The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานรัชกาลที่6-10

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ger Kissapong, 2022-12-27 01:23:27

งานรัชกาลที่6-10

งานรัชกาลที่6-10

เหตุการณ์การเมอื งและการปกครองในสมยั ร.6 – ปจั จบุ นั
เหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองทีส่ าคญั ในรชั สมยั ของรชั กา

ลที่ 6

ความขดั แยง้ ของจกั รวรรดใิ นยุโรปกอ่ ตวั เป็ นสงครามโลกครง้ั ที่ 1
ซงึ่ ในชว่ งแรกสยามยงั คงวางตวั เป็ นกลางในสงครามนี้
กอ่ นทพี่ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ ฯ จะประกาศเขา้ รว่ มสงครามโลกครง้ั ที่ 1
กบั ฝ่ ายสมั พนั ธมติ รในวนั ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460
ถือเป็ นการประกาศสงครามกบั จกั รวรรดเิ ยอรมนีและจกั รวรรดอิ อสเตรีย -
ฮงั การอี ยา่ งเป็ นทางการ สงครามโลกครง้ั ที่ 1
จบลงโดยฝ่ ายสมั พนั ธมติ รเป็ นผชู้ นะ
สยามจงึ อยใู่ นกลมุ่ ประเทศผชู้ นะสงครามและมีโอกาสแกไ้ ขสนธสิ ญั ญาทเี่ สยี เ
ปรยี บหลายฉบบั เชน่ ยกเลกิ การสทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขตกบั สหรฐั อเมรกิ า
ยกเลกิ สนธสิ ญั ญาเบาว์รงิ
นอกจากนี้ไทยยงั เขา้ รว่ มเป็ นสมาชกิ ขององค์การสนั นิบาตชาติ
และไดร้ บั การยอมรบั มากขน้ึ ในระดบั นานาชาติ

เหตุการณ์ทางการเมอื งการปกครองทีส่ าคญั ในรชั สมยั ของรชั กา
ลที่ 7

คณะราษฎรและการเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

หลงั จากปกครองดว้ ยระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชยม์ าอยา่ งยาวนาน
จดุ เปลยี่ นของการปกครองไทยก็มาถงึ
เมอื่ คณะราษฎรทาการปฏวิ ตั เิ ปลยี่ นแปลงการปกครองในเชา้ วนั ที่ 24
มถิ ุนายน พ.ศ. 2475
สาเหตทุ นี่ าไปสกู่ ารเปลยี่ นแปลงการปกครองมอี ยหู่ ลายประการดว้ ยกนั เชน่

1. ความบกพรอ่ งของการปกครองในระบอบเกา่
รวมถงึ ระบอบอปุ ภมั ภใ์ นหมขู่ นุ นางราชสานกั
ทสี่ ง่ ผลใหผ้ ทู้ มี่ ีความสามารถอยา่ งแทจ้ รงิ ไมม่ โี อกาสไดเ้ ขา้ ไปบรหิ ารแล
ะพฒั นาบา้ นเมือง

2. ผลจากการเปิ ดประเทศมากขนึ้ และชาวไทยทีม่ ีโอกาสไปศกึ ษาในตา่ งปร
ะเทศ
ทาใหแ้ นวคดิ เกยี่ วกบั อุดมการณ์ประชาธปิ ไตยจากโลกตะวนั ตกเตบิ โตใ
นไทยมากขน้ึ

3. อทิ ธพิ ลจากสอื่ อสิ ระจากสมยั รชั กาลที่ 6
ทวี่ พิ ากษ์ปญั หาบา้ นเมอื งอยา่ งตรงไปตรงมา
ทาใหก้ ารเผยแพรแ่ นวคดิ เกยี่ วกบั ประชาธปิ ไตยของนกั คดิ นกั เขียนตา่ ง
ๆ เป็ นไปอยา่ งเสรี และเขา้ ถงึ ประชาชนมากขนึ้

4. เศรษฐกจิ ยุโรปเสียหายจากสงครามโลกครง้ั ที่ 1
ทาใหก้ ารคา้ การสง่ ออกของไทยเป็ นไปอยา่ งยากลาบาก
เมอื่ รวมกบั ปญั หาภยั แลง้ และน้าทว่ มใหญท่ สี่ ง่ ผลเสยี ตอ่ ภาคการเกษตร
ประเทศไทยจงึ เผชญิ หน้ากบั วกิ ฤตเิ ศรษฐกิจทคี่ ณะบรหิ ารก็ไมส่ ามารถ
แกไ้ ขได้

การปฏวิ ตั สิ ยาม พ.ศ. 2475 จงึ เรม่ิ ขนึ้ โดยคณะราษฎร
ประกอบดว้ ยกลมุ่ ทหารและพลเรอื น
ฝ่ ายทหารนาโดยพนั เอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา ฝ่ ายพลเรอื นนาโดยนายปรดี ี
พนมยงค์ (หลวงประดษิ ฐ์มนูธรรม)
คณะราษฎรดาเนินการยดึ กรมไปรษณียโ์ ทรเลขเพอื่ ตดั ขาดชอ่ งทางการสอื่ สา
รระหวา่ งพระบรมวงศานุวงศแ์ ละสมาชกิ ฝ่ ายบรหิ ารอาวโุ ส
และมีการจบั กมุ พระบรมวงศานุวงศไ์ วเ้ ป็ นองค์ประกนั เพอื่ ความสงบเรยี บรอ้ ย
ของบา้ นเมืองและเพอื่ ป้ องกนั ไมใ่ หม้ กี ารเสยี เลอื ดเน้ือ
พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ ทรงยนิ ยอมปฏบิ ตั ติ ามขอ้ เสนอของค
ณะราษฎร เมอื่ การเปลยี่ นแปลงการปกครองสาเร็จ
คณะราษฎรจงึ ประกาศหลกั 6 ประการ อนั ประกอบไปดว้ ย

1. หลกั เอกราช: จะตอ้ งรกั ษาความเป็ นเอกราชทง้ั หลาย เชน่
เอกราชในบา้ นเมอื ง ในทางศาล ในทางเศรษฐกจิ ฯลฯ
ของประเทศไวใ้ หม้ ่นั คง

2. หลกั ความปลอดภยั : จะรกั ษาความปลอดภยั ในประเทศ
ใหก้ ารประทษุ รา้ ยตอ่ กนั ลดน้อยลงใหม้ าก

3. หลกั เศรษฐกจิ : จะตอ้ งบารงุ ความสมบรู ณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกจิ
โดยรฐั บาลใหมจ่ ะหางานใหร้ าษฎรทกุ คนทา
จะวางโครงการเศรษฐกจิ แหง่ ชาติ ไมป่ ลอ่ ยใหร้ าษฎรอดอยาก

4. หลกั เสมอภาค: จะตอ้ งใหร้ าษฎรมสี ทิ ธเิ สมอภาคกนั
(ไมใ่ ชใ่ หพ้ วกเจา้ มสี ทิ ธยิ งิ่ กวา่ ราษฎรเชน่ ทเี่ ป็ นอยู่)

5. หลกั เสรีภาพ: จะตอ้ งใหร้ าษฎรไดม้ เี สรภี าพ มคี วามเป็ นอสิ ระ
เมอื่ เสรีภาพนี้ไมข่ ดั ตอ่ หลกั 4 ประการดงั กลา่ วขา้ งตน้

6. หลกั การศกึ ษา: จะตอ้ งใหก้ ารศกึ ษาแกร่ าษฎร
(ซงึ่ เป็ นจุดเรม่ิ ตน้ ในการกอ่ ตง้ั มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์และการเมือง

เหตกุ ารณ์ทางการเมืองการปกครองทีส่ าคญั ในรชั สมยั ของรชั กาลที่
8

ดา้ นการปกครอง

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหดิ ล
ขน้ึ ครองราชย์เป็ นประมขุ ของประเทศภายใตก้ ารปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภา
ดา้ นการเมอื งการปกครองประเทศจงึ ขนึ้ อยูก่ บั รฐั บาลเป็ นผบู้ รหิ ารประเทศ
ซง่ึ ขณะขนึ้ ครองราชสมบตั นิ น้ั ตรงกบั รฐั บาลในสมยั ของ
พนั เอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา เป็ นนายกรฐั มนตรี
ขณะทขี่ นึ้ ครองรายน์ น้ั พระองคย์ งั ไมบ่ รรลนุ ิตภิ าวะ
รฐั บาลจงึ ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะผสู้ าเร็จราชการแทนพระองคป์ ระกอบดว้ ย
1. กรมหมนื่ อนุวตั รจาตรุ นต์ เป็ นประธาน
2. พระบรมวงศ์เธอพระองค์เจา้ อาทติ ยท์ พิ อาภา
3. เจา้ พระยายมราช ( ปน้ั สขุ ุม )

กรมหมนื่ อนุวตั รจา พระองค์เจา้ อาทติ เจา้ พระยายมราช ( ปน้ั สขุ มุ )
ตรุ นต์
ย์ทพิ อาภา

ตอ่ มาในเดอื นสงิ หาคม 2478 กรมหมนื่ อนุวตั รจาตรุ นต์
ไดป้ ลงพระชนมช์ ีพตนเอง รฐั บาลจงึ แตง่ ตง้ั ให้
พระบรมวงศ์เธอพระองคเ์ จา้ อาทติ ยท์ พิ อาภา เป็ นประธาน
และแตง่ ตง้ั ผสู้ าเร็จราชการเพม่ิ อกี 1 ทา่ นคอื เจา้ พระยา พชิ เยนทรโยธนิ (
อมุ่ อนิ ทรโยธนิ ) ตอ่ มาเจา้ พระยายมราช ( ป้นั สขุ ุม )
ถงึ อสญั กรรมจงึ แตง่ ตง้ั นายปรีดี พนมยงค์ เป็ นผสู้ าเร็จราชการ
ภายหลงั เจา้ พระยาพชิ เยนทรโยธนิ ถงึ อสญั กรรม
พระบรมวงศ์เธอพระองคเ์ จา้ อาทติ ยท์ พิ อาภา ลาออก จงึ เหลือ นายปรดี ี
พนมยงค์ เป็ นผสู้ าเร็จราชการผเู้ ดยี วตลอดมา จนกระท่งั

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหดิ ล ทรงบรรลนุ ิตภิ าวะ

พนั เอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา (นายพจน์ พหลโยธนิ )
การบรหิ ารประเทศภายใตก้ ารนาของ พนั เอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา
เป็ นนายกรฐั มนตรี ( 2477 – 2481 ) ภายในระยะเวลา 5 ปี
เหตกุ ารณ์ภายในประเทศสงบเรียบรอ้ ย
รฐั บาลสามารถประสานงานใหใ้ หฝ้ ่ ายทหารและฝ่ าย พลเรอื น
ทางานรว่ มกนั ไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ผลงานช้ินสาคญั คอื การเจรจาใหส้ หรฐั อเมรกิ า
และประเทศในทวปี ยโุ รป ยกเลกิ สนธสิ ญั ญาทไี่ มเ่ สมอภาค
ทไี่ ทยทาไวต้ ง้ั แตส่ มยั รชั กาลที่ 4 ลงได้ ทาใหไ้ ทยไดเ้ อกราชทางการศาลและ
การคา้ กลบั คนื มาโดยสมบูรณ์
บุคคลสาคญั ทชี่ ว่ ยเหลือไทยในการแกไ้ ขสญั ญาทไี่ มเ่ ป็ นธรรมนี้คือ ดร.
ฟรานซสี บี แซร์ ( พระยากลั ยา ณ ไมตรี )

เหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองทสี่ าคญั ในรชั สมยั ของรชั กาลที่
9

เมอื่ วนั ที่ 9 มถิ นุ ายน 2489

พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหติ ลาธเิ บศรามาธบิ ดี
จกั รนี ฤบดนิ ทรสยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร (ภปร.)

พระมหากษตั รยิ พ์ ระองคป์ จั จุบนั เสด็จเถลงิ ถวลั ยราชสมบตั ิ
ตามกฎมณเฑยี รบาลวา่ ดว้ ยการสบื สนั ตตวิ งศ์พ.ศ.2467

โดยดว้ ยความเหน็ ชอบของสภาผแู้ ทนราษฎร

ตอ่ มาเมอื่ วนั ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
พระองคไ์ ดเ้ สด็จขนึ้ สพู่ ระราชพธิ ีบรมราชา-
ภเิ ษกเป็ นพระมหากษตั รยิ พ์ ระองคท์ ี่ 9 แหง่ พระบรมราชจกั รีวงศ์

ในวนั นน้ั เอง ทรงเปลง่ พระปฐมบรมราชโองการวา่

“เราจะปกครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพอื่ ประโยชน์สขุ แหง่ มหาชนชาวสยาม”
พระปฐมบรมราชโองการดงั กลา่ วถอื เป็ นประถมธรรมกิ ราชวาจาและเป็ นพระ

ราช-
สตั ยาธษิ ฐานจะทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณียกจิ ปกครองราชอาณาจกั รไทยโดยท

ศพธิ ราชธรรม

โดยทพี่ ระมหากษตั รยิ ์ รชั กาลที่ 9
ทรงเสด็จขน้ึ ครองราชยภ์ ายหลงั การเปลีย่ นแปลง การเมอื งการปกครอง พ.ศ.
2475 เพยี ง 14 ปี พระองคจ์ งึ ทรงครองราชยภ์ ายใตก้ ารปกครองใน

ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็ นประมขุ
ซงึ่ พระราชอานาจของพระมหา -

กษตั รยิ ์ไทยไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปภายหลงั จากการเปลยี่ นแปลงการเมืองการปกค
รอง พ.ศ. 2475 พระองค์จงึ มไิ ดท้ รงมีพระบรมเดชานุภาพจากความกลา้ หาญ
ความสามารถในการรบ การทาสงคราม

หรอื การแผข่ ยายพระราชอาณาจกั รอยา่ งกวา้ งใหญ่
แตพ่ ระองคเ์ ป็ นพระมหากษตั รยิ ผ์ ทู้ รงอนั ใกลช้ ิดกบั ประชาชนทง้ั ประชาชนใ

นกรงุ เทพฯ ในเมือง ในชนบท และผูอ้ ยหู่ า่ งไกล โดยทรี่ ฐั ธรรมนูญ
แหง่ ราชอาณาจกั รไทย บญั ญตั ใิ หอ้ านาจอธปิ ไตยเป็ นของปวงชนชาวไทย

พระมหากษตั รยิ ผ์ ทู้ รงเป็ นประมขุ ทรงใช้อานาจนน้ั ทางรฐั สภา คณะรฐั มนตรี
และศาล

พระราชกรณียกจิ และพระราชจรยิ าวตั รของพระองคม์ ีมากมายเป็ นทปี่ ระจกั ษ์
แกพ่ สกนิกรทง้ั ประเทศ เพราะพระองคท์ รงปฏบิ ตั ทิ ง้ั พระราช

กรณียกจิ ตามรฐั ธรรมนูญ และการบาบดั ทกุ ขบ์ ารงุ สขุ
ทรงรว่ มทกุ ขร์ ว่ มสุขกบั ประชาชนชาวไทยไมเ่ วน้ แมแ้ ตร่ าษฎรในถนิ่ ทุรกนั ด
าร พระองคท์ รงมพี ระบรมเดชานุภาพแผไ่ พศาล

ปกป้ องคมุ้ ครองประเทศชาตแิ ละประชาชนใหต้ ง้ั อยใู่ นความมน่ ั คง
ความเป็ นปกตสิ ขุ และความจรญิ กา้ วหน้าตามแนวทฤษฎเี ศรษฐกจิ พอเพยี ง
พระองคจ์ งึ เป็ นพระมหากษตั รยิ ท์ ที่ รงความสาคญั ตอ่ การให“้ ประชาชนพงึ่ ตนเ
อง” แตพ่ ระองค์เองก็ “ทรงเป็ นทพี่ งึ่ ของประชาชนท่วั ประเทศ”

ตลอด 60 ปี แหง่ การครองราชย์
พระองคท์ รงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณียกจิ ในการพฒั นา
บา้ นเมืองใหเ้ จรญิ กา้ วหน้า
แมว้ า่ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยบญั ญตั ใิ หป้ ระเทศไทย
มีการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็ นประมขุ
แตพ่ ระองคก์ ็ทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณียกจิ และพระราชจรยิ าวตั รตามกรอบแห่

งกฎหมายโดยยดึ หลกั ทศพธิ ราชธรรมไดอ้ ยา่ งมศี ลิ ปะและมคี วามสงา่ งามเป็ น
อยา่ งยงิ่
พระองคท์ รงเป็ นสญั ลกั ษณ์ทยี่ ดึ เหนีย่ วจติ ใจของประชาชนชาวไทยทง้ั ประเท
ศ ทรงเป็ นพระมหากษตั รยิ ท์ เี่ ปี่ ยมลน้ ไปดว้ ยพระเมตตา
และพระปญั ญาทแี่ หลมและสขุ มุ รอบคอบ
พระองค์ทรงมบี ทบาทสาคญั ในการแกไ้ ขปญั หาวกิ ฤตของบา้ นเมอื งภายใต้
กรอบการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์เป็ นประมุขเ
ป็ นจรรโลงการเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยใหค้ งอยตู่ อ่ ไป

เหตกุ ารณ์ทางการเมอื งการปกครองทีส่ าคญั ในรชั สมยั ปจั จุบนั

ประเทศไทยเป็ นรฐั เดยี่ วซง่ึ มีการปกครองในกรอบประชาธปิ ไตยระบบรั
ฐสภาภายใตร้ าชาธปิ ไตยภายใตร้ ฐั ธรรมนูญ โดยทพี่ ระมหากษตั รยิ ์ ซง่ึ ปจั จบุ ั
นคอื พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เป็ นประมุขแหง่ รฐั สว่ นนายกรฐั
มนตรี ซง่ึ ปจั จบุ นั คือประยทุ ธ์
จนั ทร์โอชา เป็ นหวั หน้ารฐั บาล รฐั บาลไทยเป็ นผใู้ ช้อานาจบรหิ าร อานาจนิตบิ ั
ญญตั อิ ยกู่ บั รฐั สภาไทย ซงึ่ แบง่ เป็ นสองสภาไดแ้ ก่ สภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ สิ
ภา ฝ่ ายตุลาการเป็ นอสิ ระจากฝ่ ายบรหิ ารและนิตบิ ญั ญตั ิ
โดยมปี ระธานศาลฎกี า ประธานศาลปกครองสูงสุด
และประธานศาลรฐั ธรรมนูญเป็ นประมขุ ในสว่ นของตน

ระบบการเมืองของไทยสว่ นใหญอ่ ยใู่ นระบบหลายพรรคการเมือง
ทาใหเ้ กดิ รฐั บาลผสมและรฐั บาลฝ่ ายขา้ งน้อยซง่ึ เป็ นคุณลกั ษณะทีเ่ กดิ ไดบ้ างค
รง้ั ในการเมอื งระบบรฐั สภา
ระบบการเลือกตง้ั แบบแบง่ เขตคะแนนสงู สุดทใี่ ชใ้ นรฐั ธรรมนูญฉบบั ปี
2540 ทาใหเ้ กดิ ระบบสองพรรคการเมือง
ซง่ึ พรรคไทยรกั ไทยและพรรคประชาธปิ ตั ย์เป็ นสองพรรคใหญท่ คี่ รองทนี่ ่งั ใน
รฐั สภา อยา่ งไรก็ดี หลงั รฐั ธรรมนูญฉบบั ปี
2560 การเมืองไทยกลบั เขา้ สรู่ ะบบหลายพรรคการเมอื งอกี ครง้ั

พฒั นาการการเมืองไทยเต็มไปดว้ ยเหตกุ ารณ์รฐั ประหารและการเปลยี่ น
แปลงรฐั ธรรมนูญ ประเทศไทยมรี ฐั ประหารมากทสี่ ดุ ในโลกในประวตั ศิ าสตร์
รว่ มสมยั พระมหากษตั รยิ ย์ งั คงมพี ระราชอานาจเหนือการเมืองในทางพฤตนิ ั

และบทบาทดงั กลา่ วชดั เจนขนึ้ หลงั การมสี ว่ นและสนบั สนุนรฐั ประหารในประเ
ทศไทย พ.ศ. 2549

อโี คโนมสิ ต์อนิ เทลลเิ จนซย์ นู ิตจดั ประเทศไทยเป็ น "กง่ึ อานาจนยิ ม" ในปี
2561

การเปลยี่ นแปลงทางสงั คมในสมยั รชั กาลที่6-ปจั จบุ นั
สมยั รชั กาลที่ 6

การปฏริ ปู การปกครองสมยั รชั กาลที่ 6

การจดั ตง้ั ดสุ ติ ธานี เพอื่ ทดลองการปกครองแบบประชาธปิ ไตย
โดยโปรดฯใหส้ รา้ งนครจาลองขน้ึ นามวา่ “ดุสติ ธานี”
เดมิ ตง้ั อยทู่ พี่ ระราชวงั ดุสติ ภายในดสุ ติ ธานีมสี งิ สมมติ แบบจาลองตา่ งๆ เช่น
ทที่ าการรฐั บาล วดั วาอาราม อาคารบา้ นเรือน ถนน สาธารณูปโภค สถาน
ทรี่ าชการ
ฯลฯ โปรดฯใหม้ ีการบรหิ ารงานโดยการเลือกตง้ั ตามแบบประชาธปิ ไตย
มีการเลอื กตง้ั ในระบบพรรคการเมือง
การปรบั ปรุงการปกครองสว่ นกลางของรชั กาลที่ 6

1. โปรดใหจ้ ดั ตง้ั กระทรวงใหม่ คือ กระทรวงมุรธาธกิ าร (รชั กาลที่ 5
ทรงยกเลกิ ไป) กระทรวงทหารเรอื กระทรวงพาณิชย์

2. ทรงยกเลกิ กระทรวงนครบาล รวมเขา้ กบั กระทรวงมหาดไทย

3. ทรงใหเ้ ปลยี่ นชือ่ กระทรวงโยธาธกิ าร เป็ นกระทรวงคมนาคม

การปรบั ปรงุ การปกครองสว่ นภูมภิ าคของรชั กาลที่ 6

1.ปรบั ปรุงเขตการปกครองของเขตมณฑล บางมณฑล

2.
โปรดฯใหร้ วมมณฑลทอี่ ยตู่ ดิ กนั หลายๆมณฑล รวมกนั เป็ นภาค แตล่ ะภาคมี
อปุ ราชเป็ นผบู้ งั คบั บญั ชา ทาหน้าทตี่ รวจตรา ควบคมุ ดแู ลการบรหิ ารงานขอ
งสมหุ เทศาภบิ าลในภาคนน้ั ๆ

3. เปลยี่ นคาวา่ จงั หวดั เป็ นเมอื ง

การขยายกจิ การทหารของรชั กาลที่ 6

ทรงจดั ตง้ั กระทรวงทหารเรอื กองบนิ
และสรา้ งสนามบนิ ขนึ้ เป็ นครง้ั แรก

สมยั รชั กาลที่ 7

1.ทรงแตง่ ตง้ั อภริ ฐั มนตรีขน้ึ เมอื่ วนั ที่ 28 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2468
เพอื่ เป็ นทปี่ รกึ ษาราชการแผน่ ดนิ
โดยมีสมาชกิ ประกอบดว้ ยพระบรมวงศานุวงศ์ 5 พระองค์

2.โปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ภริ ฐั มนตรีรา่ งพระราชบญั ญตั ิ เพอื่ จดั ตง้ั
“สภากรรมการองคมนตรี” ซง่ึ มลี กั ษณะเป็ นสภาทปี่ รกึ ษา (Advisory Body)
แตม่ ีหน้าทจี่ ากดั กลา่ วคือ
“ใหค้ าปรกึ ษาหารือขอ้ ราชการซงึ่ พระราชทานลงมาใหศ้ กึ ษา
และทพี่ ระราชทานพระบรมราชานุญาตใหป้ รกึ ษาแลว้ นาคาปรกึ ษาขนึ้ ถวายบั
งคมทูล”

3.ทรงไดต้ ง้ั เสนาบดสี ภา
เพอื่ เตรยี มฝึ กใหม้ กี ารรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ทง้ั คณะใหเ้ หมือนคณะรฐั มนตรีแบบ
ตะวนั ตก เชน่ เดยี วกบั เสนาบดใี นสมยั รชั กาลที่ 5

4.ทรงมอบหมายใหอ้ ภริ ฐั มนตรสี ภาดาเนนิ การวางรูปแบบการปกครองทอ้ งถ่ิ
นในรปู เทศบาล
และวางโครงการปรบั ปรงุ แกไ้ ขสขุ าภบิ าลทมี่ ีอยใู่ หเ้ ป็ นเทศบาล

เพราะถา้ มกี ารบรหิ ารทอ้ งถนิ่ เจรญิ ขนึ้
ประชาชนรจู้ กั สทิ ธแิ ละหน้าทขี่ องตนเองแลว้ ก็ยอ่ มจะพฒั นาไปสรู่ ะบบการเมื
องในระบบรฐั สภาไดร้ วดเร็วขน้ึ
แตก่ ารปรบั ปรงุ ก็เป็ นไปอยา่ งลา่ ชา้ ไมท่ นั การณ์ และไมท่ นั ไดป้ ระกาศใน
พ.ร.บ. ก็เกดิ การเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ.2475 เสยี กอ่ น
5.พระองคท์ รงโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระยาศรีวศิ าลวาจา นายเรมอนต์ บี สตเี วนส์
คดิ “รา่ งพระราชธรรมนูญ” ขน้ึ มาตามกระแสพระราชดาริ พ.ศ.2474
โดยรฐั ธรรมนูญฉบบั นี้มสี าระสาคญั พอสรปุ ได้ ดงั นี้ คอื
ในช่วงอานาจนิตบิ ญั ญตั แิ ลว้ นน้ั จะใหม้ ีการเลือกตง้ั สมาชกิ รฐั สภา
และมสี มาชิก 2 ประเภท เลอื กตง้ั และแตง่ ตง้ั จะตอ้ งมอี ายไุ มต่ า่ กวา่ 30 ปี
มีพื้นฐานความรอู้ า่ นออกเขยี นได้
สว่ นอานาจบรหิ ารใหม้ าจากกษตั รยิ ท์ รงเลอื กนายกรฐั มนตรี

สมยั รชั กาลที่ 8

ในรชั สมยั นี้ทางราชการ
ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ทางการศกึ ษาไทยดา้ นศลิ ปะ
จงึ ไดจ้ ดั ตง้ั โรงเรยี นประณีตศลิ ปกรรม ปจั จบุ นั คอื มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ขน้ึ อกี แหง่ หนึ่ง เมอื่ พ.ศ. 2476 โดยมศี าสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศรี
เป็ นผวู้ างรากฐานทางการศกึ ษาบนแผน่ ดนิ รชั กาลที่ 8
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหดิ ล
บา้ นเมืองประสบเหตกุ ารณ์ตกอยใู่ นสภาวะสงครามโลกครง้ั ที่ 2
วงการศลิ ปะไดจ้ ดั ตง้ั และมคี วามเคลอื่ นไหว ภายใตช้ มรมทชี่ ือ่ วา่
กลุม่ จกั รวรรดศิ์ ลิ ปิ น ซง่ึ จติ รกรและนกั ประพนั ธ์ไดร้ ว่ มกนั
จดั การแสดงงานจติ รกรรมสมยั ใหมข่ นึ้ ณ ศาลาเฉลมิ กรุงเป็ นการแสดงของ
2 รปู แบบศลิ ปะ คือ ทง้ั ทศั นศลิ ป์ และวรรณกรรมขนึ้ เป็ นครง้ั แรก นาโดย
วรรณสทิ ธิ์ ปคุ ะวณชั , สด กรูมะโรหติ , จารสั เกียรตกิ อ้ ง, เฉลมิ นาคีรกั ษ์,
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมทย์, ประสงค์ ปทั มานุช

สมยั รชั กาลที่ 9

โครงการตามพระราชดาริ เป็ นโครงการทที่ รงวางแผนการพฒั นา
ทรงเสนอแนะใหร้ ฐั บาลรว่ มดาเนินการตามพระราชดาริ
หน่วยงานรว่ มของรฐั บาลนน้ั มที ง้ั ฝ่ ายพลเรือนเฉพาะ ทง้ั ฝ่ ายทหารเฉพาะ
กระท่งั ฝ่ ายทหารและพลเรือนรว่ มกนั ก็มี โครงการ ประเภทนี้
ในปจั จบุ นั มอี ยทู่ ่วั ทุกภาคในประเทศ
แตถ่ า้ เป็ นโครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
พระองค์จะพระราชทานขอ้ แนะนาและแนวพระราชดารใิ หเ้ อกชนรบั ไปดาเนิ
นการดว้ ยกาลงั เงนิ กาลงั ปญั ญา และกาลงั แรงงาน
พรอ้ มทง้ั ตดิ ตามผลงานตอ่ เนื่องโดยภาคเอกชนเอง

จากวนั นน้ั จนถงึ วนั น้ี โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดารมิ ีจานวนมากถงึ
2,700 โครงการ ซง่ึ ประกอบดว้ ยโครงการหลายประเภทดว้ ยกนั อาทิ
โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดารดิ า้ นการเกษตร สง่ิ แวดลอ้ ม
พฒั นาแหลง่ น้า การคมนาคม สอื่ สาร การสง่ เสรมิ อาชีพ สวสั ดกิ าร
และการสาธารณสุข โดยเฉพาะโครงการอนั เนื่องมาจากพระ-ราชดาริ
ในดา้ นการสาธารณสขุ จากการเสด็จฯ
ไปทรงเยยี่ มราษฎรในทกุ พนื้ ทที่ ่วั ประเทศ ทรงพบวา่ ราษฎรจานวนไมน่ อ้ ย
ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ การแพทย์ และขาดความรใู้ นการดแู ลสขุ อนามยั อยา่ งถกู วธิ ี
เป็ นทมี่ าของโครงการแพทยพ์ ระราชทานทเี่ กดิ ขนึ้ ในปี พ.ศ. 2510
ซงึ่ นบั แตน่ น้ั เมอื่ มกี ารเสด็จฯ
แปรพระราชฐานไปประทบั แรมเพอื่ ทรงเยยี่ มราษฎรใน
ทอ้ งถน่ิ ตา่ งๆ ก็จะมคี ณะแพทย์พระราชทานเดนิ ทางตดิ ตามพระองค์ไปดว้ ย
เพอื่ ใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์แกป่ ระชาชน

นอกจากนน้ั พระองค์ยงั สนพระราช-
หฤทยั ในการจดั โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดารเิ พอื่ พฒั นาแหลง่ น้าใหค้
รอบคลุมทกุ พนื้ ทที่ ่วั ไทยมากทสี่ ดุ ดงั พระราชดารสั ทวี่ า่ “...ตอ้ งมนี ้าบรโิ ภค
น้าใช้ น้าสาหรบั ทาการเพาะปลกู เพราะวา่ ชีวติ อยทู่ นี่ ่นั ...เมอื่ มนี ้าเสยี อยา่ ง
ราษฎรก็จะไมล่ ะทง้ิ ถน่ิ ทอี่ ย.ู่ ..”

สมยั รชั กาลที่ 10

โครงสรา้ งทางสงั คมในโลกยคุ ทนั สมยั น้ีมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งมากมาย
ถอื เป็ นจดุ เปลยี่ นของ สงั คมโลกชว่ งหนึ่ง
การเปลยี่ นแปลงในยคุ ทนั สมยั มหี ลายประเด็น เชน่
การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งสงั คม
โดยโครงสรา้ งสงั คมมีการเปลยี่ นแปลงในดา้ นตา่ งๆ เช่น
การเปลยี่ นแปลงของประชากร การขยายตวั ของสงั คมเมอื ง
การเกดิ ขนึ้ ของสถาบนั ตา่ งๆ ในสงั คมทมี่ คี วามช านาญเฉพาะดา้ นมากขนึ้
การ เปลยี่ นแปลงในเชิงเศรษฐกจิ
การเปลยี่ นแปลงในเรอื่ งของการตดิ ตอ่ สอื่ สาร และทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สง่ิ แวดลอ้ ม นอกจากนน้ั ความคดิ ของคนในสงั คมมกี ารเปลยี่ นแปลงดว้ ย เชน่
การเน้นในเรอื่ งของ กระบวนการใชเ้ หตผุ ล
การใชต้ รรกะในการอธบิ ายปรากฏการณ์ทางสงั คมทเี่ กดิ ขนึ้
หรือแมก้ ระท่งั การ
สรา้ งวาทกรรมโดยการอา้ งเหตผุ ลเพอื่ สรา้ งความชอบธรรมใหก้ บั ตนเองในกา
รด ารงอยภู่ ายใต้ สภาวการณ์ทางสงั คมทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา

เศรษฐกจิ วฒั นธรรมสมยั ร.6-ปจั จบุ นั
รชั กาลที่ 6

ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม
ในรชั กาลน้ี

การศกึ ษาของไทยไดเ้ จรญิ กา้ วหน้าขยายตวั ออกไปอยา่ งกวา้ งขวางกวา่ แตก่ อ่
นมาก อาทิ มีการขยายการศกึ ษาถงึ ขน้ึ อุดมศกึ ษา
โดยนาเงนิ ทเี่ หลอื จากการบรจิ าคในการสรา้ งพระบรมรูปทรงมา้ มาปรบั ปรงุ
โรงเรียนขา้ ราชการพลเรือน แลว้ ยกฐานะขน้ึ เป็ น จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั
นบั เป็ นมหาวทิ ยาลยั แหง่ แรกของประเทศไทย
ในครง้ั แรกจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั เปิ ดสอนอยู่ 4 คณะ คอื

1. คณะแพทยศาสตร์
2. คณะรฐั ประศาสนศาสตร์
3. คณะวศิ วกรรมศาสตร์
4. คณะอกั ษรศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์
บารงุ อาชีวศกึ ษา
ความมงุ่ หมายในการจดั การศกึ ษาครง้ั แรกเพอื่ มงุ่ ฝึ กใหค้ นเขา้ รบั ราชการ ใน
เวลาตอ่ มามคี วามจาเป็ นน้อยลง
จงึ โปรดใหบ้ ารงุ การศกึ ษาทางดา้ นอาชีวขนึ้ อยา่ งจรงิ จงั
กาเนิดโรงเรยี นเพาะชา่ ง จดั ตง้ั โรงเรียนฝึ กหดั ครูสตรี ขนึ้ เมือ่ พ.ศ. 2456
ตอ่ มาพระราชทานนามวา่ โรงเรียนเบญจมราชาลยั
จดั ตง้ั โรงเรยี นพาณิชยการ เมอื่ พ.ศ. 2455
ตราพระราชบญั ญตั โิ รงเรียนราษฎร์ เมอื่ พ.ศ. 2461 เพอื่ ควบคมุ
โรงเรยี นของบคุ คลหรือคณะบคุ คล ซงึ่ แตก่ อ่ นมชี ื่อเรียก
โรงเรียนของเอกชนวา่ โรงเรียนเชลยศกั ดิ์ ตรา พระราชบญั ญตั ปิ ระถมศกึ ษา
พ.ศ. 2464 ขน้ึ เพอื่ บงั คบั ใหเ้ ด็กทกุ คนไมเ่ ลอื กเพศหรอื ศาสนาใด ทมี่ ี
อายตุ ง้ั แต่ 7 ปี บรบิ ูรณ์ขน้ึ ไปตอ้ งไปเขา้ เรยี นหนงั สืออยใู่ นโรงเรยี นจนถงึ อายุ
14 ปี บรบิ ูรณ์ โดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ เลา่ เรียน
นบั วา่ เป็ นการจดั การศกึ ษาภาคบงั คบั เป็ นครง้ั แรก กาเนดิ การศกึ ษาประชาบา
ล ซง่ึ โรงเรียนนี้ประชาชนในทอ้ งทจี่ ดั ตง้ั ขน้ึ ดว้ ยทนุ ทรพั ยข์ องประชาชนในทอ้
งที่ โดยมอบใหอ้ ยใู่ นความดูแลของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

โรงเรียนประเภทน้ีลว้ นเป็ นโรงเรียนประถมศกึ ษา
เงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยสาหรบั โรงเรยี นประชาบาลนี้ ไดม้ าจากเงนิ
ซง่ึ เรยี กเก็บจากประชาชนเป็ นรายปี
เรยี กวา่ เงนิ คา่ ศกึ ษาพลี การเก็บเงนิ คา่ ศกึ ษาพลีน้ี เก็บจากชายทมี่ ีอายุ 18 –
60 ปี โดยเก็บอยา่ งน้อยปี ละ 1 บาทแตไ่ มเ่ กนิ 3 บาท ผทู้ ไี่ ดร้ บั การยกเวน้
ไมต่ อ้ งเสยี เงนิ คา่ ศกึ ษาพลไี ดแ้ ก่ ผทู้ ที่ ามาหากนิ ไมไ่ ด้ พระภกิ ษุ สามเณร
บาทหลวง ทหาร ตารวจ

รชั กาลที่ 7

ดา้ นเศรษฐกจิ
ในสมยั รชั กาลที่ 7 ประเทศไทยกาลงั ประสบภาวะทรดุ โทรมอยา่ งยง่ิ
โดยเฉพาะทางดา้ นเศรษฐกจิ รฐั บาลได้
ตดั ทอนรายจา่ ยทไี่ มจ่ าเป็ นออกไปอยา่ งมากมาย ในปี พ.ศ. 2469
พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงตดั ทอนรายจา่ ยในราชสานกั
เพอื่ เป็ นตวั อยา่ ง แกห่ น่วยงานราชการตา่ ง ๆ มกี ารลดจานวนขา้ ราชการ
ในกระทรวงตา่ ง ๆ ใหน้ ้อยลง
พระองค์ยนิ ยอมลดรายไดท้ จี่ ะถวายใหก้ บั พระคลงั ขา้ งที่
นอกจากนี้พระองคท์ รง มพี ระราชปรารภ
ใหค้ นไทยหางานอยา่ งอนื่ ทานอกจากการยดึ อาชีพรบั ราชการ
ถงึ เวลาทคี่ นไทยตอ้ งหนั ไปประกอบอาชพี ทางการคา้ และการอุตสาหกรรมให้
มากขนึ้ แตใ่ นขณะนน้ั ภาวะเศรษฐกจิ โลกเรม่ิ ตกต่าลงอยา่ งมาก
สง่ ผลกระทบถงึ สภาพเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ใหท้ รุดหนกั ลงไปอกี

ประชาชนตา่ งเดอื ดรอ้ นอยา่ งมาก “เกดิ ภาวะขา้ วยากหมากแพง” รชั กาลที่ 7
ไดใ้ ชม้ าตรการตดั ทอนรายจา่ ยอยา่ งเขม้ งวดทสี่ ดุ
ตลอดจนปลดขา้ ราชการออกจากตาแหน่งเป็ นจานวนมาก
จดั การยบุ มณฑลตา่ ง ๆ ท่วั ราชอาณาจกั ร ประกาศยบุ จงั หวดั
งดจา่ ยเบ้ยี เลยี้ งขา้ ราชการ
ในเดือนกนั ยายน 2474 รฐั บาลประกาศงดใช้มาตรฐานทองคา
และกาหนดคา่ เงนิ ตามปอนดส์ เตอรล์ งิ เพอื่ ปรบั งบประมาณประจาปี ใหเ้ ขา้ สดู่ ุ
ลยภาพ ออกพระราชบญั ญตั กิ ารเก็บภาษีอากรใหม่ ในเดอื นพฤษภาคม
2475 รฐั บาลไดข้ ายทองคาทุนสารองของประเทศทมี่ อี ยทู่ ง้ั หมด 17
พฤษภาคม 2475 รฐั บาลประกาศเพม่ิ ภาษีราษฎร โดยเฉพาะขา้ ราชการ
เรยี กภาษีเงนิ เดอื น ประชากรในประเทศตกงานมากขนึ้
กจิ การคา้ เกือบทง้ั หมดตกเป็ นของชาวตา่ งชาติ เหตกุ ารณ์ทง้ั หมดจงึ นาไปสู่
การเปลยี่ นแปลงการปกครองประเทศเป็ นแบบประชาธปิ ไตย

รชั กาลที่ 8

ดา้ นเศรษฐกจิ
การเสรมิ สรา้ งเศรษฐกจิ ในสมยั จอมพลแปลก พบิ ูลสงคราม
ไดน้ าระบบทนุ นิยมเขา้ มาใช้
เพอื่ ใหไ้ ทยเป็ นชาตมิ หาอานาจทางเศรษฐกจิ และหลุดพน้ จากระบบศกั ดนิ าทมี่ ี

มาแตเ่ ดมิ โดยไดร้ บั แนวความคดิ จากหลวงวจิ ติ รวาทการ
ซง่ึ เป็ นระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยมทมี่ กี ารควบคมุ และส่งั การโดย
จอมพลแปลก พบิ ูลสงคราม จดั ในรูปแบบของ การสหกรณ์ หรือ
ระบบทุนนิยมทรี่ ฐั บาลเขา้ รว่ มทนุ หรือ แบบรฐั วสิ าหกจิ
โดยสนบั สนุนใหค้ นไทยประกอบอาชพี ตา่ ง ๆ
จดั การอบรมวชิ าการคา้ ใหแ้ กค่ นไทย ชกั ชวนใหร้ าษฎรทาสวนครวั
เล้ียงสตั ว์และสนบั สนุนอตุ สาหกรรมพน้ื เมอื งทุกชนิด
ใหค้ นไทยเกดิ ความตนื่ ตวั สนใจในสนิ คา้ ไทย จากคาขวญั ทวี่ า่
“ไทยทาไทยใชไ้ ทยเจรญิ ” ออกพระราชบญั ญตั ิ จดั หางานใหแ้ กผ่ ไู้ รอ้ าชีพ
ผทู้ ไี่ มม่ อี าชีพ ตอ้ งรายงานตวั ตอ่ เจา้ พนกั งานทอ้ งที่ ตามภมู ลิ าเนา
มกี ารจดั ตง้ั สานกั งาน หางานใหป้ ระชาชนทาเพอื่ แกป้ ญั หาคนวา่ งงาน
เรมิ่ ใช้กฎหมายเขม้ งวดกบั ชาวตา่ งชาตโิ ดยเฉพาะชาวจีน เชน่
ควบคุมการอพยพเขา้ เมอื งไทยของชาวจนี จบั กุมสมาคมลบั ของชาวจนี
ปิ ดโรงเรยี นและหนงั สอื พมิ พข์ องชาวจนี เก็บภาษีพวกพอ่ คา้ ชาวจีนเพมิ่ ขน้ึ
พยายามสนบั สนุนใหค้ นไทยเขา้ ดาเนินธรุ กจิ แทนชาวตา่ งชาติ
หรือรฐั บาลเขา้ ดาเนนิ กจิ การเอง หรือใหค้ นไทยรว่ มลงทุนเกนิ รอ้ ยละ 70
ของกจิ การ

รชั กาลที่ 9

เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลจากการใชแ้ นวทางการพฒั นาประเทศไปสคู่ วามทนั สมยั
ไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงแกส่ งั คมไทยอยา่ งมากในทุกดา้ น
ไมว่ า่ จะเป็ นดา้ นเศรษฐกจิ การเมอื ง วฒั นธรรม สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม
อีกทง้ั กระบวนการของความเปลยี่ นแปลงมคี วามสลบั ซบั ซอ้ นจนยากทจี่ ะอธบิ
ายใน เชิงสาเหตแุ ละผลลพั ธ์ได้
เพราะการเปลยี่ นแปลงทง้ั หมดตา่ งเป็ นปจั จยั เชื่อมโยงซง่ึ กนั และกนั
สาหรบั ผลของการพฒั นาในดา้ นบวกนน้ั ไดแ้ ก่
การเพมิ่ ขนึ้ ของอตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ความเจรญิ ทางวตั ถุ
และสาธารณูปโภคตา่ งๆ ระบบสอื่ สารทที่ นั สมยั
หรือการขยายปรมิ าณและกระจายการศกึ ษาอยา่ งท่วั ถงึ มากขนึ้
แตผ่ ลดา้ นบวกเหลา่ น้ีสว่ นใหญก่ ระจายไปถงึ คนในชนบท

หรอื ผดู้ อ้ ยโอกาสในสงั คมน้อย
แตว่ า่ กระบวนการเปลยี่ นแปลงของสงั คมไดเ้ กดิ ผลลบตดิ ตามมาดว้ ย เชน่
การขยายตวั ของรฐั เขา้ ไปในชนบท
ไดส้ ง่ ผลใหช้ นบทเกดิ ความออ่ นแอในหลายดา้ น
ทง้ั การตอ้ งพงึ่ พงิ ตลาดและพอ่ คา้ คนกลางในการส่งั สนิ คา้ ทนุ
ความเสอื่ มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติ ระบบความสมั พนั ธ์แบบเครือญาติ
และการรวมกลมุ่ กนั ตามประเพณีเพอื่ การจดั การทรพั ยากรทเี่ คยมอี ยแู่ ตเ่ ดมิ แ
ตก สลายลง
ภูมคิ วามรทู้ เี่ คยใชแ้ กป้ ญั หาและส่งั สมปรบั เปลยี่ นกนั มาถกู ลืมเลือนและเรม่ิ
สญู หายไป
สงิ่ สาคญั กค็ ือ ความพอเพยี งในการดารงชีวติ
ซงึ่ เป็ นเงอื่ นไขพนื้ ฐานทีท่ าใหค้ นไทยสามารถพงึ่ ตนเอง
และดาเนินชีวติ ไปไดอ้ ยา่ งมศี กั ดศิ์ รีภายใตอ้ านาจและความมีอสิ ระในการกา
หนด ชะตาชีวติ ของตนเอง
ความสามารถในการควบคุมและจดั การเพอื่ ใหต้ นเองไดร้ บั การสนองตอบตอ่
ความตอ้ ง การตา่ งๆ รวมทง้ั ความสามารถในการจดั การปญั หาตา่ งๆ
ไดด้ ว้ ยตนเอง
ซงึ่ ทง้ั หมดนี้ถือวา่ เป็ นศกั ยภาพพน้ื ฐานทคี่ นไทยและสงั คมไทยเคยมอี ยูแ่ ต่
เดมิ ตอ้ งถูกกระทบกระเทือน
ซง่ึ วกิ ฤตเศรษฐกจิ จากปญั หาฟองสบแู่ ละปญั หาความออ่ นแอของชนบท
รวมทง้ั ปญั หาอนื่ ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ
ลว้ นแตเ่ ป็ นขอ้ พสิ จู น์และยืนยนั ปรากฎการณ์นี้ไดเ้ ป็ นอยา่ งดี

รชั กาลที่ 10

ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ ทพี่ งึ ประสงค์ พบวา่
คนในชุมชนไดป้ ระกอบอาชพี มากขนึ้ มกี ารลงทุนดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว ทพี่ กั
การขนสง่ และ อาหารทะเล

มีการเชือ่ มโยงการทอ่ งเทยี่ วของจงั หวดั กาญจนบรุ ีกบั กลมุ่ จงั หวดั ภาคตะวนั ต
ก เกดิ การพฒั นาเสน้ ทางการขนสง่ สนิ คา้

เกดิ การพฒั นาทางกายภาพเพอื่ รองรบั การเตบิ โตทางธุรกจิ

ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ ทไี่ มพ่ งึ ประสงคพ์ บวา่ ทาใหค้ า่ ครองชีพในชุ
มชนสงู ขน้ึ
กลมุ่ ทนุ จะตกั ตวงผลประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาตใิ นชุมชนมากเกนิ ไป
ทรพั ยากรป่ าไมอ้ าจถกู ทาลายมากขน้ึ และเกดิ ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มจากการพฒั น
าอุตสาหกรรม และการพฒั นาทางกายภาพ มผี ลกระทบตอ่ การเวนคืนทดี่ นิ
และการสญู เสียพนื้ ทภี่ าคเกษตรกรรม


Click to View FlipBook Version