิจการ สมาชิกสหกรณ์นักเรียน ผู้บริหารโรงเรียน และ ครูผู้สอนวิชาสหกรณ์ ของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยอดโพธิ์ทอง 1 และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน บุญธรรม-บุญพริ้ง พื้นที่ดำเนินโครงการ 1) โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยอดโพธิ์ทอง 1 ตำบลบ่อเบี้ย อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบุญธรรม-บุญพริ้ง ตำบลบ่อเบี้ย อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 22,600 22,600 100 3. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. โรงเรียนในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้รับ การส่งเสริมและพัฒนาด้านความรู้การสหกรณ์ โรงเรียน 2 2 100 2. จัดกิจกรรมทัศนศึกษาเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการ สหกรณ์แก่นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน สมาชิกสหกรณ์ ราย 30 30 100 3. ประเมินผลการเรียนเด็กนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน 2 2 100


Click to View FlipBook Version