The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลภูมิปัญญาชาวบ้านและภูมิปัญญา บางระ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fanggg, 2021-09-17 02:08:10

ข้อมูลภูมิปัญญาชาวบ้านและภูมิปัญญา บางระ

ข้อมูลภูมิปัญญาชาวบ้านและภูมิปัญญา บางระ

คำนำ

การจัดการชุมชนมีพื้นฐานมา จากแนวความคิดที่เชื่อมั่นว่าคนในชุมชนเท่านั้น ที่สามารถจัดการ
ชุมชนของตนเองได้ดี เพราะคน ที่อาศัยอยู่ในชุมชนท้องถิ่นจะเป็นผู้ที่ทราบถึง วิธีการดำเนินชีวิตที่
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ของชุมชน รวมไปถึงการปรับตัวให้เข้ากับสังคมท่ี เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละ
ยุคสมัยได้ โดยการสะสม เป็นองค์ความรู้ ประสบการณ์ หรือทุกสิ่งทุกอยางที่ชาวบ้าน คิดเอง ทำเอง
แก้ปัญหาเอง เพื่อ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และเกิดสั่งสมมาเป็น เวลานาน และมีการถ่ายทอดจากรุ่น
หนึ่งสู่อีกรุ่น หนึ่งในท้องถิ่น เพื่อให้บุคคลสามารถด าเนินชีวิต อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เรียกว่า “ภูมิ
ปัญญา ท้องถิน่ ”

สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบางระกำ ตระหนักถึงความสำคัญของ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอด
กันมานาน จึงได้จัดทำทะเบียนข้อมูลปราชญ์ และภูมิปัญญาท้องถิน่ ข้ึน เพื่อเป็นเผยแพร่ องค์ความรูข้ อง
ชุมชนใหไ้ ดร้ ับการสบื ทอดตอ่ ไปในอนาคต

สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนอำเภอบางระกำ
สงิ หาคม 2564

สารบญั

เรื่อง หนา้

ทำเนียบปราชญช์ มุ ชนและภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ 1-5
เรือ่ ง การทำไข่เค็ม (ไข่ไก่) 6-8
ทำเนียบปราชญช์ มุ ชนและภูมิปัญญาท้องถน่ิ 9-10
เรื่อง การทำขา้ วพอง 11-12
ทำเนียบปราชญ์ชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น 13-14
เรอื่ ง การเพาะเห็ดฟางกองเตี้ย 15-16
ทำเนยี บปราชญ์ชมุ ชนและภูมิปญั ญาท้องถน่ิ 17-20
เรื่อง ดอกไม้จากดินประดษิ ฐ์ 21-24
ทำเนยี บปราชญ์ชมุ ชนและภูมิปญั ญาท้องถน่ิ 25-27
เรอ่ื ง แปรรปู ปลา (ปลาแดดเดียว) 28-32
ทำเนียบปราชญช์ มุ ชนและภูมิปญั ญาท้องถิ่น 31-36
เรอ่ื ง การทำจลุ นิ ทรยี ส์ ังเคราะหแ์ สง
ทำเนยี บปราชญช์ ุมชนและภมู ิปัญญาท้องถิ่น
เรอ่ื ง การปลกู ผัก
ทำเนียบปราชญ์ชมุ ชนและภมู ิปญั ญาท้องถิ่น
เรือ่ ง การทำน้ำหมักชวี ภาพ
ทำเนียบปราชญช์ มุ ชนและภมู ิปญั ญาท้องถิ่น
เร่อื ง การแปรรูปอาหาร (ปลาแดดเดียว)
ทำเนียบปราชญช์ ุมชนและภูมิปัญญาท้องถน่ิ
เร่ือง การทอเส่ือ
ทำเนียบปราชญ์ชมุ ชนและภมู ิปัญญาท้องถิ่น
เรื่อง การปลูกมะนาว แบบทอ้ งร่อง

ทำเนยี บปราชญช์ ุมชนและภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น
เรอ่ื ง การทำไข่เคม็ (ไข่ไก่)

ตำบลบางระกำ อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณโุ ลก
ข้อมลู ทั่วไปของปราชญ์ชาวบา้ นและภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ
ช่อื - สกุล นายจำลอง ทองเช้อื
ทอ่ี ยปู่ จั จุบันทสี่ ามารถตดิ ตอ่ ได้
บา้ นเลขท่ี 56
หมู่ท่ี 13
ช่ือบ้าน บ้านคยุ ยาง
ตำบล บางระกำ อำเภอ บางระกำ จงั หวดั พิษณุโลก
เบอรโ์ ทรศัพท์ 086 - 93415553
เชื้อชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ
เกิดวันที่ 25 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 อายุ 60 ปี
วฒุ กิ ารศกึ ษา ปวช.
ตำแหนง่ ทางสงั คม 1. หมอดนิ ตำบล 2. ผูน้ ำอาสาพัฒนาชุมชน (ผูน้ ำ อช.) ตำบลบางระกำ
ปราชญช์ มุ ชนและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ดา้ นการทำไข่เคม็ (ไขไ่ ก)่ ระยะเวลา 5 ปี

3
ทะเบียนปราชญช์ ุมชนและข้อมูลภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ิปัญญาด้านการทำไขเ่ ค็ม (ไขไ่ ก่)

การทำไข่เคม็ (ไข่ไก่) เปน็ ภูมปิ ัญญาของชาวบา้ น ทม่ี กี ารถนอมอาหารทำใหส้ ามารถเกบ็ ไวร้ บั ประทาน
ได้นาน และเป็นการใช้วตั ถุดบิ ทม่ี อี ยใู่ นครวั เรือน นำมาแปรรูป และนำมาปรงุ อาหารรับประทาน และจำหน่าย
เพ่อื เปน็ การสรา้ งรายได้ให้กบั ครอบครวั
การเตรยี มวัสดุอปุ กรณ์

1. ไข่ไก่ จำนวน 30 ฟอง
2. เกลือเม็ด จำนวน 1.5 กก.
3. ผงปรุงรส จำนวน 1 ซอง (ราคา 5 บาท)
4. เกลือปน่ จำนวน 1 ถงุ (ราคา 5 บาท)
5. น้ำเปล่า จำนวน 10 ลิตร
6. โหลแกว้

4
ทะเบยี นปราชญ์ชมุ ชนและข้อมูลภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ขน้ั ตอนการทำไข่เค็ม (ไขไ่ ก่)

1. นำเกลือเม็ดลา้ งใหส้ ะอาด
2. นำภาชนะหมอ้ ใส่นำ้ สะอาดในหม้อ และนำเกลือเมด็ เกลอื ปน่ ผงปรงุ รส

ตม้ ให้เกลอื ละลาย
3. น้ำเกลอื พกั ท้ิงไวใ้ หเ้ ยน็
4. นำไข่ไก่ล้างให้สะอาด ใสโ่ หลแกว้ เทนำ้ เกลือทีเ่ ย็นแล้วใสโ่ หล
5. ทิง้ ไว้ประมาณ 10-12 วนั
วิธเี กบ็ รกั ษา นำไปแชต่ เู้ ย็นเกบ็ ไดน้ านเป็นเวลา 30 วนั

5
ทะเบยี นปราชญช์ มุ ชนและข้อมูลภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนียบปราชญช์ มุ ชนและภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน
เร่ือง การทำขา้ วพอง

ตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวดั พิษณโุ ลก
ข้อมูลทวั่ ไปของปราชญ์ชาวบ้านและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ
ช่ือ - สกุล นายวิชาญ เรืองคำ
ที่อยปู่ จั จบุ นั ทีส่ ามารถติดต่อได้
บา้ นเลขที่ 23/3
หม่ทู ่ี 3
ชอ่ื บ้าน บา้ นพนั เสา
ตำบล พันเสา อำเภอ บางระกำ จังหวดั พษิ ณโุ ลก
เบอร์โทรศพั ท์ 088 - 2972010
เชือ้ ชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ
เกดิ วันท่ี - เดอื น - พ.ศ. 2510 อายุ 54 ปี
วฒุ กิ ารศึกษา ประถมศึกษาปีท่ี 6
ตำแหน่งทางสงั คม 1. ผูน้ ำอาพัฒนาชมุ ชน (ผูน้ ำ อช.) ตำบลพนั เสา
ปราชญช์ ุมชนและภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ดา้ นการทำข้าวพอง ระยะเวลา 3 ปี

6
ทะเบียนปราชญช์ ุมชนและข้อมลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ปิ ญั ญาดา้ นการทำข้าวพอง

การทำขา้ วพอง เปน็ ภมู ปิ ัญญาของชาวบา้ น ทีม่ กี ารแปรรูปอาหารข้าวกล้อมหอมมะลิ เพื่อเพ่ิมคุณค่า
ทางอาหารและเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ สามารถเกบ็ ไว้รบั ประทานได้นาน และเป็นการใช้วัตถุดิบท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น
นำมาแปรรูป และนำมาปรุงแต่งรสชาติให้อร่อยให้น่ารับประทาน จำหน่ายเพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับ
ครอบครวั
การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์

7. ขา้ วกลอ้ งหอมมะลิ จำนวน 1 กโิ ลกรมั
8. ผงปรุงรส (รสชาติต่าง)
9. ขวดพลาสติก บรรจุ
10.น้ำมนั มะพร้าว

7
ทะเบยี นปราชญ์ชมุ ชนและขอ้ มูลภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ขั้นตอนการทำขา้ วพอง

6. นำขา้ วกลอ้ งหอมมะลิ หงุ ใหส้ ุก
7. นำข้าวที่หุงแล้ว นำไปตากแดดใหแ้ หง้ ประมาณ 2 วนั (เกลีย่ ขา้ วใหเ้ ป็นเมด็ ใครเม็ดมนั )
8. นำขา้ วที่ตากแห้งแลว้ นำมาทอดในน้ำมนั มะพร้าว
9. นำขา้ วที่ทอดแล้ว มาปรงุ รส
10.บรรจใุ สภ่ าชนะ (ขวด) เกบ็ ไว้ได้ประมาณ 3 เดอื น

8
ทะเบียนปราชญช์ มุ ชนและขอ้ มลู ภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนียบปราชญ์ชมุ ชนและภูมิปัญญาท้องถนิ่
เรอื่ ง การเพาะเห็ดฟางกองเตีย้

ตำบลบงึ กอก อำเภอบางระกำ จังหวดั พษิ ณุโลก

ขอ้ มูลท่ัวไปของปราชญ์ชมุ ชนและภูมิปญั ญาท้องถน่ิ
ชอ่ื – สกลุ นายสันติ อุปะมาโน
ท่ีอยู่ปจั จุบนั ที่สามารถตดิ ต่อได้
บ้านเลขที่ 1/5
หมทู่ ่ี 7
ชอ่ื บ้าน เสวยซุง
ตำบลบึงกอก อำเภอบางระกำ จงั หวดั พิษณโุ ลก
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 081 2865968
เช้อื ชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ
เกิดวันที่ 12 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2505 อายุ 59 ปี
วุฒกิ ารศกึ ษา มัธยมศกึ ษาปีที่ 3
ตำแหน่งทางสงั คม ผู้ใหญ่บ้าน ประธานกองทุนหมู่บา้ น ประธานกลุม่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลติ
ปราชญช์ ุมชนและภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ด้านการเพาะเหด็ ฟางกองเต้ยี จำนวน 9 ปี

9
ทะเบยี นปราชญ์ชุมชนและขอ้ มูลภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ิปญั ญาดา้ นการเพาะเหด็ ฟางกองเต้ยี

ข้ันเตรียมการ 3 นาที
1. กากมนั สำปะหลงั
2. พลาสตกิ /ผา้ บาง
3. ปุ๋ยคอก
4. เชื้อเหด็ ฟาง
5. แปง้ ขา้ วเหนยี ว
6. บวั รดนำ้
7. บลอ็ กไมส้ ำหรับอัดก้อน
8. ไม้ไผ่สำหรบั ทำโครง
9. ฟาง

ขน้ั ตอนการทำ
1. เตรยี มแปลงกวา้ ง 1 เมตร
2. วางบล็อกไมใ้ หห้ ่างจากขอบแปลง 15 ซม.
3. นำกากมนั ใส่บล็อก รดนำ้ ให้ชุ่ม อดั ใหแ้ น่น
4. โรยป๋ยุ คอกในแปลงตามช่องวา่ งระหว่างร่องจนท่วั แปลง
5. ขยเี้ ช้อื เห็ดใหก้ ระจาย ผสมแป้งข้าวเหนยี ว 3 ช้อนโตะ๊ ต่อเชื้อเหด็ 1 ก้อน
6. โรยเชอื้ เหด็ ให้ทว่ั รดนำ้ ให้ชุม่
7. คลุมด้วยพลาสติกให้มิดชิด ไมใ่ หอ้ ากาศเข้า แล้วคลุมด้วยฟางทิง้ ไว้ 3 วัน
8. เปดิ ตดั ใย (ฉีดนำ้ ด้วยฝอยละออง) ให้ชมุ่
9. คลุมพลาสตกิ บนโครงไม้ คลมุ ทับดว้ ยฟาง เปดิ ระบายอากาศหัวทา้ ย วันละ 1 ครง้ั
1 สปั ดาห์เห็ดจะเร่ิมออกดอก

ข้อพึงระวัง
1. ระวงั เรื่องโรคเชอ้ื ราขาว ราเขียว
2. เพือ่ ปอ้ งกนั โรคควรยา้ ยทเี่ พาะไปเรื่อยๆ ไมส่ ามารถทำที่เดิมซ้ำๆ ต่อเน่อื งตลอดได้

10
ทะเบยี นปราชญช์ มุ ชนและขอ้ มูลภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนียบปราชญช์ มุ ชนและภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น
เรอ่ื ง ดอกไม้จากดนิ ประดิษฐ์

ตำบลปลกั แรด อำเภอบางระกำ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก

ขอ้ มลู ทัว่ ไปของปราชญช์ ุมชนและภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ จำนวน 12 ปี
ช่ือ – สกุล นางเสนห่ ์ ปรีชาญาณ
ทีอ่ ยู่ปจั จุบันที่สามารถตดิ ต่อได้
บ้านเลขที่ 142
หมู่ที่ 4
ช่อื บ้าน หนองแขม
ตำบลปลกั แรด อำเภอบางระกำ จงั หวัดพิษณุโลก
เบอรโ์ ทรศพั ท์ ๐๖๔ ๘๕๗๒๐๘๕
เชอื้ ชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ
เกิดวนั ท่ี 1 เดือน มกราคม พ.ศ 2508 อายุ 56 ปี
วฒุ กิ ารศึกษา ประถมปีที่ 4
ปราชญ์ชมุ ชนและภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ด้านดอกไมจ้ ากดนิ ประดษิ ฐ์

11
ทะเบยี นปราชญช์ ุมชนและขอ้ มูลภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ิปัญญาด้านดอกไมจ้ ากดนิ ประดิษฐ์

ส่วนประกอบ / ส่วนผสม
๑) ดินไทย
๒) สีน้ำมนั WINTON
๓) กาวลาเทก็ ซ์
๔) นำ้ มันมะกอกขาว

อุปกรณ์ (อปุ กรณท์ ีจ่ ำเป็นต้องใช้ในการประกอบอาชีพ หรอื ผลิตภัณฑ์)
๑) เคร่ืองรดี ดนิ
๒) พมิ พ์ดอกไม้ตา่ ง ๆ
๓) พมิ พใ์ บไม้
๔) ถุงรดี ดนิ
5) ดมี เบล
6) กรรไกรตดั ลวด

วิธที ำ/ข้นั ตอน
๑) นําดนิ ผสมสีต่าง ๆ ตามความต้องการ ใหเ้ ป็นสีธรรมชาตทิ ีส่ ดุ
๒) นำถงุ รีดดนิ ทานำ้ มันมะกอกใสด่ นิ นำไปรดี และนำพิมพด์ อกไม้มากดบนดนิ ที่รีดแลว้ เพือ่ ใหไ้ ด้ดอกตามท่ี

ตอ้ งการ นำดอกมาผงึ่ ลมนิดหนอ่ ย
๓) ใช้คีมเบลมาคลงึ และนำมาตดิ กลบี ตกแต่งให้สวยงาม

เทคนิค/เคลด็ ลบั
- ดนิ ที่ลอกออกจากพมิ พ์ ต้องรีบใส่ถุงไม่ใหถ้ ูกลง เพราะถูกลมดนิ จะแหง้ ทันที
- ดอกไม้หา้ มโดนน้ำเปน็ อันขาว

12
ทะเบียนปราชญช์ ุมชนและข้อมลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนยี บปราชญช์ ุมชนและภมู ิปัญญาท้องถนิ่
เรื่อง แปรรูปปลา (ปลาแดดเดียว)

ตำบลชุมแสงสงคราม อำเภอบางระกำ จังหวดั พษิ ณโุ ลก
ข้อมลู ทว่ั ไปของปราชญ์ชาวบ้านและภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ
ช่ือ - สกลุ นางวาสนา ออมสนิ
ทอ่ี ย่ปู จั จบุ นั ที่สามารถตดิ ตอ่ ได้
บา้ นเลขท่ี 7/1
หมูท่ ี่ 8
ชื่อบา้ น ชมุ แสงสงคราม
ตำบลชุมแสงสงคราม อำเภอบางระกำ จงั หวดั พิษณุโลก
เบอร์โทรศัพท์ 0894362874
เชอ้ื ชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
เกดิ วันท่ี 27 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2519 อายุ 45 ปี
วุฒกิ ารศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ตำแหน่งทางสงั คม 1. กพสต.ชมุ แสงสงคราม 2. ประธานเครือข่ายกองทนุ หมู่บา้ นระดบั ตำบล
ปราชญช์ มุ ชนและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ด้านการแปรรูปปลา ระยะเวลา 15 ปี

13
ทะเบยี นปราชญช์ มุ ชนและข้อมลู ภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ิปัญญาดา้ นการแปรรูปปลา (ปลาแดดเดียว)

วัสดุอุปกรณ์
1. ปลาตะเพียนหรือปลาชนิดก็ได้
2. เกลอื เม็ด
3. ตะแกรง
4. น้ำเปลา่

วธิ ที ำ
1. นำปลามาถอดเกลด็
2. ชำแหระปลาเปน็ ชิน้ แล้วลา้ งนำ้ ให้สะอาด
3. นำเกลอื เม็ด 1 ขดี มาละลายน้ำ (ปลา 1 กก. ตอ่ เกลือ 1 ขดี )
4. นำปลาแชน่ ำ้ เกลอื ให้ท่วมตวั ปลา 1 ชวั่ โมง จากกนน้ั ไปปลาทีแ่ ชน่ ำ้ เกลอื ไปผงึ่ ตากแดดใหแ้ หง้
(แดดจัดๆ ประมาณ 2 วัน)

14
ทะเบียนปราชญช์ มุ ชนและขอ้ มลู ภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนยี บปราชญช์ มุ ชนและภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน
เรอ่ื ง การทำจลุ ินทรียส์ งั เคราะหแ์ สง

ตำบลบอ่ ทอง อำเภอบางระกำ จังหวดั พิษณโุ ลก
ขอ้ มูลท่วั ไปของปราชญ์ชาวบา้ นและภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ
ชอื่ - สกุล นายวิรชั ทองดอนยอด
ท่อี ยูป่ จั จุบนั ที่สามารถตดิ ตอ่ ได้
บา้ นเลขท่ี 3/1
หมทู่ ่ี 2
ช่อื บา้ น บ่อทอง
ตำบลบอ่ ทอง อำเภอบางระกำ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก
เบอร์โทรศพั ท์ 0800484457
เช้ือชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
เกดิ วนั ที่ 26 เดอื น มีนาคม พ.ศ. 2529 อายุ 35 ปี
วุฒิการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี
ตำแหนง่ ทางสงั คม 1. ผชู้ ่วยผูใ้ หญ่บ้าน
ปราชญ์ชุมชนและภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ด้านการทำจลุ ินทรีย์สงั เคราะห์แสง ระยะเวลา 10 ปี

15
ทะเบยี นปราชญ์ชมุ ชนและขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ิปัญญาด้านการทำจุลินทรียส์ งั เคราะหแ์ สง

วัสดอุ ุปกรณ์
5. นำ้ จากแหลง่ นำ้ ธรรมชาติ
6. ขวดขนาด 1.5 ลิตรหรอื มากกวา่
7. ไข่ไก่ 1 ฟอง
8. นำ้ ปลายี่ห้อใดก็ได้

วธิ ีทำจุลินทรีย์สังเคราะหแ์ สง
5. ตอกไข่ใส่ถ้วยแล้วเติมน้ำปลาลง 1 ชอ้ นโต๊ะ คนใหเ้ ขา้ กนั
6. นำนำ้ ใส่ขวดขนาด 1.5 ลิตรไปตากแดดประมาณ 4-5 วนั ก่อนเติมไข่ไก่ทเี่ ตรียมไว้ลงไป 1 ช้อนโตะ๊
7. นำไปต้ังไวใ้ นบรเิ วณกลางแจง้ ทม่ี แี ดดส่งถงึ ทุกวนั

16
ทะเบยี นปราชญ์ชมุ ชนและขอ้ มลู ภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนียบปราชญ์ชุมชนและภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ
เร่ือง การปลกู ผกั

ตำบลวังอทิ ก อำเภอบางระกำ จงั หวัดพษิ ณโุ ลก
ข้อมลู ทัว่ ไปของปราชญ์ชาวบา้ นและภูมิปญั ญาท้องถน่ิ
ชือ่ - สกุล นางอำนวย ลีมี
ที่อยปู่ ัจจุบนั ทส่ี ามารถติดต่อได้
บา้ นเลขที่ 36
หมทู่ ี่ 6
ช่อื บา้ น วังอทิ ก
ตำบลวงั อิทก อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณโุ ลก
เบอร์โทรศัพท์ 0920365359
เชอ้ื ชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ
เกิดวนั ท่ี 17 เดอื นเมษายน พ.ศ. 2510 อายุ 54 ปี
วฒุ กิ ารศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนปลาย
ตำแหน่งทางสังคม 1. ผู้นำ อช. ต.วงั อิทก 2. อสม. 3. กพสม.
ปราชญ์ชุมชนและภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ด้านการปลูกผัก ระยะเวลา 15 ปี

17
ทะเบยี นปราชญช์ ุมชนและข้อมูลภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ปิ ญั ญาด้านการปลกู ผัก

1. การเลอื กพืน้ ท่ี
พืน้ ท่ที ี่สามารถปลกู ผักไดด้ ีควรเป็นพ้นื ทท่ี ี่อยู่ใกล้แหล่งนำ้ เช่น บอ่ นำ้ ขดุ บอ่ น้ำธรรมชาติ แมน่ ำ้ คลอง อ่าง
เกบ็ น้ำ คลองชลประทานหรือแนวสง่ น้ำชลประทาน เนอ่ื งจากพชื ผักส่วนใหญ่มีความต้องการน้ำสูง โดยเฉพาะ
หน้าแลง้ ทีอ่ ากาศ แหง้ และอัตราการระเหยน้ำสูงกวา่ ฤดูอ่ืนๆ จึงจำเปน็ ต้องมนี ำ้ เพียงพอเพ่ือใหผ้ กั สามารถ
เตบิ โตจนถงึ ฤดูการเกบ็ เกีย่ วได้
2. การเตรียมแปลง
– แปลงปลูกผกั มักเตรยี มด้วยการยกแปลงสงู ประมาณ 20-30 เซนติเมตร หรอื ขุดรกร่องลกึ เนือ่ งจากพืชผกั
สว่ นมากมรี ะบบรากทตี่ ้องการซอนไซในดนิ ท่ีรว่ นซุย หน้าดินลึก
– ทำการไถพรวนแปลงทิง้ ไว้ประมาณ 1 อาทิตย์ เพ่ือตากแดด และฆ่าเช้อื โรค
– หวา่ นปยุ๋ หมกั หรือปยุ๋ คอก ร่วมดว้ ยป๋ยุ เคมี พร้อมไถกลบแปลง
– อตั ราการใสป่ ๋ยุ ในแปลงควรให้มปี ุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกมากกวา่ ปุ๋ยเคมี เช่น 10:1 เนอ่ื งจากการใส่ปุย๋ เคมีมาก
จะทำให้ดนิ เปน็ กรด หนา้ ดนิ แนน่

18
ทะเบยี นปราชญช์ มุ ชนและขอ้ มลู ภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

3. การเตรยี มเมลด็ พันธุ์
– เมล็ดพันธผุ์ กั ท่ใี ช้ควรมีลักษณะเปน็ เมล็ดพนั ธใ์ุ หม่ อายุเมล็ดพนั ธ์ุไม่ถึง 1 ปี
– เมล็ดพนั ธุ์ทใี่ ช้ตอ้ งเป็นเมล็ดพันธุท์ ีต่ รงตามชนิดพืชทีป่ ลูก และไม่มีเมลด็ พันธ์ุอืน่ ปลอมปน
– ทำความสะอาดเมล็ดพนั ธุ์ รวมถึงคดั แยกเมลด็ พันธุ์ท่ไี ม่สมบูรณ์ออกดว้ ยวิธีนำไปแชน่ ้ำ และนำเมล็ดทล่ี อย
น้ำออก
– เมลด็ พนั ธส์ุ ่วนมาก ก่อนปลูกจะทำการแช่นำ้ เสยี ก่อน ซ่งึ ระยะเวลาในการแช่จะแตกต่างกนั ในแต่ละชนิดผัก
หากเมลด็ พันธุท์ ี่มีเปลือกหนา แขง็ อาจใช้เลาแช่นาน 2-3 วนั เมล็ดพันธุ์ผักสว่ นมากเป็นเมล็ดทม่ี เี ปลือก
ค่อนข้างบาง ไมห่ นา แข็ง สว่ นใหญ่ใช้เวลาแช่ประมาณ 12 ชว่ั โมง – 1 วนั เทา่ น้นั
4. การปลูก
สามารถปลกู ได้หลายวิธตี ามความเหมาะสมของแตล่ ะชนดิ พืช ไดแ้ ก่
การหว่านเมลด็ เป็นวธิ ที ี่ง่าย สะดวก รวดเร็ว และนิยมท่ีสุด ซ่ึงจะหวา่ นเมลด็ หลังการแช่น้ำแลว้ หรือหวา่ น
เมล็ดแหง้ ได้ทันที ผกั ทีนิยมการหว่านเมลด็ มกั เปน็ พชื ทีม่ ีลำต้นขนาดเลก็ ขนาดทรงพมุ่ น้อย ได้แก่ ผกั ชี ผักบงุ้
เปน็ ตน้ ทัง้ น้ี การหว่านเมล็ดอาจเป็นวธิ ีการเตรียมกลา้ ผกั กอ่ นย้ายปลูกในแปลงทเ่ี ตรยี มไว้

การปลกู ดว้ ยตน้ กลา้ เปน็ วิธีการปลกู ด้วยตน้ กล้าผักท่ีเตรียมไดจ้ ากแปลงเพาะกลา้ ดว้ ยวิธีการหวา่ น วิธีน้เี ปน็
วธิ ที ใ่ี ช้มากท่สี ุดสำหรบั การปลกู ผัก โดยมกั ใช้กบั พชื ที่มีลำต้นใหญ่ ทรงพุ่มกวา้ ง เน่ืองจากใช้วิธีการหวา่ นเมล็ด
อาจไมเ่ หมาะสมเพราะไม่สามารถเว้นช่วงห่างของตน้ ให้เหมาะสมกับการเติบโตได้ การหว่านอาจทำให้ต้น
เจริญเติบโตไม่ดี หรอื อาจต้องถอนตน้ ท้ิงบางสว่ นซ่ึงทำใหส้ ้นิ เปลอื งเมล็ดพันธุเ์ สียเปล่า ผกั ทน่ี ยิ มปลูกด้วยวิธนี ้ี
ได้แก่ กะหล่ำปลี ผักกาดขาว คะนา้ มะเขือ พริก เป็นต้น

การหยอดเมล็ด เปน็ วิธีปลูกที่ใชส้ ำหรบั พชื ผกั ที่ตอ้ งการระยะหา่ งระหว่างต้นมาก มักเปน็ พชื ทเี่ ป็นเถาว์หรือ
เครอื ตน้ กล้าออกไมม่ ีความแข็งแรง เหย่ี ว และตายง่ายหากแยกตน้ กล้าปลกู เช่น ถั่วฟักยาว แตงกวา ฟกั ทอง
ฟกั มะระ เปน็ ตน้

ฝงั ในแปลงปลูก เป็นวธิ ปี ลูกท่ีใช้กับพืชผกั บางชนดิ ท่มี ีการแยกหนอ่ แยกเหง้าออกปลูกเพอ่ื ขยายจำนวนต้น
หรอื กอ โดยฝังลงหลมุ หรือแปลงปลกู ได้ทนั ที เชน่ ผักหอม กระเทียม ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย เปน็ ตน้

19
ทะเบียนปราชญช์ ุมชนและข้อมลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

5. การดแู ลรักษา
– ในระยะแรกของการปลกู ช่วง 1 อาทิตย์แรก ท้ังการปลกู ด้วยการใชเ้ มล็ด การปลูกด้วยต้นกล้า และปลูก
ด้วยการแยกหัวหรอื หน่อ จำเปน็ ต้องมีการให้นำ้ อยา่ งสมำ่ เสมอ อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น จนต้นกล้าตั้ง
ตวั ได้
– การใหน้ ้ำจะยังใหว้ ันละ 2 ครัง้ ตลอดจนถึงระยะเกบ็ เกีย่ ว แต่อาจให้นำ้ ในปริมาณท่นี ้อยลง หรอื ผกั บางชนดิ
ท่ีอาจเวน้ ช่วงห่างการใหน้ ้ำเมื่อถงึ ระยะก่อนเกบ็ เก่ยี ว
– การใส่ปุ๋ยควรใสใ่ นระยะหลังปลกู 1-2 อาทติ ย์ หรือระยะท่ีต้นกลา้ ตั้งต้นไดแ้ ล้วจนถึงระยะกอ่ นการเกบ็
เกี่ยวประมาณ 1 เดอื น รวมถึงพืชบางชนิดทส่ี ้ินสุดการให้ปุ๋ยที่ระยะก่อนการติดดอก และผล
6. การเก็บผลผลติ
พชื ผกั มกั มรี ะยะการเก็บเก่ยี วไม่เกนิ 120 วนั ส่วนมากจะใช้เวลาประมาณ 40-60 วัน ขึ้นกับชนดิ ของผัก
โดยผักกินใบจะมีระยะเวลาการเกบ็ เกี่ยวส้ันกวา่ ผักกินดอก และผล

20
ทะเบยี นปราชญ์ชมุ ชนและขอ้ มูลภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนียบปราชญ์ชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น
เรื่อง การทำน้ำหมกั ชวี ภาพ

ตำบลหนองกลุ า อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณโุ ลก
ข้อมูลท่ัวไปของปราชญช์ าวบ้านและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ
ชือ่ - สกุล นายทองปาน เผ่าโสภา
ท่ีอยู่ปจั จบุ นั ทส่ี ามารถตดิ ต่อได้
บา้ นเลขท่ี 163
หมู่ท่ี 14
ชือ่ บา้ น บา้ นหนองปลวก
ตำบล หนองกลุ า อำเภอ บางระกำ จงั หวัด พษิ ณโุ ลก
เบอร์โทรศัพท์ 086-2063680
เชอ้ื ชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
เกิดวนั ท่ี - เดือน - พ.ศ. 2499 อายุ 61 ปี
วฒุ ิการศกึ ษา ประถมศึกษาตอนตน้
ตำแหนง่ ทางสงั คม -

21
ทะเบยี นปราชญช์ ุมชนและขอ้ มลู ภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ิปญั ญาด้านการทำเกษตรผสมผสาน

ประวัตคิ วามเป็นมาและแนวคิด

เมื่อประมาณ 20 ปีก่อน เคยประกอบอาชีพทํานา ทําไร่ข้าวโพดถั่วเหลือง ทําสวนผสมผสาน เช่น
มะม่วง ขนุน กล้วย มะละกอ มะพร้าว ฯลฯ โดยใช้สารเคมีในการทําการเกษตรเช่นเดียวกับเกษตรกรทั่วไป
ผลิตใหไ้ ดป้ ริมาณมากเพือ่ ขาย วนั หน่งึ ประสบปัญหาสขุ ภาพ เจ็บปว่ ยหลายคร้งั เนือ่ งจากการสะสมของสารเคมี
เกษตร รวมทั้งไดม้ ีโอกาสไปศึกษาดงู านจากโครงการพระราชดําริที่ จ.สระบรุ ี และโครงการที่ประสพผลสําเร็จ
อีกหลายแห่งกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แต่ก็ยังมิได้เปลีย่ นแปลงวิธีการทําการเกษตรในทันที จนกระท่ัง
มีอาการเจบ็ ป่วยอกี ครงั้ และในปีนนั้ ประสบปัญหาราคาข้าวตกตำ่ จึงเกดิ ความคดิ วา่ ถ้ายังคงใช้สารเคมีต่อไปคง
จะไปไม่รอดเนื่องจากเงนิ ท่ีหามาไดก้ ็ต้องนําไปรักษาตนเองจนหมด และคิดวา่ ถา้ หากจะทําการเกษตรโดยไม่ใช้
สารเคมีจะไดผ้ ลผลติ หรือไม่ ซ่งึ ในขณะนั้นไดม้ ีโอกาสพบกับพระธดุ งค์รปู หนง่ึ แนะนําให้ไปฝกึ ปฏิบัติธรรมถือศีล
กนิ เจ ที่ จ.ศรสี ะเกษ ซึ่งชว่ งเวลาทีว่ ่างจากการปฏบิ ัติธรรม ทา่ นได้เปิดซดี ีวธิ ที ําการการเกษตรโดยไมใ่ ชส้ ารเคมี
จากตา่ งประเทศหลากหลายรปู แบบมาให้ชมเพ่ือใหเ้ ปน็ ทางเลือกรวมทงั้ ใช้เปน็ แนวทางในการทําการเกษตรแก่
ผทู้ มี่ าปฏบิ ตั ิธรรม หลงั จากนนั้ มาจงึ ได้เกิดแรงบันดาลใจในการปรับเปล่ียนแนวคิดและวิธีการทําการเกษตรข้ึน
โดยเรมิ่ จากการเพาะเหด็ และปลูกผักเป็นอาชีพเสริม ซงึ่ ทําใหม้ ีรายได้ระหว่างท่ยี ังไม่ได้เก็บเก่ยี วข้าวนอกจากน้ี
ยังได้ฝึกทําปุ๋ยน้ำหมกั ปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เองโดยยดึ หลักการเพิม่ ผลผลิตที่ดีที่สุดคือการปรับปรุง บํารุงดินให้ธาตุ
อาหารแก่ดินเพราะถ้าดินดีผลผลิตจะดเี องและจะไม่ทาํ การเผา หรือฉีดยาฆ่าหญา้ โดยเดด็ ขาด นอกจากนี้ยังมี
วิธีการทํานา โดยไม่เผาตอซังด้วยการปล่อยให้หญ้าขึ้นให้เต็มที่ จากนั้นไถกลบทิ้งไว้ 1 เดือน เพื่อให้หญ้าเน่า
กลายเป็นปุ๋ยในนาขา้ วแล้วจึงทําเทือกเพาะปลกู ข้าวต่อไป รวมทั้งได้นําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน
การดํารงชวี ติ ทําให้สามารถพึง่ ตนเองได้อยา่ งมีความสุข

22
ทะเบียนปราชญ์ชมุ ชนและขอ้ มลู ภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

กระบวนการผลิต
การทาํ ป๋ยุ นำ้ หมักสตู รบงั เอิญ

เกิดจากสมัยก่อนเคยปลูกถ่ัวเหลือง เมื่อเก็บเกี่ยวแล้วมีฝนตกลงมา ทําให้ผลผลติ ขึ้นราเสียหาย จึงได้
ทดลองนํามาหมัก แล้วนําไปรดผักที่ปลูกไว้ผลปรากฏว่าผัก เจริญเติบโตดี แต่ยังมีข้อจํากัดเรื่องกลิ่นที่เหม็น
มากเช่นกัน)
วัสดุ

1) เมลด็ ถั่วเหลอื ง จาํ นวน 50 กโิ ลกรัม
2) ถัง 200 ลิตร จํานวน 1 ใบ
3) นำ้ เปล่า จํานวน 150 ลติ ร
4) หัวเช้ือจุลนิ ทรีย์

วธิ ที าํ
เติมน้ำใส่ถังแล้วนําเมล็ดถั่วเหลืองเทผสม ปิดฝาทิ้งไว้ 3 สัปดาห์ ก่อนนําไปใช้ให้นํา หัวเชื้อจุลินทรีย์

จํานวน 1-2 ลิตร หรือ พด. จํานวน 2 ซอง เทใส่ถังหมักทิ้งไว้ 1 คืน การนําไปใช้ ตักน้ำหมักถั่วเหลือง
ประมาณ 1 ทัพพี รองก้นหลมุ กอ่ นปลูกผักเชน่ พรกิ กะหลํา่ ปลี ผกั กาดขาวปลี มะเขือเทศฯลฯ (สามารถเก็บไว้
ไดน้ าน หากจะใช้ครง้ั ต่อไปให้เติมหัวเช้ือจลุ นิ ทรียเ์ ช่นเดมิ )

การทาํ ปุ๋ยหมกั สูตรขเ้ี กยี จ
เกิดจากการทดลองทาํ ไวใ้ ชใ้ นพน้ื ท่กี ารเกษตรของตนเองโดยต้องการ

ประหยัดตน้ ทุนและแรงงานในการเกษตรเป็นหลัก จึงไดร้ ิเร่ิมโดยทาํ ไว้ในแปลงเพาะปลกู แลว้ ไถกลบ
ไดง้ า่ ยไม่ต้องใช้แรงงานในการขนยา้ ย
วัสดุ

1) ฟาง/กากถ่ัว/เศษใบไม้ จาํ นวน 50 กิโลกรัม
2) ดิน จาํ นวน 20 กโิ ลกรัม
3) ซังข้าวโพด
4) นำ้ หมกั จลุ นิ ทรยี ์
วิธที ํา
1) นําฟาง/กากถั่ว/เศษใบไม้ ประมาณ 15 - 20 กิโลกรัม เกลี่ยให้ได้ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 1
เมตร
2) นําดนิ ประมาณ 10 กิโลกรัม (ถา้ มขี ี้หมู/ขี้วัว ใส่ผสมได)้ เกล่ยี ทบั ใหท้ ว่ั เท่ากับขนาดตาม ขอ้ 1
3) ทาํ สลับกันไป 6 ชัน้ จนไดค้ วามสงู ประมาณ 50 เซนติเมตร
4) นาํ นํา้ หมักจุลินทรียร์ าดให้ทวั่
5) นําเศษวัสด/ุ ซังขา้ วโพด/ฟาง เกลย่ี ปดิ ทับด้านบนใหห้ นาพอประมาณหมักท้ิงไว้ 6 เดือน
(ใหห้ มักทง้ิ ไวใ้ นพื้นที่ท่ีจะทําการเกษตร)
การนําไปใช้ ก่อนนําไปใช้ให้คลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วไถกลบ สามารถใช้ทั้งในพื้นที่ทํานา ทําไร่ พืชผัก
และไมผ้ ล

23
ทะเบยี นปราชญ์ชมุ ชนและข้อมลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ปยุ๋ นำ้ หมกั ชีวภาพ ปยุ๋ หมักธรรมชาติ

ปยุ๋ บังเอญิ ป๋ยุ หมักใบไม้กิง่ ไม้

24
ทะเบียนปราชญ์ชมุ ชนและข้อมูลภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนยี บปราชญช์ ุมชนและภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ
เรื่อง การแปรรปู อาหาร (ปลาแดดเดียว)

ตำบลท่านางงาม อำเภอบางระกำ จังหวดั พิษณโุ ลก

ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบา้ นและภมู ิปญั ญาท้องถิ่น
ช่อื - สกลุ นางเบญจวรรณ เลี่ยมสขุ
ท่อี ย่ปู ัจจุบนั ท่สี ามารถตดิ ต่อได้
บ้านเลขที่ ๑๑/๑
หมู่ท่ี ๓
ชอื่ บ้าน บา้ นบางแก้ว
ตำบล ท่านางงาม อำเภอ บางระกำ จังหวดั พษิ ณุโลก
เบอรโ์ ทรศัพท์ 081-5962666
เช้ือชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ
เกิดวนั ท่ี 22 เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ อายุ ปี
วุฒกิ ารศึกษา ประถมศกึ ษา ปที ี่ 6
ตำแหน่งทางสังคม -

25
ทะเบียนปราชญช์ ุมชนและข้อมลู ภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภูมิปญั ญาดา้ นการทำปลาแดดเดยี ว

ประวัตคิ วามเปน็ มาและแนวคดิ
ภูมิปัญญาการแปรรูป ปลาท้องถิ่น ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อให้คนในชุมชนได้มีอาชีพเสริม และสร้างรายได้

ให้กับครอบครัว นับเป็นการส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อหาแนวทางการส่งเสริมภายในของกลุ่ม
ผลติ ภัณฑต์ ลาดปลา และทำการ แปรรปู ปลาทอ้ งถิ่นที่มีอยู่ภายในชุมชน ให้เปน็ ผลิตภัณฑ์ข้ึนมา น่ันก็คือ ปลา
ตากแห้ง เพื่อให้เป็นที่รู้จักของคนในชุมชน และชุมชนใกล้เคียง รวมทั้งส่งเสริมในด้านตลาดของชุมชน ให้มี
รายได้ที่มั่งคง รู้จักเลือกสรรภูมิปัญญา และวิถีชีวิตชาวบ้านแบบดั้งเดิมมาใช้ในการผลิต ปลาแห้งเป็นการ
ถนอมอาหาร หรือการแปรูปอาหาร เป็นเทคโนโลยีของภูมิปัญญาชาวบ้านอย่างหนึ่งซึ่งมีหลายๆวิธี เช่น
การตากแห้ง การหมัก การดอง การแช่อิ่ม การเชื่อม ฯลฯการทำปลาร้า ปลาแห้ง ก็เหมือนกัน เป็นภูมิปัญญา
พน้ื บ้านไทย เพือ่ เป็นการแกป้ ัญหาและเป็นการถนอมอาหาร สว่ นใหญป่ ลาที่ใช้ทำปลาร้า ปลาแห้ง คนที่ไม่อยู่
ใกลท้ ะเลจะนิยมใช้ปลานำ้ จดื ทห่ี าได้จากแหลง่ นำ้ ธรรมชาติ เชน่ ปลาชอ่ น ปลาชะโด ปลาสลดิ ในคนที่อยู่ใกล้
ทะเลก็นิยมนำมาทำทะเล เช่น ปลาทู ปลากุเลา ปลาอินทรี ปลาจะละเม็ด ปลาหลังเขยี ว เป็นต้น การทำปลา
แห้ง ในกลุ่มอาชีพชุมชน สตรีแม่บ้านก็จะทำงานที่ตนถนัด ส่วนใหญ่เป็นการแปรรูปอาหาร ฝ่ายชายผู้ชายก็
ออกไปหาจบั ปลาเพื่อเป็นอาหารเลย้ี งภายในครวั เรือน เมอ่ื จับได้มากเข้าจึงเกิดการถนอมอาหารเก็บไว้กินยาม
ที่ขาดแคลน เช่น การทำปลาร้า การทำปลาแห้ง ปลาส้ม ต่อมาได้มีการรวมตัวกันขึน้ ภายในหมู่บ้าน เพื่อที่จะ
รวบรวมผลติ ภณั ฑ์ของแต่ละคน แต่ละครอบครวั ทม่ี อี ย่นู ั้นมาเพือ่ ศึกษาข้อมูลถึงคุณภาพการผลิต ปรมิ าณ และ
ความตอ้ งการ มมี ากน้อยเพียงใด จงึ กำเนดิ เกิดกลุ่มอาชีพการแปรรูปการทำปลาแหง้ ขึ้นในหลายหมู่บ้านใกล้ๆ
ชายทะเล โดยใชภ้ ูมริ ้ภู ูมปิ ญั ญาและเทคโนโลยใี นชุมชนมาจดั การ

26
ทะเบียนปราชญ์ชมุ ชนและข้อมูลภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ข้นั ตอนการทำ
การทำปลาเค็มแดดเดียว

วัตถดุ ิบ
- ปลาตา่ งๆ 20 กิโลกรัม
- เกลือ 0.5 กโิ ลกรัม
- ซอี ิว๊ ดำ 4 ช้อนโต๊ะ
- นำ้ ตาล 2-3 ขดี
- น้ำเปล่า 10 ลิตร

ข้ันตอนการทำ
- นำปลาทไี่ ด้มาผา่ เอาไส้ออก แลว้ ใชม้ ดี มาผา่ หรอื แบออก ทำเป็นปลาเคม็ แบบแบ ส่วนใหญจ่ ะทำ

มาจากปลาหมอเทศ แต่สำหรับปลากระบอก ปลาจวดและปลาขาไก่ ไม่จำเป็นตอ้ งผ่าแบบแบ แค่ผ่าเอาไส้
ออกและลา้ งทำความสะอาดตวั ปลาดว้ ยน้ำเปลา่

- นำเกลอื มาละลายกับนำ้ เปลา่ จากนนั้ ใส่ซีอิ๊วดำและนำ้ ตาลตามลงไป คลกุ เคล้าใหเ้ ข้ากนั นำปลา
ใส่ตามลงไปแล้วคลุกเคลา้ ใหเ้ ขา้ กันอกี คร้ัง หมักทิ้งไว้ 12 ชวั่ โมง

- เมือ่ ครบ 12 ชวั่ โมงแล้ว นำปลาทห่ี มักไว้ไปตากแดดจัดๆประมาณ 3 ชว่ั โมง สามารถนำออกไป
จำหนา่ ยได้ (กรณีที่แดดไม่จัดใหน้ ำปลามาตากจนกว่าตวั ปลาจะแหง้ แล้วค่อยนำไปจำหน่าย)
การเก็บรักษา : หากเก็บไว้ในตเู้ ย็น สามารถเกบ็ ไวไ้ ด้นาน 10

27
ทะเบียนปราชญช์ ุมชนและข้อมลู ภูมปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนียบปราชญ์ชมุ ชนและภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ
เรอ่ื ง การทอเสอื่

ตำบลนิคมพฒั นา อำเภอบางระกำ จงั หวดั พษิ ณุโลก
ขอ้ มลู ทัว่ ไปของปราชญช์ าวบ้านและภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
ช่ือ - สกุล นางวไิ ลลักษณ์ พิมพพ์ วง
ที่อยปู่ จั จุบันท่ีสามารถตดิ ต่อได้
บา้ นเลขที่ 92/2
หมู่ที่ 9
ชอ่ื บา้ น บ้านพรสวรรค์
ตำบล นิคมพฒั นา อำเภอ บางระกำ จงั หวัด พิษณุโลก
เบอร์โทรศัพท์ 087 - 1952810
เชอื้ ชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
เกดิ วนั ท่ี 26 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2514 อายุ 50 ปี
วุฒกิ ารศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ตำแหนง่ ทางสังคม 1. สารวัตรกำนนั 2. ประธาน อสม. ระดบั โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพ
ปราชญช์ มุ ชนและภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ด้านการทอเสื่อ ระยะเวลา 20 ปี

28
ทะเบียนปราชญ์ชมุ ชนและข้อมลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ิปัญญาด้านการทอเส่ือ

หมู่บ้านพรสวรรค์ตั้งอยู่ในตำบลนิคมพัฒนา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ย้าย
มาจากทางภาคอสี าน เช่น จงั หวดั บุรีรัมย์ ขอนแก่น นครราชสมี า เป็นตน้ สว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม
เป็นหลัก แบบหมุนเวียน คือ ในฤดูฝนปลูกข้าว ฤดูแล้งทำข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง รวมถึงได้
ปลกู กกไว้ในการทอเสอื่

เนื่องจากหมู่บ้านพรสวรรค์ซึ่งอยู่ในเขตชุมชนมีต้นกกจำนวนมากจึงได้มีการนำต้นกกมาทำให้เกิด
ประโยชน์โดยการทอเสื่อกก เริ่มมาตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย ในสมัยก่อนชาวบ้านมีอาชีพทำนาเป็นอาชีพหลัก
ซึ่งแต่ก่อนนั้นกกมีอยู่มากตามธรรมชาติ ชาวบ้านจึงนำกกมาทอเป็นเสื่อไว้ใช้ในบ้านเรือน และได้ทำสืบต่อ
กันมา โดยเฉพาะคนแก่ในหมู่บ้านที่ไม่ได่ทำการเกษตรได้ทำการทอเสื่อในยามว่าง ซึ่งชาวชุมชนหมู่ที่ 9
ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ก็มีค่านิยมทางวัฒนธรรมดังเช่นที่กล่าวมา ดังน้ัน
ภมู ิปญั ญาด้านการทอเส่ือกกจงึ เสมือนภมู ิความรู้พน้ื บ้านท่ีแต่ละครวั เรอื นต้องปลูกฝังใหล้ กู หลานมีความรู้ มิให้
ได้ชื่อว่าเกียจคร้าน มิต้องเสียทรัพย์สินเงินทองไปซื้อมา และมิให้ใช้เวลาว่างสูญไปโดยเปล่าประโยชน์
ซง่ึ นอกจากจะทอไว้เพอ่ื ใชเ้ องในครัวเรือนแลว้ ยงั สามารถทอเป็นอาชพี สร้างรายไดเ้ สริมอีกทางหนงึ่

ปัจจุบันขณะที่แนวโน้มภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่าง ๆ กำลังจะสูญหายไป แต่การทอเสื่อที่ตำบลนิคม
พัฒนากลับเกาะกลุ่มเป็นชุมชนเข้มแข็ง ยืนหยัดพัฒนาภูมิปัญญานี้ด้านกระแสค่านิยมใหม่ของสังคมอย่าง
เหนียวแน่น การศึกษาข้อมูลของชุมชนนี้ก็เพื่อศึกษาปัจจัยองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องว่าเป็นเพราะเหตุใดที่ภูมิ
ปัญญาท้องถน่ิ น้จี งึ ยงั คงดำรงอยไู่ ด้อย่างยืนยงมาตลอด

จนถึงในปี 2539 ได้มีนางวิไลลักษณ์ พิมพ์พวง ในสมัยนั้นเปน็ ผู้ช่วยผูใ้ หญ่บา้ น ได้นำคนแก่ที่วา่ งาน
มาจดั ตั้งกลุ่มข้นึ เปน็ กลุ่มแมบ่ ้านทอเสอ่ื บา้ นพรสวรรคจ์ นถึงปจั จุบนั แต่ในปจั จุบันนี้กกมีไม่มากเหมือนแต่ก่อน
ชาวบ้านจึงพากันปลูกกกเอง แล้วนำมาทอเสื่อกก เสื่อกกที่ทอได้นั้นทำไว้ทั้งใช้เองภายในหมู่บ้านและส่งขาย
ตามทีต่ ่าง ๆ กลมุ่ ทอเสือ่ บ้านพรสวรรคไ์ ด้พัฒนาลวดลายสีสันและแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑ์อื่น ๆ อีก เช่น กระเป๋า
ที่รองแก้ว ที่รองจาน กระติบข้าว กล่องทิชชู ปกสมุดไดอารี่ และกล่องเอนกประสงค์การทอเสื่อ เป็นไปเพ่ือ
การใช้สอยในครัวเรือน โดยท้องถิ่นใดมีต้นกกก็ทอเสื่อกก ท้องถิ่นใดมีต้นกระจูดก็ทอเสื่อกระจูด เสื่อในอดีต
เป็นของใช้ที่สำคัญอย่างหนึ่งสำหรับปูนั่งหรือนอน จนถึงกับมีคำกล่าวว่า บ้านใดไม่มีเสื่อใช้ถือว่า พ่อ แม่ ลูก
เกยี จคร้านไม่มีฝีมือ หน่มุ สาวทแ่ี ต่งงานตั้งครอบครวั ใหม่หรือขน้ึ บ้านใหม่ จะตอ้ งเตรยี มท่ีนอน หมอน มุ้ง ส่วน

29
ทะเบียนปราชญ์ชมุ ชนและขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

เสื่อฝ่ายหญิงจะจัดเตรียมทอสะสมไว้เป็นของขั้นเรือน นอกจากนี้ยังทอเพื่อถวายเป็นไทยทานให้กับวัด เพ่ือ
บำรงุ ศาสนาในฤดเู ทศกาลต่าง ๆ และยงั นำเสื่อที่ทอไปซ้อื ขายแลกเปล่ียนกับหมบู่ า้ นใกลเ้ คียงอีกด้วย
กระบวนการผลติ

การทอเสอื่ กกและการแปรรูปผลติ ภัณฑ์
การทอเสื่อกก เป็นภูมิปัญญาของคนในท้องถ่ิน ที่นำเอาต้นกกมาแปรสภาพให้เป็นเส้น ย้อมสี แล้ว
สานทอให้เป็นแผ่นผืน เพื่อนำมาใช้ปูลาดรองนั่งหรือนอน หรือทำธุรกรรมต่าง ๆ ตลอดจนทำพิธีกรรมทาง
ศาสนาและความเชื่อ ขั้นตอนการทอเสื่อ ประกอบดว้ ยข้นั ตอนตา่ ง ๆ ดงั น้ี
การเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ท่จี ำเป็น ไดแ้ ก่

11.ต้นกกที่จะนำมาเพือ่ ทอเส่อื
12.มีดหรือเคียวใช้ตัดและเกย่ี วต้นกก
13.ฟืม ซง่ึ มีทง้ั ฟืมรแู ละฟมื ฟนั ปลา
14.กระดานสำหรับรองนัง่ ทอเสอ่ื
15.ไมก้ รอบมีขนาดกวา้ งประมาณ 1.5 เมตร ยาวประมาณ 2.5 เมตร
16.สยี อ้ ม

30
ทะเบยี นปราชญช์ มุ ชนและขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ขนั้ ตอนท่ี 1 การสอยต้นกก

11.ตัดต้นกกสด
12.คัดเลอื กตน้ กกที่มีขนาดเท่ากนั ไว้ดว้ ยกัน
13.นำต้นท่คี ัดแล้วมาสอยเป็นเสน้ เลก็ โดยใช้มดี ปลายแหลมคม (มีดแกะสลกั )
14.นำเสน้ กกทส่ี อยแล้วมาผ่ึงแดดใหแ้ หง้ (ถ้าเปน็ ไปได้ต้องเป็นแดดที่กล้าจดั )
15.นำเส้นกกสอยทีต่ ากแหง้ มากแล้วมดั เปน็ มัด ๆ รอการย้อมสี
ขั้นตอนท่ี 2 การยอ้ มสี

1. เลอื กซอื้ สีสำหรบั ย้อมกกสตี ่าง ๆ ทม่ี สี ีสนั สวยงาม เชน่ สแี ดง สชี มพู สเี หลือง สีมว่ ง สำดำ สีเขียว
เปน็ ตน้

2. กอ่ ไฟโดยฟที่ใช้ต้องสมำ่ เสมอ
3. นำปี้ปหรือกระทะใสน่ ำ้ พอประมาณท่วมเส้นกกนำมาตั้งบนเตารอใหน้ ำ้ เดือด
4. พอนำ้ เดือดกน็ ำสีทีเ่ ลอื กมาเทลง
5. นำเส้นกกท่คี ดั เลอื กแล้วลงยอ้ มจนเพยี งพอท่ีจะใช้ในการทอ
6. นำเส้นกกที่ยอ้ มสแี ล้วลงล้างในนำ้ เปล่าแล้วนำไปตากแดดทจ่ี ดั จนแหง้

31
ทะเบยี นปราชญ์ชุมชนและข้อมูลภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

7. นำเสน้ กกท่ีย้อมสีตากแหง้ มากแล้วมาเก็บมดั รวมกนั โดนแยกเปน็ สแี ต่ละสี
ขัน้ ตอนที่ 3 การทอเสือ่ กก ลายขิด ลายพ้นื บา้ น และลายบา

1. การโฮงที่ทำสำเรจ็ รูปแลว้ มากาง (โฮงทใี่ ชข้ นาดทอคนเดียว)
2. นำเชอื่ กในลอนสำหรบั ทอเสือ่ มาโยงใสฟ่ มื จนเสร็จ
3. ฟมื ท่ใี ช้ต้องมขี นาดเทา่ กับเส้นกกและฟืมแต่ละฟมื ก็อาจจะใชท้ อลายไมเ่ หมือนกัน
4. นำเส้นกกที่ย้อมสตี ามจนแห้งแลว้ นำมาทอเสอ่ื ลายขิดตามตอ้ งการซ่ึงมีหลายลายดว้ ยกนั
5. นำเส้นกกที่สอยและยอ้ มสแี ลว้ เลือกว่าจะใชส้ ใี ดบ้างท่จี ะทอเส่ือ
6. เลือกลายแลว้ เริม่ ทอจนเปน็ ผืน
7. พอทอเสร็จก็ตดั แล้วหลังจากน้ันก็นำไปตากแดดเพ่อื ให้สไี ม่ออก หลงั จากนน้ั กน็ ำมาเก็บในทีร่ ม่
ขั้นตอนท่ี 4 การแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากเสื่อกกลายตา่ ง ๆ

1. เสอื่ ทพ่ี มิ พ์แล้วนำมาเยบ็ ตอ่ เปน็ ผืนโดยใช้จกั รเยบ็
2. ออกแบบผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กระเป๋าจากเสื่อกก เสื่อพับ ที่รองแก้ว ที่รองจาน สมุดกล่าวรายงาน

การประชุม พวงกญุ แจ แจกนั ดอกไม้ ที่รองโต๊ะ รองเท้า ฯลฯ
3. นำกระดาษแขง็ ทเ่ี ตรยี มไวแ้ ล้วมาตดั แบบตามท่ีออกแบบ
4. นำเสื่อทท่ี อไว้แล้วมาตัดตามแบบที่ออกไว้
5. นำเสอ่ื ท่ตี ัดเอาไว้ตามแบบแลว้ นำมาเย็บเปน็ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ท่ีไดอ้ อกแบบเอาไว้

32
ทะเบยี นปราชญช์ มุ ชนและข้อมูลภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ทำเนียบปราชญ์ชุมชนและภมู ิปญั ญาท้องถิน่
เร่อื ง การปลูกมะนาว แบบท้องรอ่ ง

ตำบลคยุ มว่ ง อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณโุ ลก
ข้อมลู ทั่วไปของปราชญช์ าวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิน่
ชือ่ - สกลุ นางสารีแกว้ หนดู อนทราย
ทอ่ี ยปู่ จั จุบนั ที่สามารถตดิ ตอ่ ได้
บ้านเลขที่ 78
หมู่ท่ี 12
ชื่อบา้ น คุยมว่ งมสี ขุ
ตำบล คุยม่วง อำเภอ บางระกำ จงั หวดั พษิ ณุโลก
เบอร์โทรศพั ท์ 095-6321999
เชอ้ื ชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ
เกิดวนั ที่ 7 เดือน ก.ค พ.ศ. 2508 อายุ 56 ปี
วฒุ ิการศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ตำแหนง่ ทางสงั คม 1. ผใู้ หญ่บา้ น 2. ประธาน อสม. ระดับ หมู่บ้าน
ปราชญ์ชุมชนและภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ด้านการทอเส่ือ ระยะเวลา 10 ปี

33
ทะเบียนปราชญ์ชุมชนและข้อมลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ภมู ปิ ญั ญาดา้ นการปลกู มะนาวแบบท้องรอ่ ง

การปลูกแบบทล่ี ุ่ม
พื้นที่มักจะเปน็ ท่ีลุ่มน้ำท่วมถงึ ในฤดฝู น ตามปกตจิ ะมีระดบั น้ำใตด้ นิ สงู ส่วนใหญ่มกั เป็นท่ีนามาก่อน

มกั จะเป็นท่ีราบลุ่มแม่นำ้ ดินเหนยี วจดั ระบายน้ำยาก จึงต้องมีการยกระดับดินใหส้ ูงกว่าพื้นทรี่ าบโดยทว่ั ไป
โดยทำเป็นรอ่ งปลูก จะทำให้รากตน้ ไมป้ ลกู กระจายไดล้ ึก ระหวา่ งแปลงดินเป็นร่องน้ำ สามารถเก็บกักน้ำไวใ้ ช้
และขณะเดียวกันเปน็ ช่องทางระบายน้ำ โดยมีคนั ดินรอบแปลงปลูกทั้งหมด เพ่อื เป็นแนวป้องกนั น้ำทว่ มและ
รักษาระดับนำ้ ตามต้องการได้
การยกรอ่ งเพื่อปลูกมะนาว

1.การไถปรับพืน้ ที่ นิยมทำกันในหน้าแลง้ สว่ นใหญ่ใช้รถแทรกเตอร์ขนาด 3-5 ผาน ไถปรับพื้นท่ีให้
เรยี บ ทำคนั โอบล้อมพนื้ ทท่ี ้งั หมด อาจใชร้ ถตักดนิ ขนาดใหญ่หรือจ้างคนแทงดนิ ขึ้นเปน็ คันโอบ ความกว้างของ
คันโอบหรือคนั ล้อมประมาณ 6-8 เมตร ซึ่งสามารถนำรถยนตเ์ ขา้ ไปบรรทุกผลผลติ ได้

2.การไถแหวก นยิ มใช้รถแทรกเตอร์ไถ เป็นแนวทางตามเชือกที่ขึงไวห้ รือแนวโรยปนู ขาว จากนั้นจึง
ขุดแทงร่องตามแนวที่ไถไว้

3.การแทงร่องหรอื ซอยรอ่ ง นิยมใช้แรงงานคนมากกวา่ รถตักดนิ เพราะรอ่ งทไ่ี ด้จะมีดนิ ที่ฟไู ม่ทึบแนน่
ขนาดของแปลงดนิ หลงั ร่องนิยมทำกว้าง ประมาณ 6 เมตร รอ่ งน้ำกวา้ ง 1.5 เมตร ลกึ 1 เมตร และกน้ ร่องน้ำ
กวา้ งประมาณ 0.5-0.7 เมตร แลว้ ตากดนิ ใหแ้ ห้ง 1-2 เดือน จนเมด็ ดนิ แห้ง (เรยี กกว่าดินสกุ ) จึงทำประตู
ระบายน้ำเขา้ ออก นิยมทำดว้ ยทอ่ คอนกรีตขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 12 นว้ิ (30.5 เซนตเิ มตร) ซึ่งยงั ขน้ึ กับ
ขนาดสวน แลว้ จงึ ระบายนำ้ เขา้ ทม่ แปลงใหร้ ะดับนำ้ สูงกว่าแปลงดนิ ประมาณ 10-20 เซนติเมตร ทง้ิ ไว้
ประมาณ 2 สปั ดาห์ เพ่อื ใหด้ ินยึดตึวดีข้นึ และเป็นการฆา่ เชื้อโรคและแมลงท่อี ยู่ในดนิ ด้วย จากนน้ั ระบายนำ้

34
ทะเบยี นปราชญ์ชุมชนและขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

ออกจนดินเร่ิมแห้ง (หมาด) ถ้าดินเปน็ กรดใหโ้ รยใสป่ ูนขาวตามอัตราทกี่ ำหนดตามความเป็นกรดด่างของดิน
ปกติให้ใส่ปนู ขาวกอ่ นปลูกต้นไมป้ ระมาณ 1 เดือน แลว้ จึงทำการวัดระยะหลุมปลูก

วิธีปลูก

ระยะปลกู ท่เี หมาะสมสะดวกตอ่ การปฏบิ ัติจัดการสวน คอื ระยะระหว่างต้นและระหวา่ งแถว เท่ากับ5
x5 หรอื 6×6 เมตร การเตรียมหลมุ ปลกู ตน้ มะนาว ควรขุดหลมุ ให้มีขนาดกว้าง ยาว และลกึ ประมาณ 80
เซนตเิ มตร หาเศษใบไมใ้ บหญ้าหรือเศษฟางเกา่ ๆ ผเุ ป่ือยใส่รองก้นหลมุ อดั ให้แนน่ หนาประมาณ 20
เซนตเิ มตร เพ่ือให้ช่วยซบั นำ้ ทรี่ ดลงไปเก็บไว้ ให้มีความชุ่มช้ืนแกร่ ากมะนาว ชัน้ ถัดขนึ้ มาใส่ป๋ยุ คอกหนา
ประมาณ15 เซนติเมตร อาจใส่ปยุ๋ 20-10-20 ประมาณ 2 ชอ้ นแกงผสมลงไปดว้ ย เพื่อเป็นแหลง่ ธาตุอาหาร
แกร่ าก กง่ิ ตน้ พนั ธ์ุทีใ่ ช้ควรผา่ นการนำไปชำในกระบะเพาะชำ หรอื ลงถงุ ชำ ระยะหน่ึง ประมาณ 2-3 สปั ดาห์
หลงั ตดั กิง่ ตอนท่ีออกรากดี จะชว่ ยลดอตั ราการตายหลังปลกู ลงไดม้ ากกว่าการตัดกิ่งตอนมาปลกู ก่อนทจี่ ะวาง
กิง่ พันธุล์ งในหลุม ต้องกรีดถุงพลาสตกิ ออกแลว้ จึงวางก่งิ ให้อยตู่ รงกลางหลุม

การปลูกควรจดั รากให้แผอ่ อกไปโดยรอบในลักษณะไมห่ ักพับ เมอื่ วางกิ่งต้นลงหลุมแล้ว ค่อยๆ โรยดนิ
กลบไปจนมดิ ควรกลบใหด้ ินพูนสงู ขน้ึ เพ่ือป้องกนั การแช่ขังของน้ำในปากหลุม และกดดินรอบต้นให้แนน่
พอสมควร แล้วรดนำ้ เพอ่ื ใหเ้ ม็ดดินกระชับราก ควรปกั ไมห้ ลักผกู ยดึ ลำตน้ เพ่ือป้องกันการโยกคลอนควรปลูก
ตอนต้นฤดฝู น ฉะน้ัน ในชว่ งเดือนกุมภาพนั ธถ์ ึงเมษายนผปู้ ลกู จะต้องปรับพน้ื ทใี่ หเ้ รียบ หรือทำเปน็ คนั ร่องนนู
แบบหลังเตา่ เพื่อไมใ่ ห้นำ้ ขังในชว่ งฝนตกชุกและช่วยระบายน้ำออกไดโ้ ดยเร็ว ระยะปลูก ข้นึ อยกู่ ับความ
สมบูรณ์ของดิน ถ้าดินอดุ มสมบรู ณค์ วรใช้ระยะ 6 x 6 เมตร พนื้ ท่ี 1 ไร่ ปลูกได้ประมาณ 44 ต้น หากดนิ ไม่
อุดมสมบูรณ์ ควรพูนดินให้สงู ข้ึน เพื่อไม่ให้น้ำขงั ในชว่ งฝนตกชกุ และช่วยระบายนำ้ ออกได้โดยเรว็

การดูแลรกั ษา

35
ทะเบยี นปราชญช์ ุมชนและข้อมลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

การใหน้ ำ้ ชว่ งปลูกใหม่ๆ ควรให้นำ้ วันละครง้ั (กรณีฝนไมต่ ก) หลงั จากต้นมะนาวต้ังตวั ได้แลว้ การให้
น้ำสามารถเว้นระยะนานขน้ึ หลงั จากมะนาวออกดอกและกำลงั ติดผลอ่อน เป็นช่วงทม่ี ะนาวตอ้ งการนำ้ มาก
การให้ปยุ๋ ตน้ ทใี่ ห้ผลผลิตแลว้ แบ่งการใสป่ ุ๋ย ดังนี้

1.บำรงุ ต้น ใช้ปุย๋ สตู ร 15-15-15 หรือ 16-16-16
2.สร้างตาดอก ใช้ปุ๋ยสตู ร 12-24-12 หรอื 9-24-24
3.บำรุงผล ใช้ปยุ๋ สตู ร 15-15-15 หนทอ 16-16-16
4.ปรังปรุงคณุ ภาพ ใชป้ ยุ๋ สตู ร 13-13-21
สว่ นปริมาณการใส่ปุ๋ยประมาณ 1 กิโลกรัม / ตน้ / คร้งั
การพรวนดนิ ดายหญา้ ในฤดูฝนวชั พืชมักจะเจรญิ เติบโตอย่างรวดเรว็ ถา้ หากไมถ่ ากถางออกเสียบา้ ง
เปน็ ครงั้ คราวกจ็ ะไปแย่งอาหารตน้ มะนาวได้ ฉะนน้ั ควรดายหญ้าสัก 1-2 ครง้ั ในฤดูฝนกอ่ นใส่ป๋ยุ ตอนปลาย
ฤดฝู น จำเปน็ อย่างย่ิงต้องพรวนดนิ ดายหญ้า สมุ่ โคนตน้ เพ่ือช่วยเกบ็ ความชมุ่ ช้นื ในดนิ ไว้ เพราะไมม่ ีฝนตกมาก
นักในฤดหู นาวและฤดูร้อน
การปลดิ ดอก ในระยะ 1-2 ปีนับจากวันปลูก ถา้ หากต้นมะนาวออกดอกในชว่ งนคี้ วรจะปลิดทิง้
เพราะตน้ มะนาวยงั เลก็ ไม่มกี ำลงั พอทีจ่ ะเลี้ยงท้ังต้นและลูก ถา้ หากปล่อยให้ตดิ ลูกตน้ มะนาวอาจจะแคระแก
รนไม่เจรญิ เตบิ โตเท่าท่ีควร หรือจะโทรมตายเรว็ กว่าเท่าท่ีควร ดงั นนั้ ควรจะให้ต้นมะนาวตดิ ผลไดเ้ ม่ืออายุ 3 ปี
การตัดแต่งกง่ิ หลงั เกบ็ เก่ยี วผลผลิตแล้ว ควรตดั กงิ่ ที่เป็นโรค กง่ิ แห้ง ก่งิ ท่ีไม่มีประโยชน์ออกใหห้ มด ในช่วง
อายุ 4 ปี ควรตัดแต่งกิ่งออก 1 ส่วน 3 ของทรงพ่มุ เม่ือตน้ มะนาวอายุ 6 ปี ควรตดั แต่งก่ิงออก 1 สว่ น 2
ของทรงพุ่ม การกำจดั วชั พืช สามารถทำได้หลายวิธี เชน่ ถอน ถาง หรอื ใช้เคร่ืองตดั หญา้ แตต่ ้องระวังอย่าให้
เกิดบาดแผลตามโคนต้น หรือกระทบกระเทอื นราก วธิ กี ำจัดวชั พืชอีกวธิ ีหนงึ่ ทน่ี ยิ มคือการใชส้ ารเคมี เชน่ พา
ราชวิท ไกลโฟเสท ดาวพอน เป็นตัน โดยการใชจ้ ะต้องระวงั อยา่ ให้สารพวกนปี้ ลวิ ไปถกู ใบมะนาวเพราะอาจ
เกิดอันตรายได้ เชน่ ทำให้ ใบไหมเ้ หลอื งเปน็ จดุ ๆ หรือไหม้ทั้งใบ ดงั นน้ั จึงควรฉดี พ่นตอนลมสงบ

36
ทะเบียนปราชญช์ ุมชนและขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ

37
ทะเบียนปราชญ์ชมุ ชนและขอ้ มูลภมู ปิ ญั ญา อำเภอบางระกำ


Click to View FlipBook Version