The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR 2562 โสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sotkan School for the Deaf, 2021-02-17 09:27:34

SAR 2562 โสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี

SAR 2562 โสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี



ตอนที่ ๑
บทสรุปสำหรบั ผ้บู ริหำร

“โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรีเป็นสถานศึกษาแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนมีคุณภาพมาตรฐาน
การศึกษาของแต่ละประเภทความพิการ สามารถดารงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” แบ่งโครงสร้างการบรหิ ารงานเปน็ ๕ ฝา่ ย ได้แก่ ฝ่ายบริหารงานวชิ าการ ฝ่ายแผนงาน
และงบประมาณ ฝา่ ยบริหารงานบุคคล ฝา่ ยบรหิ ารงานทั่วไป และฝ่ายบรหิ ารกิจการนกั เรียน การบรหิ าร
และการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ผู้บริหารได้ยึดหลักธรรมาภิบาล คือ หลักนิติธรรม หลัก
คุณธรรม หลกั ความโปร่งใส หลกั การมีสว่ นร่วม หลกั ความรบั ผดิ ชอบ และหลักความคุ้มค่า บรู ณาการเข้า
กับหลักการแนวคิดการบริหารระบบคุณภาพ PDCA เน้นการมีส่วนร่วม ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติงานของ
บุคลากรทุกระดับชั้น โดยการทางานตามวงจร PDCA ในทุกงาน/โครงการ/กิจกรรม มกี ารกากับติดตามเป็น
ระยะๆ จากหัวหน้าฝ่ายหรือหัวหน้าโครงการ มีการรายงานผลการดาเนินงานด้วยวาจาและเป็นลายลักษณ์
อักษร ส่งผลให้โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรีจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสาเร็จตามท่ี
ตัง้ เป้าหมายไวใ้ นแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรปุ ไดว้ ่า

ผลการประเมินคุณภาพของระดับปฐมวัยของโรงเรียนอยใู่ นระดับดีเลิศ ท้ังน้ี มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพ
ของเด็ก มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็ก
เปน็ สาคญั ผลการประเมินอยู่ในระดบั ดีเลิศ

ผลการประเมนิ คณุ ภาพของระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานของโรงเรยี นอยู่ในระดับดีเลิศ ท้งั น้ี มาตรฐานที่
๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การ
เรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ผลการประเมนิ อยใู่ นระดับ ดีเลิศ

โดยโรงเรียนมุ่งเน้นการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพ่ือพัฒนาคุ ณภาพผู้เรียน โดยครู
มีความพยายามจัดกิจกรรม ส่งเสริมความสามารถทางวิชาการ ความคิดสร้างสรรค์ โดยฝึกทักษะทาง
วิชาการ กระบวนการคิด ในกิจกรรม และโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม โดยฝึกให้ผู้เรียนมี
คุณลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องโรงเรียน โครงการส่งเสริมให้ผู้เรยี นเป็นผู้รักศิลปะ ดนตรี/นาฎศิลป์ และกีฬา
สืบสานวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมท่ีมีใน
โรงเรียน ชมุ ชน เพอื่ ใชเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ทย่ี ั่งยืนในอนาคต ตลอดจนสง่ เสริมและสนบั สนนุ การจัดการเรียน
การสอนและฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้กับผู้เรียนทมี่ ีความบกพร่องทางการได้ยินและผู้เรียนทีม่ คี วามบกพร่อง
ทางสติปัญญาเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การมีงานทา สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และมี
แผนการพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพื่อยกระดบั คุณภาพให้สงู ขน้ึ ดงั นี้

ระดบั ปฐมวัย
๑. จดั กจิ กรรมส่งเสริมเด็กปฐมวยั ใหม้ คี วามพรอ้ มในการศึกษาระดับประถมศกึ ษา
๒. จัดกิจกรรมใหพ้ ่อแม่ ครอบครวั ชุมชน และทุกฝ่ายที่เกีย่ วข้องได้มีบทบาท ส่งเสรมิ พัฒนาการ

ของเดก็
๓. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความ

เข้มแขง็ มสี ่วนร่วมรบั ผิดชอบต่อการจดั การศึกษา และการขบั เคลื่อนคุณภาพการจดั การศึกษา
๔. จดั ครูทจี่ บวชิ าเอกการศกึ ษาปฐมวัยเพ่ิมเตมิ
๕ ส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้เด็กได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสมตาม

ศักยภาพ และส่งเสริมใหค้ รไู ด้พฒั นาทักษะทางดา้ นภาษามอื ในระดับทสี่ งู ขึ้น



ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๑. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รียนให้สูงข้ึน
๒. พัฒนาด้านการอ่าน การเขียน และการคดิ วเิ คราะห์แกป้ ญั หาใหก้ บั ผ้เู รยี นใหม้ ากขึ้น
๓. จัดกจิ กรรมส่งเสริมให้ผู้เรยี นสรา้ งนวตั กรรม เพ่ือฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นลาดับขนั้ ตอนด้วย

กจิ กรรมโครงงาน และจดั กิจกรรมสง่ เสริมความภูมใิ จในทอ้ งถิน่ ตามศกั ยภาพ
๔. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความ

เข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
๕. ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร จัดกิจกรรมท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด

สังเคราะห์ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้วยวิธีท่ีหลากหลายตามสภาพจริง และนา
กระบวนการวจิ ยั มาใช้ในการพฒั นาผู้เรียน

๖. พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาและหลกั สูตรท้องถิ่นอย่างตอ่ เน่อื ง
๗. จัดการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ืองและสมา่ เสมอ และนาผลการนิเทศ
ตดิ ตามไปพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาต่อไป
๘. ส่งเสรมิ ให้ครูผลติ สอื่ มนี วตั กรรมในการจดั การเรียนรู้ และมีการเผยแพร่



ตอนท่ี ๒
ข้อมลู พ้นื ฐำน

ชือ่ โรงเรียนโสตศึกษาจงั หวดั กาญจนบรุ ี ทีต่ ง้ั ๑๓๐ หมู่ ๑ ถนนลน้ิ ช้าง-เขาปูน ตาบลปากแพรก

อาเภอเมอื ง จังหวดั กาญจนบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ ๗๑๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๓๔-๖๐๒๕๕๑ โทรสาร ๐๓๔-๖๐๒๖๓๑

E-mailAddress. [email protected] website www.sodkan.com เปิดสอ นร ะ ดับช้ัน

อนบุ าลปีท่ี ๑ ถึงระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ มจี านวน ๒๕ ห้องเรยี น

แผนการจัดชัน้ เรยี น - อนุบาล รวม ๓ ห้อง

- ประถมศกึ ษา รวม ๙ หอ้ ง

- มัธยมศกึ ษาตอนตน้ รวม ๗ ห้อง

- มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวม ๖ ห้อง

ข้อมลู บคุ ลำกรของสถำนศกึ ษำ

บคุ ลำกร ผู้บรหิ ำร ครูผู้สอน พนักงำนรำชกำร ครอู ตั รำจำ้ ง เจ้ำหนำ้ ทอ่ี น่ื ๆ
๑๙
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ๓ ๑๙ ๙ -

สรปุ ข้อมลู นักเรียน (ขอ้ มลู ณ วันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๒)

ท่ี ระดบั ชน้ั นักเรยี นทงั้ หมด สตปิ ัญญำ รวม รวม
กำรไดย้ นิ หญงิ ๑ ทั้งส้นิ
๑ อนุบาล ๑ ชำย หญงิ รวม ชำย - ๕
๒ อนุบาล ๒ ๓๑๔๑ ๒ ๔ ๕
๓ อนุบาล ๓ ๑๒๓๓ ๑ ๑๐ ๘
- - -๓ ๓ ๘ ๔
รวม ๔๓๗๗ ๓ ๘ ๑๗
๔ ประถมศึกษาปที ่ี ๑/๑ ๑๓๔๕ ๖ ๗ ๑๒
๕ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒/๑ ๒ - ๒๒ ๑ ๒ ๑๐
๖ ประถมศึกษาปที ี่ ๒/๒ - - -๖ - ๖ ๗
๗ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓/๑ ๔๒๖๒ ๖ ๙ ๘
๘ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓/๒ ---- ๓ ๗ ๖
๙ ประถมศึกษาปีที่ ๔/๑ ๑ - ๑๖ ๒ ๔ ๑๐
๑๐ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔/๒ - - -๕ ๑ ๑๓ ๗
๑๑ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ๔๓๗๓ ๔ ๖๔ ๑๑
๑๒ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ - - -๙ ๒๖ ๓ ๑๓
๑๒ ๘ ๒๐ ๓๘ - ๘ ๘๔
รวม ๓๑๔๓ ๓ ๕ ๗
๑๓ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑/๑ - - -๕ ๒ ๘
๑๔ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑/๒ ๒๒๔๓ ๙
๑๕ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒/๑



ท่ี ระดับช้นั นักเรียนทัง้ หมด รวม
ทั้งสน้ิ
๑๖ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒/๒ กำรได้ยนิ สติปญั ญำ
๑๗ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓/๑ ๘
๑๘ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓/๒ ชำย หญงิ รวม ชำย หญิง รวม ๗
๑๙ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓/๓ ๘
- - - ๔๔๘ ๕
รวม ๕๒
๒๐ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔/๑ ๑๔๕๑๑๒ ๓
๒๑ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔/๒ ๕
๒๒ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕/๑ - - - ๖๒๘ ๙
๒๓ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕/๒ ๔
๒๔ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖/๑ - - - ๓๒๕ ๘
๒๕ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖/๒ ๕
๖ ๗ ๑๓ ๒๕ ๑๔ ๓๙ ๓๔
รวม ๑๘๗
รวมท้งั ส้ิน ๒๑๓ - - -

- - - ๔๑๕

๕๑๖๓ - ๓

- - - ๓๑๔

๓๓๖๑๑๒

- - - ๓๒๕

๑๐ ๕ ๑๕ ๑๔ ๕ ๑๙

๓๒ ๒๓ ๕๕ ๘๔ ๔๘ ๑๓๒

ขอ้ มูลสภำพชมุ ชนโดยรวม

๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะบ้านเด่ียว ห้องแถวและบ้านท่ีอยู่บนเรือนแพ
มปี ระชากรประมาณ ๑,๒๐๐ คน บรเิ วณใกลเ้ คียงโดยรอบโรงเรยี น ได้แก่ วัดเทวสังฆาราม แพล่อง สนาม

กีฬาสะพานสมเด็จพระสังฆราช ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ศูนย์ฝึกอาชีพสามสงฆ์
ทรงพระคุณ อาชพี หลกั ของชุมชน คือ ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว(แพล่อง) รับจ้าง และเกษตรกรรม ส่วน
ใหญ่นับถอื ศาสนาพทุ ธ ประเพณ/ี ศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั โดยทัว่ ไป คอื วันชาวเรอื ชาวแพ

๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่ใช่บุคคลในพ้ืนที่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพหลัก คือ รับจ้าง
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉล่ียต่อครอบครัว ต่อปี ประมาณ ๓๐,๐๐๐

บาท จานวนคนเฉลีย่ ตอ่ ครอบครวั ๔ คน
๓) โอกาสและขอ้ จากัดของโรงเรยี น
โอกาส สภาพแวดลอ้ มภายนอก มีปัจจยั ท่ีส่งผลกระทบทางบวกมากกว่าทางลบ กล่าวคือ สภาพ

ทาเลท่ีตั้งของโรงเรยี นโสตศกึ ษาจงั หวดั กาญจนบรุ อี ยใู่ กล้เมือง แหล่งการคา้ แหล่งวทิ ยาการ และบริการตา่ งๆ
เช่น โรงพยาบาล หอสมุด ศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษา ศูนยฝ์ ึกวิชาชพี สามสงฆ์ทรงพระคุณ จงึ ทาให้มี

ความสะดวกในด้านการคมนาคม การขอรับบริการด้านสุขภาพอนามัย ด้านการศึกษา และการฝึกอาชีพ
ของนกั เรียน นอกจากนี้โรงเรยี นยงั มีภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินทม่ี คี ุณภาพพรอ้ มถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์

อุปสรรคที่สาคัญ คือ การจากัดอัตรากาลังภาครัฐทาให้โรงเรียนมีบุคลากรลดลงส่งผลต่อการ

ให้บรกิ ารนักเรียน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทหน้าท่แี ละความรับผิดชอบในการ
สนับสนนุ การเรียนรขู้ องนกั เรยี น ทาใหน้ กั เรียนบางคนไมไ่ ด้รับการพัฒนาอย่างเต็มความสามารถ



ตอนท่ี ๓
รำยงำนสรุปผลกำรประเมนิ คณุ ภำพของระดบั ปฐมวยั

มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของเด็ก
ผลกำรประเมนิ อยใู่ นระดับ ดีเลศิ

๑. วิธกี ำรดำเนินกำรพัฒนำ
๑. จัดกิจกรรมเพ่อื ใหเ้ ด็กมพี ัฒนาดา้ นรา่ งกาย โดยจัดกิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนาการทางด้านรา่ งกาย

ในทุกวัน เช่น กิจกรรมการเคล่ือนไหวร่างกาย คือ โดยครูพาทาการเคลื่อนไหวง่ายๆ ในวงกลม เช่น การเดิน
ปกติ การเดินด้วยปลายเท้า การเดินด้วยส้นเท้า การเดินด้วยข้างเท้าด้านนอก-ด้านใน การกระโดด
การเคลื่อนมือ ยกมือ ยื่นมือไปข้างหน้า หรือการเคลื่อนไหวร่างกายไปตามเสียงสระ พยัญชนะ ผ่านภาษา
คาพูด เรื่องราวสนั้ ๆ การเดินทรงตวั บนท่อนไม้ การเดินต่อเท้าตามแนวเส้นตรง การกระโดดสองขา การเดินใน
ที่ต่างระดับ การกระโดดเชือก กิจกรรมการเล่นอิสระตามมุมเสรี กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง กิจกรรม
การแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกวัน จัดบริการให้นักเรียนได้ดื่มนมทุกวัน การบริการด้านโภชนาการ
อาหาร โรงเรียนจัดทากิจกรรมรณรงค์ ป้องกันและต่อต้านอันตรายจากยาเสพย์ติดและโรคเอดส์ กิจกรรม
เรารกั หอนอนสะอาด กิจกรรมวันงดสูบบุหร่ีโลก กิจกรรมวันต่อตา้ นยาเสพติดโลก กิจกรรม Big Cleaning
Day และมีการชงั่ นา้ หนักวัดส่วนสงู ตรวจสุขภาพด้านความสะอาดของรา่ งกายเป็นประจา ตลอดจนโรงเรยี น
มคี รูอนามยั คอยดแู ลสขุ ภาพของนกั เรยี นอยา่ งสม่าเสมอ

๒. จัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ โดยมีการจัดกิจกรรมรายงานตัวใน
ตอนเช้า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ภายในชั้นเรียน เช่น กิจกรรมครูพาทา การวาดภาพระบายสีน้า
กิจกรรมการปั้นขี้ผ้ึง กิจกรรมการเล่นอิสระตามมุมเสรี กิจกรรมการเย็บผ้าปักผ้า มีการจัดกิจกรรมเสริม
ประสบการณเ์ พอ่ื เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงบทบาทสมมุติตามจินตนาการของตนเองการแสดงท่าทางผนู้ า
และผ้ตู าม การแสดงทา่ ทางตามจินตนาการ จดั มมุ ประสบการณใ์ ห้นกั เรียนได้เล่นตามความสนใจ

๓. จัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาให้เด็กพัฒนาการทางด้านสังคม เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนมีพัฒนาการ
ทางด้านสังคมท่ีดีรู้จักการแบ่งปันส่ิงของและการเก็บรักษาของใช้ของตนเองได้รู้จักแสดงความรักเพื่อนและ
ชว่ ยเหลือแบง่ ปนั ซ่ึงกันและกันได้ เม่ือเลน่ หรือทากจิ กรรมเสรจ็ แล้วสามารถเก็บของเล่นของใช้เข้าทีไ่ ดโ้ ดยมีครู
คอยแนะนา มีวินัยในตนเองสามารถปฏิบัติตนตามกฎข้อตกลงของห้องเรียนและของโรงเรียน ได้รู้จัก
การเข้าแถวรอคอยตามลาดับก่อน–หลังได้ สามารถเล่นและปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้โดยไม่ทะเลาะกัน
เม่ือตนเองทาผิดรู้จักยอมรับผิดและกล่าวคาขอโทษได้ มีสัมมาคารวะรู้จักแสดงความเคารพครู ผู้ใหญ่ และ
พ่อแม่ได้ และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม โดยจัดกิจกรรมท่ีสร้างความตระหนัก สร้างนิสัยและปลูกฝัง
ค่านิยมทพี่ ึงประสงค์ใหน้ กั เรียน ไดเ้ ห็นคณุ ค่าความสาคัญของการประพฤตปิ ฏิบัตติ นใหเ้ ป็นคนดี อยใู่ นสังคม
ได้อยา่ งมคี วามสขุ

๔. จดั กิจกรรมเพื่อพฒั นาพัฒนาการด้านสติปัญญา โดยมกี ารจดั ทามุมแสดงผลงาน มุมฤดูกาล มุม
ของเล่น ภายในห้องเรียนและนานักเรียนเข้าไปใช้บริการแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนเพ่ือส่งเสริมทักษะ
ทางด้านภาษา มีการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนน้ ให้ผ้เู รียนไดล้ งมือปฏบิ ัติจริงผ่านกิจกรรมครพู าทามี
การจดั การเรยี นการสอนควบค่กู ับการฝกึ พฒั นาการทง้ั ๔ ดา้ น ผ่านกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ กจิ กรรม
กลางแจ้ง กิจกรรมการเคลอื่ นไหวรา่ งกาย กิจกรรมการเล่นอิสระตามมุมเสรี กิจกรรมสร้างสรรค์ มกี ารฝึกให้
นักเรียนได้เล่นเกมการศึกษาการต่อภาพจิ๊กซอ การจับคู่รูปภาพ การร้อยเชือก ฝึกการป้ันดินน้ามันตาม



จินตนาการ ฝกึ การฉีก ตัด ปะ งานกระดาษ และฝกึ การวาดภาพระบายสี ซง่ึ เป็นกิจกรรมทีท่ างสถานศึกษา
ไดจ้ ัดให้กับนกั เรยี นไดฝ้ กึ ปฏิบตั ติ ลอดปีการศึกษา

๒. ผลกำรดำเนินกำรพัฒนำ
๑. นักเรียนมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย นักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย

สมบูรณ์แข็งแรง สามารถเคล่ือนไหวร่างกายและทรงตัวได้ดี มีความคล่องแคล่วและว่องไว มีทักษะการ
ช่วยเหลือตนเองทีด่ ีสามารถปฏบิ ัติกิจวตั รประจาวันเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง

๒. นักเรียนในระดับปฐมวัยมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์และจิตใจท่ีดีร่าเริงแจ่มใสและสามารถ
ปรบั ตวั เข้ากบั ผู้อน่ื ได้ มีความกล้าแสดงออกได้เหมาะสมกับวยั มีความม่ันใจในตนเองสามารถแสดงท่าทางและ
เคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการของตนเองไดแ้ ละแสดงบทบาทสมมุตติ ามเนื้อหาในนิทานและบทเรียนได้มี
ความคิดสรา้ งสรรคใ์ นการเลน่ สามารถถ่ายทอดความคิด จินตนาการผา่ นการเลน่ และการทากจิ กรรมต่างๆ

๓. นักเรียนมีพัฒนาการทางด้านสังคมท่ีดีรู้จักการแบ่งปันส่ิงของและการเก็บรักษาของใช้ของ
ตนเองได้รู้จักแสดงความรักเพื่อนและช่วยเหลือแบ่งปันซ่ึงกันและกันได้เมื่อเล่นหรือ ทากิจกรรมเสร็จแล้ว
สามารถเก็บของเล่นของใชเ้ ขา้ ที่ได้โดยมีครูคอยแนะนา มีวินยั ในตนเองสามารถปฏบิ ตั ิตนตามกฎขอ้ ตกลงของ
หอ้ งเรยี น และของโรงเรียนได้ รู้จกั การเขา้ แถวรอคอยตามลาดบั ก่อน–หลังได้ สามารถเล่นและปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
ร่วมกับผู้อ่ืนได้โดยไม่ทะเลาะกันเมื่อตนเองทาผิดรู้จักยอมรับผิดและกล่าวคาขอโทษได้ มีสัมมาคารวะรู้จัก
แสดงความเคารพครู ผใู้ หญแ่ ละพอ่ แม่ได้

๔. นกั เรียนในระดับปฐมวยั โดยส่วนใหญ่มคี วามสนใจใฝ่รู้และกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
ต่างๆ ท่ีทางสถานศึกษาได้จัดให้ สามารถจาแนกประเภทความเหมือนความต่างของส่ิงของได้สังเกต
เปรียบเทียบขนาดเล็ก-ใหญ่ได้ บอกตาแหน่งทิศทางบน-ล่างได้ สนทนาโต้ตอบเล่าเรื่องโดยใช้ภาษามือและ
ภาษาพูดได้ ปฏิบัติตามคาสั่งอย่างง่ายๆ ได้ นับเลขเรียงลาดับ ๑-๑๐ ได้ สามารถคิดและแก้ปัญหาในเร่ือง
เล็กๆ นอ้ ยๆ เม่อื ได้รับคาแนะนาจากครผู สู้ อน

ดังน้ันจะสรุปได้ว่านักเรียนในระดับปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญาบรรลตุ ามเป้าหมายทส่ี ถานศึกษากาหนด

หลักฐำนเชงิ ประจักษ์
๑. หลักสูตรสถานศกึ ษาการศกึ ษาปฐมวยั
๒. แผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรตู้ ามแนววอลดอรฟ์
๓. บนั ทึกพฒั นาการทง้ั ๔ ด้าน
๔. บันทกึ กิจกรรมการแปรงฟันหลงั อาหารทุกวัน
๕. บนั ทกึ จดั บรกิ ารใหน้ ักเรียนได้ดม่ื นมทกุ วัน
๖. สรุปผลโครงการส่งเสริมพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตามแนวการศึกษาวอลดอร์ฟ โดยดาเนิน
กจิ กรรม ดนตรีบาบัด การเคล่ือนไหวเพ่ือความพร้อมในการเรียนรู้ นทิ านสร้างสุข เสียงสือ่ ใจ และมือน้อย
สร้างสมาธิ
๗. รายงานผลการจัดประสบการณ์
๘. จัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ให้นกั เรยี นทุกคน
๙. จัดทาแผนการการสอนรายบุคคล (IIP) ให้นักเรียนท่ีไม่สามารถเรียนได้ตามแผนการจัด
ประสบการณ์การเรยี นรู้
๑๐. มมุ ประสบการณ์ในหอ้ งเรยี น เชน่ สอื่ ธรรมชาติ สอื่ การเคล่ือนไหว



๑๑. รายงานการถอดบทเรียน โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบสองภาษา ตามแนวการจัด
การศึกษาวอลดอร์ฟ

๑๒. แฟม้ ผลงานนักเรียน/ภาพถ่าย

๓. จดุ เด่น
ในระดับปฐมวัยมีการจัดการเรียนการสอนตามโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบสองภาษา

ตามแนวการศึกษาวอลดอร์ฟสาหรับนักเรียนทม่ี ีความบกพร่องทางการได้ยิน และนักเรียนทมี่ ีความบกพร่อง
ทางสติปัญญา ทสี่ ่งเสริมใหน้ ักเรียนพฒั นาครบท้งั ๔ ดา้ น

๔. จุดทีค่ วรพฒั นำ
๑. จัดกิจกรรมทสี่ ง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีพัฒนาการทางดา้ นรา่ งกาย พัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ

อยา่ งต่อเนอ่ื ง
๒. จัดกจิ กรรมทสี่ ่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และการทากิจกรรมรว่ มกบั ผู้อื่น อยู่ในสังคมได้

อยา่ งมีความสขุ

๕. แผนพัฒนำเพือ่ ใหไ้ ด้มำตรฐำนที่สงู ขึ้น
๑. จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ เด็กปฐมวัยใหม้ ีความพร้อมในการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา
๒. จัดกจิ กรรมใหพ้ อ่ แม่ ครอบครวั ชุมชน และทกุ ฝ่ายทีเ่ กย่ี วขอ้ งได้มบี ทบาท สง่ เสรมิ พัฒนาการ

ของเด็ก

มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร
ผลกำรประเมนิ อยใู่ นระดบั ดีเลิศ

๑. วิธีกำรดำเนนิ กำรพัฒนำ
โรงเรียนจัดการเรียนการสอนในระดับปฐมวัยตามโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามแนว

การศึกษาวอลดอร์ฟสาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน และนักเรียนที่มีความบกพร่องทาง
สติปัญญา ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ซ่ึงสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและบริบทของ
สถานศึกษา เน้นการเรียนร้ผู ่านการเล่น และเตรยี มความพรอ้ มทั้ง ๔ ด้านของนกั เรียน โดยผู้บริหารสง่ เสริม
สนับสนุนใหค้ รูไดร้ ับการอบรมด้านการพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้ครูมีความรู้ความสามารถตรงกบั งานที่รบั ผิดชอบ
ผ่านโครงการพัฒนาครูและบุคลากร เช่น อบรมครตู ามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร การจัดอบรมใน
และนอกสถานศกึ ษา จัดสภาพแวดล้อมทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้ ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย มีแหล่งเรยี นรใู้ ห้เด็ก
ทากิจกรรมสงั เกต สารวจนอกห้องเรียน เช่น แหล่งเรียนรู้ “ไอดิน กลิ่นขา้ ว”

๒. ผลกำรดำเนนิ กำรพัฒนำ
๑. สถานศึกษามีการจัดการศึกษาปฐมวัยตามโครงการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ตามแนวการศึกษา

วอลดอร์ฟสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน และนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา
สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ตามบริบทของสถานศกึ ษา



๒. จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัยในระดับช้ันอนุบาล ๑ ช้ันอนุบาล ๒ และช้ันอนุบาล ๓
อย่างละ ๑ ห้องเรียน มีครูผู้สอนระดับปฐมวัย ๓ คน ๑ คนต่อ ๑ ห้องเรียน ซึ่งเป็นครูที่จบวิชาเอก
การศึกษาปฐมวัย ๑ คน

๓. สนับสนนุ ให้ครูได้รับการอบรมด้านการจัดประสบการณท์ ี่สง่ ผลต่อคุณภาพเด็ดจัดสภาพแวดล้อม
ใหม้ คี วามปลอดภยั มกี ารผลติ สื่อเพ่อื การเรียนรู้ เชน่ อบรมจดั การเรียนรตู้ ามแนวการศกึ ษาวอลดอรฟ์ อบรม
เชิงปฏิบตั ิการการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ โครงการส่งเสรมิ สุขภาพอนามยั และความปลอดภยั ของผูเ้ รยี น

๔. จัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ถูกสขุ ลักษณะและปลอดภัย มีแหล่ง
เรียนรู้ให้เด็กมีประสบการณ์ที่หลากหลายภายในห้องเรียน เช่น มุมแสดงผลงาน มุมฤดูกาล มุมของเล่น
ส่ือธรรมชาติ สื่อสาหรับมุด ลอด ปีนป่าย และจัดสิ่งแวดล้อมฝึกกิจกรรมสังเกต สารวจนอกห้องเรียน เช่น
แหล่งเรียนรู้ “ไอดิน กลิ่นข้าว” และจัดบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์ เพ่ือสนับสนุนการจัด
ประสบการณแ์ ละพัฒนาครู

๕. สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
ปฐมวัยและอัตลักษณ์ท่ีสถานศกึ ษากาหนด จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา ดาเนนิ การตามแผน
มกี ารประเมินผล และตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ติดตามผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานผล
การประเมินตนเองประจาปี นาผลการประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา โดยเปิดโอกาสให้
ผ้เู กย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนร่วม

หลักฐำนเชิงประจักษ์
๑. แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
๒. แผนปฏิบัติการประจาปี
๓. โครงสรา้ งการบริหารงาน
๔. สรุปผลโครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี ๒๕๖๒
๕. รายงานผลการจัดการเรยี นรตู้ ามแนวการศึกษาวอลดอรฟ์
๖. บันทกึ การนิเทศการจดั การเรียนรู้
๗. รายงานสรุปผลการเข้ารับการอบรม/สมั มนา/ศึกษาดูงาน
๘. รายงานการเขา้ รบั การอบรมและแสวงหาความรู้ของครู

๓. จุดเด่น
๑. โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัด

การศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจาปที ีส่ อดคลอ้ งกับผลการจดั การศกึ ษา
๒. โรงเรียนมีการดาเนินการนเิ ทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานผล

การจัดการศกึ ษา

๔. จดุ ท่ีควรพฒั นำ
จัดกิจกรรมที่เนน้ ให้เด็กปฐมวยั ได้รับประสบการณ์ตรงจากการเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั มากข้ึน



๕. แผนพฒั นำเพ่อื ใหไ้ ด้มำตรฐำนท่สี งู ขน้ึ
๑. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความ

เขม้ แขง็ มีสว่ นรว่ มรับผิดชอบต่อการจดั การศึกษา และการขบั เคลื่อนคุณภาพการจดั การศึกษา
๒. จัดครูทจ่ี บวชิ าเอกการศกึ ษาปฐมวัยเพม่ิ เติม

มำตรฐำนท่ี ๓ กำรจดั ประสบกำรณท์ ่เี น้นเดก็ เปน็ สำคัญ
ผลกำรประเมินอย่ใู นระดบั ดีเลิศ

๑. วิธีกำรดำเนินกำรพฒั นำ
โรงเรยี นมแี ผนงาน โครงการพัฒนาคุณภาพนกั เรยี นระดับปฐมวัย มีการจัดสง่ ครูเข้ารับการอบรม

ศึกษาดูงาน เพ่ือนาความรู้มาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน การศึกษานอกสถานท่ีในและนอกห้องเรียน
สง่ เสริมให้ครูผสู้ อนจัดกระบวนการเรียนการสอน พัฒนานกั เรียนที่สอดคล้องกับวุฒิภาวะเป็นไปตามวัย โดย
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ท้ังการเรียนรู้ภายในสถานศึกษา
และการศกึ ษาเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภมู ิปัญญาท้องถ่นิ เพ่ือให้เดก็ มีพฒั นาด้านร่างกาย พัฒนาการด้าน
อารมณ์-จิตใจ พัฒนาการทางด้านสังคม และพัฒนาการด้านสติปัญญา นักเรียนรักการเรียนรู้และแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย จัดกจิ กรรมเพ่ือสร้างเครอื ข่ายการเรียนรู้ รวมท้ังส่งเสริมให้ครูผู้สอนใช้
กระบวนการวิจัยในชัน้ เรยี นเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพนกั เรียน ส่งผลใหน้ กั เรียนระดับปฐมวยั ทบี่ กพร่องทางการไดย้ ิน
และบกพร่องทางสติปญั ญา ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ

๒. ผลกำรดำเนินกำรพฒั นำ
๑. ครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ มีการจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริม

พัฒนาการเด็กทัง้ ดา้ นร่างกาย อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา และการสอนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพตามความ
บกพรอ่ งและประเภทความพกิ าร เป็นรายบุคคล

๒. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ลงมือทาและสร้าง
องค์ความรู้ด้วยตนเอง อย่างมีความสุข โดยครูพาทากิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย กิจกรรมการเล่นอิสระ
ตามมุมเสรี กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง กิจกรรมรายงานตัวในตอนเช้า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
ภายในช้ันเรียน

๓. จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อธรรมชาติ สื่อสาหรับ
มุด ลอด ปีนป่าย และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย มีการจัดทามุมแสดงผลงาน มุมฤดูกาล มุมของเล่น
ภายในหอ้ งเรียนและนานักเรียนเข้าไปใช้บรกิ ารแหลง่ เรียนรู้ “ไอดิน กลนิ่ ขา้ ว” ภายในโรงเรียน

๔. ครูประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ ด้วยวิธกี ารประเมนิ พฒั นาการของนกั เรียนทั้ง ๔ ดา้ น
ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยูผ้ปกครองและูผ้เูก่ยวข้องมีส่วนร่วม นาผลการประเมินท่ีได้ไปปรับปรุงการจัด
ประสบการณ์ และพฒั นาเดก็

หลักฐำนเชิงประจักษ์
๑. รายงานการเข้ารับการอบรมและแสวงหาความรขู้ องครู
๒. แผนจัดการเรยี นรู้แบบสองภาษาตามแนววอลดอร์ฟ
๓. กิจกรรมเสริมสร้างพฒั นาการของนกั เรียนทงั้ ๔ ดา้ น
๔. รายงานการประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้

๑๐

๕. การจัดทาแผนการศกึ ษาเฉพาะบุคคล IEP , IIP
๖. การจัดทาวิจยั ในชนั้ เรยี น
๗. การจัดหาส่ือท่เี หมาะสมกบั ผู้เรียน

๓. จดุ เดน่
ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณก์ ารเรียนรูท้ ่ีเน้นเดก็ เป็นสาคัญ มีการจัดประสบการณ์

เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการเด็กท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และการสอนได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพตามความบกพรอ่ งและประเภทความพกิ าร

๔. จุดทีค่ วรพฒั นำ
๑. ครูควรวางแผนระบบประเมินพัฒนาการเด็กให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง

ประสงค์ ใช้เครือ่ งมอื ประเมินทห่ี ลากหลาย เนน้ เด็กเป็นรายบคุ คล
๒. ควรสะท้อนผลประเมนิ ไปใชใ้ นการจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็

๕. แผนพัฒนำเพือ่ ใหไ้ ด้มำตรฐำนทสี่ งู ขึน้
๑. ส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้เด็กได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสมตาม

ศกั ยภาพ และสง่ เสริมให้ครไู ด้พัฒนาทักษะทางดา้ นภาษามอื ในระดับทส่ี ูงขนึ้

๑๑

ตอนท่ี ๔
รำยงำนสรปุ ผลกำรประเมนิ คุณภำพของระดับกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน

มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของผเู้ รยี น
ผลกำรประเมินอยูใ่ นระดับ ดีเลิศ

๑. วธิ กี ำรดำเนนิ กำรพัฒนำ
๑. โรงเรียนจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนและกิจกรรมเสรมิ ตา่ งๆ เพื่อให้ผูเ้ รียนบรรลุตามผลสมั ฤทธ์ิ
ทางวิชาการของผู้เรยี น โดยมกี ารดาเนนิ กิจกรรมดงั น้ี

๑.๑ กิจกรรมการสอนแบบบูรณาการ ส่งเสริมกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มี
วิจารณญาณ และมีความคิดสร้างสรรค์โดยจัดการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนแสดงออกด้านทักษะต่างๆ
โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริมให้ครูสอดแทรกดา้ นการคิดวิเคราะห์แกป้ ัญหา และใหผ้ ู้เรียนรู้จกั คิดสร้างสรรคใ์ น
ทกุ กลมุ่ วิชา เช่น คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การงานอาชีพ ศลิ ปะ สขุ ศกึ ษา พลศึกษา และกลุ่มประสบการณ์พเิ ศษ

๑.๒ กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
คุณธรรมจริยธรรม ส่งเสริมการใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ โดยจัดโครงการพัฒนาทักษะทางภาษาเพ่ือการ
สื่อสาร ผ่านกิจกรรมภาษามืออเมริกันน่ารู้ กิจกรรมภาษาไทย จัดกิจกรรมวันสาคัญต่างๆ เช่น
วนั สุนทรภู่ วันวิทยาศาสตร์ และเนน้ ฝึกทักษะพ้นื ฐานด้านงานอาชีพ ในด้านผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน มีการ
ประเมินความก้าวหน้าโดยใช้เทคนิควิธีการประเมินตามสภาพจริง เช่น การประเมินแฟ้มสะสมงาน การ
ทดสอบย่อย การประเมินช้ินงาน/ผลงาน การสังเกตพฤตกิ รรมของผ้เู รยี น

๑.๓ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในด้านต่างๆ เพื่อให้
ผู้เรียนบรรลุผลตามมาตรฐาน โดยดาเนินกิจกรรม คือ ฝึกอาชีพ การเรียนกลุ่มสาระการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี และโครงการพิเศษต่างๆ ได้แก่ งานอาหาร งานตัดเย็บ การเกษตร งานศิลปะ งานช่าง
งานโรงแรม งานเคร่ืองประดับอัญมณี การเจียระไนนิล การทาขนมไทย และงานประดิษฐ์ตา่ งๆ โรงเรียน
เชิญวิทยากรท้องถิ่นมาให้ความรู้ โดยโรงเรียนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนวชิ าชีพต่างๆ ตามความสนใจ
เพ่อื สร้างลักษณะนสิ ัยให้รักการทางาน มเี จตคตทิ ีด่ ีต่ออาชีพสจุ ริต สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ นื่ ได้ และการทา
บนั ทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memorandum of Understanding : MOU) กับหน่วยงานตา่ งๆ เพ่ือการฝึก
ปฏิบตั ิจริงในสถานประกอบการ

๒. โรงเรยี นจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนและกจิ กรรมเสรมิ ต่างๆ เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นบรรลตุ ามคุณลกั ษณะ
ที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โดยมีการดาเนินกิจกรรมดังนี้ โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ (กิจกรรมวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา กิจกรรมทาบุญตักบาตรเนื่องในวันพระ กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระหลงั เลิกเรียน ค่ายพุทธ
บุตร–พุทธธรรม) โครงสายน้าแห่งความดี (กิจกรรมนาทีคุณธรรม กิจกรรมงามอย่างไทย กิจกรรมลูกเสือ
คณุ ธรรม กิจกรรมถักทอใยรกั ) โครงการส่งเสริมการเรียนร้สู ู่ผู้เรียน (กิจกรรมวันสาคัญทางพระมหากษัตริย์
กจิ กรรมสง่ เสริมระบอบประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น กิจกรรมสรา้ งจติ อาสาพฒั นา บา้ น วดั โรงเรยี น กจิ กรรม
วันสาคญั ตามประเพณไี ทย กจิ กรรมเด็กดีศรีโสตกาญจน์) โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาทักษะการดารงชีวติ นักเรียน
ประจา โครงการพัฒนาระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน โครงการเข้าคา่ ยพักแรมลกู เสอื –เนตรนารี โครงการเข้า
ค่าย Day Camp ลูกเสือสารองชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓ โครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน(กจิ กรรมภาษา
มือน่ารู้ กิจกรรมศิลปะบาบัด) โครงการทัศนศึกษา(วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร ลานแสดงช้างและ
ฟารม์ จระเขส้ ามพราน)

๑๒

๒. ผลกำรดำเนนิ กำรพัฒนำ
๑ ผลสมั ฤทธิท์ ำงวิชำกำรของผเู้ รียน
๑. ควำมสำมำรถในกำรอำ่ น เขียน กำรสื่อสำร และกำรคิดคำนวณ
- ผู้เรียนบกพร่องทางการได้ยิน ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ มผี ลการ

อ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ ผ่านเกณฑ์ระดับดี ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ตามเป้าหมายที่
สถานศึกษากาหนด

- ผู้เรียนบกพร่องทางสตปิ ัญญา ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีผลการ
อ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ ผ่านเกณฑ์ระดับดี ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ตามเป้าหมายท่ี
สถานศึกษากาหนด

๒. ควำมสำมำรถในกำรคิดวเิ ครำะห์ คดิ อยำ่ งวิจำรณญำณ อภิปรำยแลกเปลยี่ นควำม
คิดเห็น และแก้ปัญหำ

ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความ
คิดเห็น และแกป้ ัญหา ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มทกั ษะการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน และผ่านกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ อาทิ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์ ด้วยเทคนิค STEM กิจกรรมนาทคี ณุ ธรรม กิจกรรมภาษามือน่ารู้ กจิ กรรมศลิ ปะบาบดั

๓. ควำมสำมำรถในกำรสรำ้ งนวัตกรรม
ผเู้ รียนสามารถรวบรวบความรู้ด้วยตนเองและการทางานเป็นทีม ในการสร้างสรรค์ ผลงาน
ชน้ิ งาน ผ่านกจิ กรรมการเรียนรู้ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กลมุ่ ทักษะการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน และผ่าน
กจิ กรรมท่ีสถานศึกษาจดั การเรียนรู้ อาทิโครงการพัฒนาทกั ษะงานอาชีพเพื่อเตรียมความพร้อมนกั เรยี นสู่การ
ทางาน กิจกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ด้วยเทคนิค STEM โครงการขับเคลื่อน
โรงเรียนคุณธรรม โครงการขับเคลื่อนหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในโรงเรยี น
๔. ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศ และกำรส่อื สำร
- ผู้เรียนบกพร่องทางการได้ยิน ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ มี
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ผ่านเกณฑ์ระดับดี ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ ๘๐ ตาม
เปา้ หมายทส่ี ถานศึกษากาหนด
- ผู้เรียนบกพร่องทางสติปัญญา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ มี
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ผ่านเกณฑร์ ะดับดี ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ตาม
เปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
๕. ควำมกำ้ วหนำ้ ทำงกำรเรยี นตำมหลกั สูตร
- ผู้เรียนบกพร่องทางการได้ยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ มีเกรด
เฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ข้ึนไป ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๕๐ ตามเป้าหมายท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
- ผู้เรียนบกพร่องทางสติปัญญาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ มีเกรด
เฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๕๐ ตามเป้าหมายท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
๖) ควำมพรอ้ มในกำรศกึ ษำต่อ กำรฝึกงำน หรอื กำรทำงำน
การทาบนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมือ (Memorandum of Understanding : MOU) กับ
หน่วยงานตา่ งๆ ที่เกย่ี วขอ้ งกับการศกึ ษา
สถาบนั การศกึ ษา ๒ แหง่ คือ

๑๓

๑. โครงการความร่วมมือในการเปิดสอนเรียนร่วมหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพระหว่าง
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี กับวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรีเพ่ือพัฒนาศักยภาพด้านวิชาชีพให้มี
คณุ ภาพ และสามารถออกสตู่ ลาดแรงงานได้

๒. วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล
หน่วยงานเอกชน ๖ แห่ง คือ
๑. ศูนยฝ์ ึกวชิ าชพี เจยี ระไนนลิ อนนั ตพลพลอยกาญจน์
๒. โรงแรมเทวมันตรท์ รา รสี อรท์ แอนด์สปา
๓. บริษทั แพรนดา้ จวิ เวลรี จากัด (มหาชน)
๔. บรษิ ทั ศรฟี ้าโฟรเซนฟ้ดู จากัด
๕. โรงแรมบ้านสวนฝน
๖. พี พี บาเบอร์
เพอื่ ใหก้ ารส่งเสรมิ และสนบั สนุน การจัดการเรียนการสอนและฝึกประสบการณ์วิชาชพี ให้กับ
ผเู้ รียนทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการได้ยินและผู้เรยี นท่มี ีความบกพรอ่ งทางสติปัญญาเพ่อื เตรียมความพร้อมสู่การ
มีงานทา สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน

๒. คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผ้เู รียน
๑. คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผเู้ รียน
- ผู้เรียนบกพร่องทางการได้ยิน ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ – มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ มีผล

ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ระดับดี ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
กาหนด

- ผู้เรียนบกพร่องทางสติปัญญา ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีผล
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ระดับดี ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ตามเป้าหมายที่สถานศึกษา
กาหนด

๒. มีสุขภำวะทำงรำ่ งกำย และจิตสงั คม
ผ้เู รียนมกี ารรกั ษาสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ อารมณ์ แล ะ สั ง ค ม แ ล ะ แ ส ด ง อ อ ก อ ย่ า ง
เหมาะสมในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับ คนอ่ืนอย่างมคี วามสุข เขา้ ใจผอู้ ่ืน ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อ่ืนผ่าน
กจิ กรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มทักษะการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น และผา่ นกิจกรรมท่ี
สถานศึกษาจัดการเรยี นรู้ อาทิโครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โครงการส่งเสริมพฒั นาทักษะการ
ดารงชวี ติ นกั เรยี นประจา โครงการส่งเสริมสขุ ภาพอนามยั โรงเรียน โครงการเด็กไทยทาได้

หลกั ฐำนเชิงประจกั ษ์
๑. หลักสูตรสถานศกึ ษา หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ หลักสตู รทักษะการเรียนรู้ กิจกรรมพฒั นา
ผู้เรยี น หลกั สูตรสาระเพม่ิ เตมิ
๒. แผนจดั การเรียนรู้
๓. บันทกึ กจิ กรรมการแปรงฟนั หลังอาหารทกุ วัน
๔. บันทึกจดั บริการให้นักเรียนได้ดืม่ นมทุกวัน
๕. จดั ทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ให้นกั เรียนทกุ คน
๖. จัดทาแผนการการสอนรายบุคคล (IIP) ใหน้ กั เรยี นท่ีไมส่ ามารถเรียนได้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้

๑๔

๗. รายงานการถอดบทเรียน โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบสองภาษา ตามแนวการจัด
การศึกษาวอลดอรฟ์

๘. รายงานการดาเนินงานโครงการเพาะเห็ดเพื่อการเรียนรู้สู่อาชีพ(ภายใต้แผนพัฒนาคุณภาพ
โรงเรียนประชารัฐ)

๙. รายงานโครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี

๓. จุดเดน่
๑. ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม ได้รับการปลูกฝังให้เป็นลูกท่ีดี

นักเรยี นท่ดี ี มคี วามกระตอื รือร้นในการคิดเป็น ทาเป็น รูจ้ ักปรับตวั เขา้ กับสังคมอย่างเหมาะสม
๒. ผูเ้ รยี นมสี ุนทรยี ภาพ สามารถเข้าแขง่ ขนั ศลิ ปะ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กีฬา จนไดร้ บั รางวลั
๓. ผ้เู รยี นเลือกเรียนงานอาชพี ตามความถนัดและความสนใจ
๔. ผู้เรยี นใหค้ วามร่วมมือของทกุ คร้งั ในการรว่ มจัดกิจกรรมอย่างกระตือรือรน้ สม่าเสมอ
๕. ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมทักษะตามมาตรฐาน และมีหลักฐานปรากฏ ในเรื่องการกล้าแสดงออก

เช่น จดั กิจกรรมการแสดง การเลา่ เร่ืองภาษามือ การพัฒนาภาษาเพ่ือการสื่อสาร การกีฬา กิจกรรมทาง
ศลิ ปะ และทกุ กิจกรรมเชอ่ื มโยงไปถงึ การสอื่ สารใหม้ ีประสทิ ธิภาพ เพื่อเป็นพน้ื ฐานในการเรียนระดบั สูง

๔. จุดที่ควรพฒั นำ
๑. ส่งเสริมกระบวนการคิดโดยจัดการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนแสดงออกด้านทักษะต่างๆ ใน

ทุกกลมุ่ วิชา
๒. สง่ เสริมกิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั สอดคล้องตามศกั ยภาพเพอื่ ให้ผเู้ รยี น

ใหม้ คี วามรู้และทักษะที่จาเปน็

๕. แผนพัฒนำเพอ่ื ใหไ้ ดม้ ำตรฐำนทสี่ งู ขน้ึ
๑. การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผ้เู รียนให้สูงข้ึน
๒. พัฒนาด้านการอา่ น การเขยี น และการคิดวิเคราะหแ์ ก้ปญั หาให้กบั ผู้เรยี นให้มากขน้ึ
๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างนวตั กรรม เพ่อื ฝึกกระบวนการคิดอย่างเปน็ ลาดบั ข้นั ตอนดว้ ย

กจิ กรรมโครงงาน และจดั กิจกรรมส่งเสริมความภูมิใจในทอ้ งถิน่ ตามศักยภาพ

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร
ผลกำรประเมนิ อยใู่ นระดบั ดีเลิศ

๑. วธิ กี ำรดำเนินกำรพัฒนำ
๑. โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี กาหนด เป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจ ไว้อย่างชัดเจน

สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น ๕ ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหารงาน

๑๕

วิชาการ ฝ่ายแผนงานและงบประมาณ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝ่ายบริหารงานทั่วไป และฝ่ายบริหาร
กจิ การนกั เรียน ในการบริหารและการจัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน

๒. พัฒนาครูให้มีความสามารถในรายวิชาที่สอนตามหลักเกณฑ์ที่คุรุสภากาหนด และมุ่ง
ส่งเสริมครูทักษะในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ การทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
มีทักษะการใช้เทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน และ
ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

๓. พัฒนาด้านหลักสูตรของสถานศึกษา ให้มีความเหมาะสมกับสภาพของผู้เรียนแต่ละ
คน และมีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือความรู้ที่ได้จากท้องถิ่นเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
สถานศึกษา

๔. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนในด้านต่างๆ โดยดาเนนิ กจิ กรรม
ตามปรัชญา วิสัยทศั น์ และวัตถุประสงคข์ องการจดั การศกึ ษา ตามนโยบายและแผนการศึกษา จัดกจิ กรรม
ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย ส่งเสริมสนับสนุนให้เข้าร่วมแข่งขันความสามารถทางวิชาการ
การกฬี า ครอบคลมุ ตามความตอ้ งการของผูเ้ รยี น ชมุ ชน และสงั คม

๕. จดั สภาพแวดลอ้ ม ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียน ให้เออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นรู้
๖. มีกากับติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ส่งเสริมสนับสนุนงานประกัน
คณุ ภาพการศกึ ษา งานนโยบายและแผน

๒. ผลกำรดำเนินกำรพฒั นำ
๑. โรงเรียนโสตศึกษาจงั หวัดกาญจนบุรี ดาเนินงานตามเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกิจ มีการ

บริหารงานเป็น ๕ ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายแผนงานและงบประมาณ ฝ่ายบริหารงาน
บคุ คล ฝา่ ยบริหารงานทั่วไป และฝา่ ยบริหารกจิ การนกั เรียน ในการบริหารและการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ผู้บริหารได้ยึดหลักธรรมาภิบาล คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส
หลักการมีส่วนรว่ ม หลกั ความรับผิดชอบ และหลกั ความคุ้มค่า บูรณาการเขา้ กับหลักการแนวคิดการบริหาร
ระบบคณุ ภาพ PDCA เน้นการมีส่วนร่วม รว่ มวางแผนร่วมปฏิบัตงิ านของบคุ ลากรทุกระดับชัน้ ทกุ หมวดวิชา
และทุกฝ่าย โดยการทางานตามวงจร PDCA ในทุกงาน/โครงการ/กิจกรรม มีการกากับติดตามเป็นระยะๆ
จากหัวหน้าฝ่ายหรือหัวหน้าโครงการ มีการรายงานผลการดาเนินงานด้วยวาจาและเป็นลายลักษณ์อักษร มี
การประชุมครทู ั้งโรงเรียน ทกุ สัปดาหท์ ่ี ๓ ของเดอื น

๒. ครูมีความสามารถในรายวิชาที่สอนตามหลักเกณฑ์ที่คุรุสภากาหนด มีทักษะในการ
จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) มีทักษะการใช้เทคโนโลยี
สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน และผู้เรียนที่มีความบกพร่องทาง
สติปัญญา

๓. มีหลักสูตรของสถานศึกษา ที่เหมาะสมกับสภาพของผู้เรียนแต่ละคน และมีการนา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ หลักสูตรสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน หลักสูตรสาหรับ
นักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา และหลักสูตรสาระเพิ่มเติมที่สอดคล้องกับความต้องการของ
ท้องถ่ิน

๔. ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมอย่างหลากหลาย โดยมีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ จัด
กิจกรรมส่งเสริมความสามารถทางวิชาการ ความคิดสร้างสรรค์ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
เข้าร่วมโครงการวิถีพุทธ กิจกรรมส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี/นาฎศิลป์ กีฬา นันทนาการ
สืบสานวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถ่ิน ส่งเสริมสนับสนุนให้เข้าร่วมแข่งขันความสามารถทาง

๑๖

วชิ าการ บูรณาการการเรียนรู้ การใช้สอ่ื จากธรรมชาตแิ ละภูมิปัญญาท้องถิ่นในการเรียนการสอน การนิเทศ
ติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เพ่ือความเหมาะสมกับท้องถ่ิน ครอบคลุมตามความต้องการของผู้เรียน ชุมชน
และสังคม

๕. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมสะอาดรม่ ร่ืน เป็นระเบียบเรียบร้อย มีความปลอดภัยถูกสขุ ลักษณะ
ปรับเปล่ียนภูมิทัศน์และบรรยากาศให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพของผู้เรียนสม่าเสมอ มีการนาภูมิปัญญา
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ระดมทรัพยากรจากชุมชน เพื่อการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ได้อย่างเพียงพอและ
เหมาะสม และการทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memorandum of Understanding : MOU) กับ
หน่วยงานตา่ งๆ ที่เกีย่ วข้องกบั การศกึ ษา

๖. มกี ารกากับติดตาม ประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษา อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

หลกั ฐำนเชงิ ประจักษ์
๑. แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
๒. แผนปฏิบัติการประจาปี
๓. โครงสร้างการบริหารงาน
๔. สรปุ ผลโครงการตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี ๒๕๖๒
๔. รายงานสรุปโครงการบริหารจัดการลดความเสี่ยงภัยพิบัตใิ นสถานศกึ ษา (การให้ความรู้ การ
อพยพฉุกเฉินเม่ือเกิดไฟไหม้)
๕. รายงานโครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน
๖. มีอุปกรณส์ ่ือ มัลตมิ ีเดียเพื่อการเรยี นรู้ จานวน ๒๒ ห้องเรยี น ตามโครงการสานพลงั ประชารฐั
๗. บนั ทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memorandum of Understanding : MOU)
๘. แหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรียน

๓. จุดเด่น
๑. ผู้บรหิ ารเปน็ ผ้นู า มมี นุษยสมั พันธ์ เป็นท่ยี อมรับของผู้เก่ยี วขอ้ ง
๒. สถานศึกษาจัดให้มีการปรับปรุงและพัฒนาองค์กร จัดทาข้อมูลสารสนเทศเป็นปัจจุบัน
ส่งเสริมให้มีการวางแผนก่อนการปฏิบัติงาน บันทึกผลการปฏิบัติงาน ประเมินการปฏิบัติงานเป็นระยะ
จดั ระบบบรหิ ารงานด้านตา่ งๆ ใหม้ คี วามชดั เจนและต่อเนอื่ ง
๓. โรงเรยี นใช้หลกั สูตรสถานศึกษาควบคู่กับภูมิปัญญาท้องถ่ิน เชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมและ
เทคโนโลยีทเี่ อือ้ ต่อการเรียนรู้
๔. สนับสนุนส่งเสรมิ ให้ครเู ข้ารบั การอบรมเพ่อื เป็นความรใู้ นดา้ นการเรยี นการสอนอยา่ งสมา่ เสมอ
๕. มีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพท่ีผู้เรียนให้ความสนใจ มีผลงาน
เปน็ รปู ธรรม และส่งเสรมิ นักเรยี นใหม้ รี ายไดร้ ะหวา่ งเรยี น
๖. โรงเรยี นมีการจัดทาหลักสตู รสถานศึกษาพร้อมมีเอกสารหลักสูตรทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และ
ทกั ษะการเรยี นรู้ อยา่ งครบถ้วน
๗. มีการวางแผนการจัดซ้ือ จัดหา เอกสาร สื่อ นวัตกรรม วัสดุ–อุปกรณ์อย่างมีระบบ และมี
นโยบายส่งเสรมิ ใหค้ รทู กุ คนผลิตสอื่ และเอกสารประกอบการเรยี นการสอน
๘. มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memorandum of Understanding : MOU) กับหน่วยงาน
ตา่ งๆ ท่เี กย่ี วข้องกับการศกึ ษา

๑๗

๔. จดุ ทค่ี วรพัฒนำ
๑. ใช้เครื่องมือการวิจัยความพึงพอใจของผู้ปกครองหรือผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา/การ

ทางาน เป็นต้น
๒. บรู ณาการสภาพปญั หา ความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน ผเู้ รยี น และภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ในหลกั สูตร

อย่างมีขั้นตอน และมีเอกสารร่องรอยชัดเจน การประเมินหลักสูตรควรให้ทุกฝ่ายท่เี กีย่ วขอ้ งทาการประเมิน
เชน่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา

๓. ประเมินการใช้สือ่ การสอน แหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน การนิเทศ และการนาผลประเมนิ
มาพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน

๕. แผนพฒั นำเพอ่ื ใหไ้ ด้มำตรฐำนทสี่ งู ขึน้
๑. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความ

เข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษา และการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา
๒. ส่งเสริมให้ครแู ละบุคลากร จดั กิจกรรมที่เน้นให้นกั เรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิด

สังเคราะห์ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายตามสภาพจริง และ นา
กระบวนการวิจยั มาใชใ้ นการพัฒนาผูเ้ รียน

มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั
ผลกำรประเมนิ อยู่ในระดบั ดีเลศิ

๑. วธิ กี ำรดำเนนิ กำรพฒั นำ
โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมในด้านต่างๆ เพ่ือให้บรรลุผล ตามของ

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั โดยดาเนินกจิ กรรม คือ
ส่งเสริมพัฒนาครูให้มีมาตรฐานวิชาชีพครู พร้อมด้วยจรรยาบรรณครู สนับสนุนให้มีการอบรม

สมั มนาศึกษาดูงานอยา่ งสม่าเสมอ เปิดโอกาสใหป้ ฏิบตั ิการสอนตามความรู้ความถนัดของแต่ละคนมากท่ีสุด
สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ครใู หผ้ ลิตและใชส้ ือ่ การเรียนการสอนอยา่ งหลากหลาย และส่งเสริมพัฒนาการเรียนการ
สอน เช่น การทาแผนจดั การเรยี นรู้ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) การทาวิจัยในชน้ั เรียน การ
ประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง การวิเคราะห์หลักสูตร การจัดทาหลักสูตร การจัดทาส่ือ และพัฒนา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาอยา่ งสม่าเสมอ

จัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนด้านวิชาการ ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการตาม
จินตนาการ ที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติจริง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เช่ือมโยง
บูรณาการสาระการเรียนรู้ และทักษะด้านต่างๆ ในรายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้
การเรียนรู้กลุ่มสนใจอาชีพ และการเรียนการสอนแบบสองภาษาตามแนวทางการศึกษาวอลดอร์ฟสาหรับ
ผเู้ รียนท่ีบกพร่องทางการได้ยนิ และบกพร่องทางสติปญั ญา

ใช้เครื่องมือวิธกี ารวดั และประเมนิ ผลทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกบั การจัดการเรียนการสอน

๒. ผลกำรดำเนินกำรพฒั นำ
๑. ครูมีส่วนร่วมในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรท้องถิ่น ตลอดจนการใช้หลักสูตร

การจดั ทาแผนการเรียนรแู้ ละกระบวนการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั

๑๘

๒. ครูศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล จัดทาแผนจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะ
บุคคล (IEP) วิจัยในช้ันเรียน แผนเปล่ียนผ่านสู่การมีงานทา ออกเยี่ยมบ้านนักเรียน สัมภาษณ์ผู้ปกครอง
นักเรียน โดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ฝึกให้นักเรียนวิเคราะหล์ งมือปฏิบตั ิจริง จดั การเรียนการสอนท้ังในและ
นอกชุมชนและใช้ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น และผลงานนกั เรยี นที่ทาสามารถเผยแพรส่ ู่ผู้อืน่ ได้

๓. คณะครูโรงเรียนโสตศึกษาจงั หวัดกาญจนบุรี มีการประเมินผลการเรียนโดยเน้นกระบวนการ
ในด้านต่างๆ อย่างหลากหลาย เช่น การทาโครงงาน การทารายงาน การทาแฟ้มสะสมงาน ทา
แบบทดสอบ ทาแบบฝึกหัด โดยใชเ้ ครื่องมอื ที่เหมาะสม มีการประเมินตามสภาพท่ีแท้จริง นอกจากนั้นยัง
นาผลมาใช้ในการพฒั นาและปรังปรุงให้ดีขึ้น มีวธิ ีการวดั และประเมินผลการเรียนการสอนตลอดจนนาผลมา
พฒั นาการจัดการเรยี นการสอน

๔. ครผู ู้สอนนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นทุกกลมุ่ วชิ า มาคิดวิเคราะห์ เพื่อนาไปแก้ไขในกลุ่มวิชาท่ี
ต่าก็คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ผู้สอนได้วางแนวทางในการแก้ไข คือ
สอนซ่อมเสริม จัดกิจกรรมในการพัฒนาการฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ
บันทกึ ผลความก้าวหนา้ ทกุ กลมุ่ วิชาทีเ่ ป็นปญั หา

๕. ครูได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพของตนให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของ
สังคมปัจจุบัน และส่งเสริมสนับสนุนให้ครูในโรงเรียนเข้ารบั การอบรม สัมมนาและศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม
ตามความสามารถและความสนใจของแต่ละบคุ คล และเขา้ อบรมครตู ามโครงการพัฒนาครูรปู แบบครบวงจร

หลกั ฐำนเชิงประจกั ษ์
๑. รายงานผลการอบรมครูตามโครงการพัฒนาครูรปู แบบครบวงจร
๒. หลักสตู รสถานศึกษา
๓. แผนจัดการเรยี นรู้
๔. การจัดทาแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP , IIP
๕. การจัดทาวจิ ัยในชัน้ เรียน
๖. การจัดหาส่อื ท่ีเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น
๗. กจิ กรรมต่างๆ ในแต่ละกลุม่ สาระการเรียนรู้
๘. การนเิ ทศการจดั การเรยี นรู้
๙. ร่องรอยการจดั การเรียนรู้
๑๐. รายงานการวดั ผลทางการศึกษา เช่น ปพ.๕
๑๑. รายงานผลโครงการกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร เช่น การอบรมโครงการส่งเสริมสุขภาพ

อนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน การอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการ
เรียนการสอน การอบรมโครงการพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรทางการศึกษา(ศิลปะการผูกผ้าและการจับจีบ
กระโปรงโตะ๊ )

๑๒. รายงานผลโครงการกิจกรรมการพัฒนานักเรียน
๓. จุดเด่น

๑. มีการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนเพ่อื ให้ครู
และบุคลากรมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการใช้โปรแกรม ในการสร้างสื่อการเรยี นการสอนตา่ งๆ

๒. มีการอบรมโครงการคา่ ยเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม เพ่ือให้ครูมีความรู้ความเขา้ ใจ นาไปใช้
ในการจัดการเรียนรู้ และพฒั นาผเู้ รยี นในดา้ นคุณธรรม จริยธรรมได้

๑๙

๓. ครูผู้สอนจัดกิจกรรมหลากหลาย ใช้แหล่งเรียนรู้และร่วมมือกับชมุ ชนในการใช้ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินอย่าง
เหมาะสม และจัดการเรียนการสอนและฝึกประสบการณ์วชิ าชีพให้กับนกั เรียนท่มี ีความบกพรอ่ งทางการได้ยิน
และนกั เรยี นท่ีมีความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญาเพ่อื เตรียมความพร้อมส่กู ารมีงานทา ในสถานประกอบการ

๔. จดุ ทค่ี วรพัฒนำ
๑. ส่งเสริมให้ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาได้รบั การพัฒนาทางด้านการศกึ ษาพเิ ศษ
๒. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทา IEP และ IIP เน้นการใช้ส่ือ

ประกอบการสอน และจดั อบรมเชงิ ปฏิบัติการด้านอืน่ ๆ อยา่ งต่อเน่อื ง

๕. แผนพฒั นำเพ่อื ให้ไดม้ ำตรฐำนท่สี ูงขึ้น
๑. พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาและหลกั สตู รทอ้ งถ่นิ อย่างต่อเน่ือง
๒. จัดการนเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอนอย่างต่อเนื่องและสมา่ เสมอ และนาผลการนเิ ทศ

ตดิ ตามไปพฒั นาคุณภาพการศึกษาตอ่ ไป
๓. ส่งเสริมให้ครูผลติ สื่อ มีนวตั กรรมในการจัดการเรยี นรู้ และมกี ารเผยแพร่

๒๐
ภำคผนวก

๒๑

ขอ้ มูลผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียนระดับสถำนศกึ ษำ
ผเู้ รียนทมี่ ีควำมบกพร่องทำงกำรไดย้ นิ (เรียน ๘ กลมุ่ สำระกำรเรียนร)ู้

รอ้ ยละของนักเรยี นบกพรอ่ งทำงกำรได้ยนิ ทมี่ ผี ลพัฒนำกำร
ระดับชั้นปฐมวยั ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒

ด้านสติปัญญา ๘๖.๓๖

ดา้ นสังคม ๙๑.๒๗

ดา้ นอารมณ-์ จิตใจ ๙๕.๐๔

ดา้ นร่างกาย ๘๓.๓๓

๗๕.๐๐ ๘๐.๐๐ ๘๕.๐๐ ๙๐.๐๐ ๙๕.๐๐ ๑๐๐.๐๐
ด้านร่างกาย ด้านอารมณ-์ จิตใจ ดา้ นสงั คม ดา้ นสตปิ ญั ญา

.

ร้อยละของผเู้ รียนบกพร่องทำงกำรได้ยิน ท่มี ีเกรดเฉลยี่ ผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นแตล่ ะรำยวิชำในระดบั ๓ ขน้ึ ไป
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปที ี่ ๑ – ๖ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒

ภาษาอังกฤษ ๘๒.๗๖
การงานอาชพี ฯ ๘๔.๔๘

ศิลปะ ๑๐๐.๐๐
สขุ ศกึ ษาฯ ๘๒.๘๖
สงั คมศึกษาฯ ๗๙.๓๑
วิทยาศาสตร์ ๕๘.๖๒
คณติ ศาสตร์ ๗๐.๖๙
ภาษาไทย
๘๗.๙๓

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ 4
สุขศึกษาฯ ศลิ ปะ การงานอาชพี ฯ ภาษาอังกฤษ

๒๒

รอ้ ยละของผเู้ รียนบกพร่องทำงกำรไดย้ ิน ทม่ี เี กรดเฉล่ียผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นแต่ละรำยวิชำในระดับ ๓ ขึน้ ไป
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๑ - ๓ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒

ภาษาองั กฤษ ๕๘.๓๓
การงานอาชพี ฯ ๘๗.๕๐
๙๑.๖๗
ศิลปะ ๑๐๐.๐๐
สุขศึกษาฯ
สงั คมศกึ ษาฯ ๗๕.๐๐
วิทยาศาสตร์ ๗๙.๑๗
คณติ ศาสตร์ ๑๐๐.๐๐
ภาษาไทย ๘๗.๕๐

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ
สขุ ศกึ ษาฯ ศิลปะ การงานอาชพี ฯ ภาษาองั กฤษ

ร้อยละของผเู้ รยี นบกพรอ่ งทำงกำรได้ยิน ที่มเี กรดเฉล่ยี ผลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี นแตล่ ะรำยวิชำในระดับ ๓ ขึน้ ไป
ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษำปที ี่ ๔ - ๖ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒

ภาษาอังกฤษ ๘๐.๐๐
การงานอาชีพฯ ๑๐๐.๐๐

ศิลปะ ๙๐.๐๐
สุขศกึ ษาฯ ๑๐๐.๐๐
สงั คมศึกษาฯ
วิทยาศาสตร์ ๘๕.๐๐
คณิตศาสตร์ ๙๕.๐๐
ภาษาไทย ๙๕.๐๐

๗๕.๐๐

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ
สขุ ศึกษาฯ ศลิ ปะ การงานอาชพี ฯ ภาษาองั กฤษ

๒๓

ผเู้ รยี นท่ีมีควำมบกพร่องทำงสตปิ ญั ญำ (เรียน ๖ กลุม่ ทกั ษะกำรเรยี นรู้)

รอ้ ยละของนกั เรียน (บกพรอ่ งทำงสติปญั ญำ) ท่มี ผี ลกำรพฒั นำ
ระดับปฐมวัย ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒

ดา้ นสติปัญญา ๗๗.๖๑

ดา้ นสงั คม ๘๓.๕๑

ด้านอารมณ-์ จิตใจ ๘๖.๓๗

ด้านรา่ งกาย ๗๘.๒๙

๗๒.๐๐ ๗๔.๐๐ ๗๖.๐๐ ๗๘.๐๐ ๘๐.๐๐ ๘๒.๐๐ ๘๔.๐๐ ๘๖.๐๐ ๘๘.๐๐
ด้านรา่ งกาย ด้านอารมณ-์ จติ ใจ ดา้ นสงั คม ดา้ นสติปญั ญา

ร้อยละของผู้เรยี นบกพร่องทำงสตปิ ญั ญำ ที่มเี กรดเฉล่ยี ผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรียนแต่ละรำยวชิ ำในระดบั ๓ ข้นึ ไป
ระดับชั้นประถมศึกษำปที ี่ ๑-๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒

อาชีพ ๕๗.๖๙ ๙๒.๓๑
วชิ าการ ๖๑.๕๔ ๘๘.๔๖
สงั คมฯ ๖๕.๓๘
ช่วยเหลอื ฯ ๑๐๐.๐๐
ภาษาฯ
เคล่อื นไหว

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
เคลือ่ นไหว ภาษาฯ ชว่ ยเหลือฯ สังคมฯ วชิ าการ อาชีพ

๒๔

ร้อยละของผเู้ รียนบกพรอ่ งทำงสตปิ ญั ญำ ที่มเี กรดเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี นแตล่ ะรำยวิชำในระดบั ๓ ขึน้ ไป
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษำปีที่ ๑-๓ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒

อาชพี ๘๖.๒๑ ๙๓.๑๐
วชิ าการ ๘๒.๗๖
สงั คมฯ ๗๙.๓๑
ชว่ ยเหลือฯ ๘๒.๗๖
ภาษาฯ
เคลอื่ นไหว ๘๖.๒๑

๗๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ๘๐.๐๐ ๘๕.๐๐ ๙๐.๐๐ ๙๕.๐๐
เคล่ือนไหว ภาษาฯ ช่วยเหลอื ฯ สงั คมฯ วชิ าการ อาชพี

ร้อยละของผ้เู รยี นบกพร่องทำงสตปิ ัญญำ ที่มีเกรดเฉลย่ี ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี นแตล่ ะรำยวชิ ำในระดบั ๓ ขน้ึ ไป
ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๔-๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒

อาชพี ๕๗.๑๔ ๑๐๐.๐๐
วชิ าการ
สังคมฯ ๑๐๐.๐๐
ช่วยเหลอื ฯ ๙๒.๘๖
ภาษาฯ ๗๘.๕๗
เคล่อื นไหว
๑๐๐.๐๐

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
เคล่อื นไหว ภาษาฯ ช่วยเหลือฯ สังคมฯ วิชาการ อาชพี

๒๕

ข้อมูลผลกำรประเมินตำมแผนกำรจดั กำรศึกษำเฉพำะบุคคล

กำรเรยี นกำรสอนผเู้ รยี นท่ีมคี วำมบกพร่องทำงกำรได้ยิน
ร้อยละของนกั เรียนทม่ี ผี ลพัฒนำกำรตำมเปำ้ หมำยทก่ี ำหนดตำมแผนกำรจัดกำรศกึ ษำเฉพำะบุคคล (IEP)
ระดับชั้นปฐมวัย ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดบั ช้ันอนุบำล ปีกำรศึกษำ 2559

ด้านสติปัญญา ๑๐๐.๐๐
ด้านสังคม ๑๐๐.๐๐
๑๐๐.๐๐
ด้านอารมณ์-จิตใจ ๑๐๐.๐๐
ดา้ นร่างกาย

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ-์ จิตใจ ดา้ นสังคม ดา้ นสติปญั ญา

ร้อยละของผเู้ รียนท่ีมผี ลพัฒนำกำรตำมเปำ้ หมำยท่กี ำหนดตำมแผนกำรจัดกำรศกึ ษำเฉพำะบุคคล (IEP)
ระดับช้ันประถมศึกษำปที ี่ ๑ - ๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๑

ภาษาอังกฤษ ระดบั ชน้ั อนบุ ำล ปีกำรศึกษำ 2559 ๙๕.๘๓
การงานอาชพี ฯ
๘๗.๕๐ ๑๐๐.๐๐
ศลิ ปะ ๙๑.๖๗ ๑๐๐.๐๐
สขุ ศึกษาฯ ๑๐๐.๐๐
สังคมศกึ ษาฯ
วิทยาศาสตร์ ๑๐๐.๐๐
คณิตศาสตร์ ๑๐๐.๐๐
ภาษาไทย

๘๐.๐๐ ๘๒.๐๐ ๘๔.๐๐ ๘๖.๐๐ ๘๘.๐๐ ๙๐.๐๐ ๙๒.๐๐ ๙๔.๐๐ ๙๖.๐๐ ๙๘.๐๐ ๑๐๐.๐๐

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ
สุขศกึ ษาฯ ศลิ ปะ การงานอาชีพฯ ภาษาอังกฤษ

๒๖

ร้อยละของผเู้ รียนทีม่ ีผลพัฒนำกำรตำมเป้ำหมำยท่ีกำหนดตำมแผนกำรจัดกำรศกึ ษำเฉพำะบุคคล (IEP)
ระดับชัน้ มัธยมศึกษำปีท่ี ๑ - ๓ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๑

ภาษาอังกฤษ ๙๒.๘๖ ๙๕.๒๔
การงานอาชีพฯ ๙๕.๒๔
๙๒.๘๖ ๙๕.๒๔
ศลิ ปะ ๙๒.๘๖
สขุ ศึกษาฯ ๙๕.๒๔
สังคมศกึ ษาฯ
วิทยาศาสตร์ ๙๕.๒๔
คณติ ศาสตร์
ภาษาไทย

๙๑.๕๐ ๙๒.๐๐ ๙๒.๕๐ ๙๓.๐๐ ๙๓.๕๐ ๙๔.๐๐ ๙๔.๕๐ ๙๕.๐๐ ๙๕.๕๐

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ
สขุ ศกึ ษาฯ ศลิ ปะ การงานอาชีพฯ ภาษาองั กฤษ

รอ้ ยละของผเู้ รียนท่ีมผี ลพัฒนำกำรตำมเป้ำหมำยที่กำหนดตำมแผนกำรจดั กำรศึกษำเฉพำะบุคคล (IEP)
ระดับชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี ๔ – ๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๑

ภาษาองั กฤษ ๙๒.๘๖ ๑๐๐.๐๐
การงานอาชพี ฯ ๑๐๐.๐๐
๙๒.๐๐ ๙๔.๐๐ ๙๖.๐๐ ๙๘.๐๐ ๑๐๐.๐๐
ศลิ ปะ ๑๐๐.๐๐
สขุ ศกึ ษาฯ ๑๐๐.๐๐
สงั คมศกึ ษาฯ ๑๐๐.๐๐
วทิ ยาศาสตร์ ๑๐๐.๐๐
คณิตศาสตร์
ภาษาไทย ๑๐๐.๐๐

๘๘.๐๐ ๙๐.๐๐ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ
ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาองั กฤษ
ภาษาไทย
สุขศึกษาฯ

๒๗

กำรเรยี นกำรสอนผเู้ รยี นที่มคี วำมบกพร่องทำงสติปัญญำ

ร้อยละของนักเรยี นทมี่ ผี ลพัฒนำกำรตำมเปำ้ หมำยทีก่ ำหนดตำมแผนกำรจัดกำรศกึ ษำเฉพำะบคุ คล (IEP)
ระดบั ปฐมวยั ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒

ระดบั ชั้นอนบุ ำล ปีกำรศึกษำ 2559

ดา้ นสติปัญญา ๑๐๐.๐๐

ดา้ นสงั คม ๑๐๐.๐๐

ด้านอารมณ์-จติ ใจ ๑๐๐.๐๐

ด้านรา่ งกาย ๑๐๐.๐๐

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ-์ จิตใจ ดา้ นสงั คม ด้านสติปญั ญา

รอ้ ยละของผเู้ รียนที่มผี ลพัฒนำกำรตำมเปำ้ หมำยที่กำหนดตำมแผนกำรจัดกำรศกึ ษำเฉพำะบุคคล (IEP)
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๑ - ๖ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๑

ระดับชั้นอนุบำล ปกี ำรศึกษำ 2559

อาชพี ๙๘.๑๕
วชิ าการ ๑๐๐.๐๐
สังคมฯ ๘๘.๘๙
ช่วยเหลือฯ ๗๙.๖๓
ภาษาฯ ๘๕.๑๙
เคลื่อนไหว ๑๐๐.๐๐

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐

เคลื่อนไหว ภาษาฯ ชว่ ยเหลอื ฯ สงั คมฯ วิชาการ อาชีพ

๒๘

ร้อยละของผเู้ รียนทมี่ ผี ลพัฒนำกำรตำมเป้ำหมำยทกี่ ำหนดตำมแผนกำรจดั กำรศึกษำเฉพำะบคุ คล (IEP)
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษำปที ี่ ๑ – ๓ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๑

ระดับชั้นอนุบำล ปกี ำรศกึ ษำ 2559

อาชพี ๑๐๐.๐๐
วิชาการ ๑๐๐.๐๐
สังคมฯ ๑๐๐.๐๐
ชว่ ยเหลอื ฯ ๑๐๐.๐๐
ภาษาฯ ๑๐๐.๐๐
เคลือ่ นไหว ๑๐๐.๐๐

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐

เคลื่อนไหว ภาษาฯ ชว่ ยเหลือฯ สงั คมฯ วชิ าการ อาชีพ

รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่มผี ลพัฒนำกำรตำมเปำ้ หมำยที่กำหนดตำมแผนกำรจัดกำรศึกษำเฉพำะบุคคล (IEP)
ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๔ - ๖ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๑

อาชีพ ระดับช้ันอนบุ ำล ปีกำรศกึ ษำ 2559 ๑๐๐.๐๐
วิชาการ ๗๕.๐๐
สังคมฯ ๑๐๐.๐๐
ชว่ ยเหลอื ฯ ๗๕.๐๐ ๑๐๐.๐๐
ภาษาฯ
เคลือ่ นไหว ๑๐๐.๐๐

๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐

เคลอื่ นไหว ภาษาฯ ช่วยเหลือฯ สังคมฯ วชิ าการ อาชีพ

๒๙

ผลกำรประเมนิ ผลสมั ฤทธผิ์ ูเ้ รยี นตำมหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขนั้ พ้ืนฐำน (NT)

๑) ผลกำรประเมินผลสัมฤทธ์ิผ้เู รยี นตำมหลักสตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน (NT)

ประจำปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๑

๖๐.๐๐ ๕๐.๐๐ ๓๗.๘๕
๔๐.๐๐ ๒๘.๕๗

๒๐.๐๐

๐.๐๐ ดา้ นคานวณ ดา้ นเหตผุ ล
ดา้ นภาษา

๒) ผลกำรประเมินผลสัมฤทธ์ผิ ู้เรียนตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขนั้ พืน้ ฐำน (NT) ประจำปี

กำรศกึ ษำ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒

๒.๑) เปรียบเทยี บภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รยี น
ระดับชาติ (NT) และรอ้ ยละของผลต่างระหวา่ งปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒

ควำมสำมำรถ ปกี ำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ ร้อยละของผลตำ่ ง
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ระหวำ่ งปกี ำรศกึ ษำ
ด้ำนภำษำ ๕๐.๐๐ ๕๘.๗๕
ด้ำนคำนวณ + ๘.๗๕
ดำ้ นเหตุผล ๒๘.๕๗ ๕๗.๒๕
+ ๒๘.๖๘
๓๗.๘๕ -
-

รวมควำมสำมำรถทง้ั สำมดำ้ น ๓๘.๘๑ ๕๘ + ๑๙.๑๙

๒.๒) เปรยี บเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รยี นระดบั ชาติ (NT)
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒ จาแนกตามรอ้ ยละของระดบั คุณภาพ

๗๐.๐๐ ๕๘.๗๕
๖๐.๐๐ ๕๗.๒๕
๒๕๖๒
๕๐.๐๐ ๕๐.๐๐

๔๐.๐๐

๓๐.๐๐ ๒๘.๕๗

๒๐.๐๐
๑๐.๐๐
๐.๐๐

๒๕๖๑

ด้านภาษา ดา้ นคานวณ

๓๐

ผลกำรทดสอบระดับชำตขิ องผู้เรยี น
๑) ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติ(O-NET) ประจำปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒
ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำตขิ น้ั พื้นฐำน (O-NET) ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี ๖
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ผเู้ รียนระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ไมไ่ ด้ทดสอบวัดผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน(O-NET) เนื่องจากเปน็ นกั เรยี นทบ่ี กพร่องทางสติปญั ญา

ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติขัน้ พืน้ ฐำน (O-NET) ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒ ชั้นมัธยมศึกษำปที ี่ ๓

๓๕.๐๐ ๓๓.๒๙

๓๐.๐๐ ๒๗.๑๔
๒๕.๐๐ ๒๔.๐๐ ๒๔.๐๐

คะแนนเฉ ่ลีย ๒๐.๐๐ ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
๑๕.๐๐ คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์
๑๐.๐๐

๕.๐๐

๐.๐๐
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติขั้นพ้นื ฐำน (O-NET) ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ ๖

๒๕.๐๐ ๒๑.๘๐ ๒๔.๒๐

๒๐.๑๓ ๒๐.๕๐
๒๐.๐๐ ๑๘.๐๕

คะแนนเฉ ่ลีย ๑๕.๐๐ ภาษาไทย
สังคมฯ
๑๐.๐๐ ภาษาองั กฤษ
คณิตศาสตร์
๕.๐๐ วทิ ยาศาสตร์

๐.๐๐

๓๑

๒) เปรียบเทยี บผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขนั้ พ้นื ฐำน (O-NET) ประจำ
ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒

ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพ้ืนฐำน ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒

ระดับประถมศึกษำปที ่ี ๖

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ผ้เู รียนระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ไมไ่ ด้ทดสอบวดั ผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน(O-NET) เนอ่ื งจากเปน็ นักเรียนที่บกพรอ่ งทางสติปญั ญา

ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำตขิ ัน้ พื้นฐำน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒

ระดบั มัธยมศึกษำปีที่ ๓

๓๕.๐๐ ๓๓.๒๙

๓๐.๐๐ ๓๐.๘๐ ๒๘.๔๐๒๔.๐๐ ๒๔.๐๐ ๒๒๗๕..๒๑๔๐
๒๕.๐๐ ๑๙.๒๐
๒๐.๐๐
๑๕.๐๐

๑๐.๐๐

๕.๐๐

๐.๐๐

ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

๒๕๖๑ ๒๕๖๒

ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติข้ันพน้ื ฐำน ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒

ระดับมธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๖

๓๐.๐๐

๒๕.๐๐ ๒๔.๒๐ ๒๐.๗๕ ๒๐.๕๐ ๒๒.๙๖
๒๐.๐๐ ๒๑.๘๐ ๒๒.๔๐
๒๐.๑๓ ๑๘.๐๕
๑๕.๐๐ ๑๗.๙๐ ๑๘.๐๐

๑๐.๐๐

๕.๐๐

๐.๐๐ สงั คมฯ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
ภาษาไทย

๒๕๖๑ ๒๕๖๒

๓๒

ผลกำรประเมินคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผ้เู รียน

ร้อยละของผลประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ผู้เรียนบกพร่องทำงกำรไดย้ นิ
ระดบั ชั้นประถมศึกษำปที ่ี ๑ – มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒

๑๐๐.๐๐ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๘๐.๐๐
๖๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
๔๐.๐๐
๒๐.๐๐ ๗๕.๐๐
๐.๐๐
๒๔.๐๐

๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐๐๐
ไมผ่ ่าน
ดเี ย่ยี ม ดี ผ่าน

ป.๑-๖ ม.๑-๓ ม.๔-๖

ร้อยละของผลประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ผู้เรียนบกพร่องทำงสตปิ ัญญำ
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๑ – มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๘๐.๐๐ ๗๘.๕๗
๗๐.๐๐
๖๗.๘๖ ๖๕.๓๘

๖๐.๐๐

๕๐.๐๐ ๓๒.๑๔
๔๐.๐๐ ๓๔.๖๒

๓๐.๐๐ ๒๑.๔๓

๒๐.๐๐

๑๐.๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐
๐.๐๐ ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน

ดเี ยี่ยม

ป.๑-๖ ม.๑-๓ ม.๔-๖

๓๓

ผลกำรประเมนิ กำรอำ่ น กำรคิดวเิ ครำะห์ และกำรเขยี นสื่อควำมของผเู้ รียน

ร้อยละของผเู้ รียนบกพร่องทำงกำรไดย้ นิ ทม่ี ีผลกำรอ่ำน กำรคดิ วิเครำะห์ และกำรเขยี นสื่อควำม
ระดับชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๑ – มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๖ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒

กำรอ่ำน กำรคดิ วเิ ครำะห์ และเขยี นสอ่ื ควำม

๗๐.๐๐ ๖๒.๕๐๖๐.๐๐
๖๐.๐๐ ๕๓.๕๗
๕๐.๐๐
๔๐.๐๐ ๔๖.๔๓
๓๐.๐๐ ๓๗.๕๐ ๔๐.๐๐
๒๐.๐๐
๑๐.๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐
๐.๐๐ ไม่ผา่ น

ดีเย่ยี ม ดี ผา่ น

ป.๑-๖ ม.๑-๓ ม.๔-๖

ร้อยละของผเู้ รยี นบกพร่องทำงสติปญั ญำ ทมี่ ีผลกำรอ่ำน กำรคดิ วิเครำะห์ และกำรเขยี นสือ่ ควำม
ระดับชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๑ – มัธยมศึกษำปีท่ี ๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒

กำรอ่ำน กำรคดิ วเิ ครำะห์ และเขยี นส่อื ควำม

๙๐.๐๐ ๘๐.๗๗ ๘๓.๓๓ ๘๕.๗๑

๘๐.๐๐

๗๐.๐๐

๖๐.๐๐

๕๐.๐๐

๔๐.๐๐ ๒๘.๕๗
๓๐.๐๐ ๑๙.๒๓ ๑๔.๒๘
๒๐.๐๐

๑๐.๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐๐๐
ไมผ่ ่าน
๐.๐๐

ดเี ยย่ี ม ดี ผ่าน

ป.๑-๖ ม.๑-๓ ม.๔-๖

๓๔

ผลกำรประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

รอ้ ยละของผู้เรยี นบกพร่องทำงกำรไดย้ นิ ทมี่ ผี ลประเมนิ สมรรถนะสำคญั
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ ๑ – มธั ยมศึกษำปีที่ ๖ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒

สมรรถนะสาคัญ

๑๐๐.๐๐ ๙๕.๑๘๐๓๐.๐๐
๘๐.๐๐ ๖๖.๐๗
๖๐.๐๐
๔๐.๐๐ ๓๓.๙๓
๒๐.๐๐
๐.๐๐ ๔.๑๗ ๐.๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐๐๐
ไมผ่ ่าน
ดีเยีย่ ม ดี ผา่ น

ป.๑-๖ ม.๑-๓ ม.๔-๖

รอ้ ยละของผู้เรียนบกพรอ่ งทำงสตปิ ญั ญำ ทีม่ ผี ลประเมนิ สมรรถนะสำคัญ
ระดบั ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๑ – มัธยมศึกษำปีที่ ๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒

๙๐.๐๐ สมรรถนะสำคัญ
๘๐.๐๐
๗๐.๐๐ ๘๕.๗๑ ๘๕.๗๑
๖๐.๐๐ ๗๓.๐๘
๕๐.๐๐
๔๐.๐๐ ๒๖.๙๒
๓๐.๐๐ ๑๔.๒๙ ๑๔.๒๙
๒๐.๐๐
๑๐.๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐
๐.๐๐ ไม่ผา่ น

ดเี ยีย่ ม ดี ผา่ น

ป.๑-๖ ม.๑-๓ ม.๔-๖

๓๕

กจิ กรรมกำรเรียนรจู้ ำกประสบกำรณ์ตรง

๓๖

กจิ กรรมกำรจัดกำรเรยี นรู้

๓๗

๓๘

๓๙

๔๐

๔๑

๔๒

๔๓

๔๔

กิจกรรมพฒั นาบคุ ลกร

๔๕


Click to View FlipBook Version