The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบเรียนเรื่อง-รามเกียรติ์-ตอน-กำเนิดพระมงกุฎ-พระลบ-ชั้น-ม.๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nutthamon Peng-on, 2021-03-02 12:56:38

แบบเรียนเรื่อง-รามเกียรติ์-ตอน-กำเนิดพระมงกุฎ-พระลบ-ชั้น-ม.๔

แบบเรียนเรื่อง-รามเกียรติ์-ตอน-กำเนิดพระมงกุฎ-พระลบ-ชั้น-ม.๔

วรรณคดี ก

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๔
ม.๔

รามเกยี รต์ิ
ตอน กาเนดิ พระมงกุฎ พระลบ

นางสาวสรานุ มนั เกทียารต์ิ ศตอริ นิสมุกาทเนมุ ิดพระมงกฎุ พระลบ
สาขาวชิ าภาษาไทย วทิ ยาลยั การฝึกหดั ครู



คานา

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดให้ภาษาไทย
เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถใช้
ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่ว และเหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย สามารถนาความรู้ความ
เข้าใจเก่ียวกับหลักเกณฑ์การใช้ภาษาไปใช้ติดต่อส่ือสารและเป็นเคร่ืองมือศึกษาหาความรู้ตลอด
ชวี ติ

วรรณคดีและวรรณกรรมเป็นศาสตร์การเรียนรู้อีกแขนงหนึ่งของภาษาไทยท่ีผู้เรียน
จาเป็นตอ้ งศึกษาเรยี นร้ใู หเ้ ข้าใจ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการอ่านและการคิดวิเคราะห์สามารถนา
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ ในแบบเรียน เร่ือง รามเกียรติ์ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ เป็นแบบเรียนที่ช่วยเสริมความรู้และส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของ
วรรณคดีอนั เปน็ เอกลักษณ์ของชาติทคี่ วรคา่ แก่การรักษาตอ่ ไป

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แบบเรียนภาษาไทย เร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ
พระลบ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ เล่มน้ี จะเป็นสื่อการเรียนการสอนที่ช่วยพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
ใหม้ คี ุณภาพและบรรลุตัวช้ีวัดและมาตรฐานการเรยี นรู้ตามท่ีกาหนดไวท้ ุกประการ

ผู้จัดทา

รามเกยี รติ์ ตอน กาเนิดพระมงกฎุ พระลบ

สารบญั ข

คานา หนา้
สารบัญ
คาชีแ้ จง ก
แบบทดสอบกอ่ นเรียน ข
บทที่ ๑ เนอ้ื หา ค

แนะนาตวั ละคร
ประวตั ิผแู้ ต่ง ๒
ลกั ษณะคาประพนั ธ์ ๓
เร่อื งย่อรามเกยี รติ์ ๓
แบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี ๑ ๔
บทท่ี ๒ บทประพันธ์ ๕
รามเกียรติ์ ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบ
แบบฝึกหดั ท้ายบทที่ ๒ ๖
บทท่ี ๓ บทวิเคราะห์ ๑๕
จุดเดน่ ของตอน
คณุ ค่าด้านความรู้และข้อคิด ๑๖
คณุ คา่ ดา้ นวรรณศิลป์ ๑๗
คณุ คา่ ดา้ นสังคม ๑๘
แบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี ๓ ๑๙
แบบทดสอบหลังเรียน ๒๑
บทสรปุ ๒๒
ตารางสรปุ คะแนน
เอกสารอา้ งอิง ๒๓

รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกฎุ พระลบ



คาชแ้ี จงแบบเรียน
เรอ่ื ง รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบ

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔

๑. หนา้ ปก
คิวอาร์โคด้ สามารถสแกนเพื่อเชื่อมโยงไปสูห่ นังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ท่ีสามารถช่วยให้การเรียนรู้

เกดิ ขึ้นได้ทกุ เวลา และเป็นการใชเ้ ทคโนโลยีใหเ้ กดิ ประโยชน์
๒. แบบทดสอบก่อนเรียน

แผนภาพความคิด (Mind Mapping) เป็นแบบทดสอบที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความคิดท่ีรวบยอด
และถ่ายทอดความรู้ ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสมองลงบนกระดาษ ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ สามารถเห็น
ภาพรวมของกระบวนการคดิ และแสดงการเชอื่ มโยงของข้อมลู เขา้ หากนั ได้ง่าย
๓. แบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ ๑

แบบฝกึ หัดการบนั ทึกสาระสาคัญทีไ่ ดจ้ ากเรื่อง โดยอ่านเน้ือเรื่องย่อของกลอนบทละคร และจากการฟัง
วดิ โี อเรอื่ ง รามเกยี รติ์ ตอน กาเนดิ พระมงกุฎ พระลบ
๔. เร่อื งย่อ

การสแกนคิวอาร์โค้ดจะนาพาไปสู่เนื้อหาเร่ืองย่อของกลอนบทละครเรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน กาเนิดพระ
มงกุฎ พระลบ ทั้งแบบร้อยแกว้ และแบบมบี ุคคลเลา่ เรอื่ ง สามารถอา่ นและฟังไปพรอ้ มกนั ไดใ้ นเวลาเดียวกัน
๕. ปกหลัง

หากผู้เรียนมีความสงสัยในการใช้แบบเรียนเร่ือง รามเกียรติ์ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ หรือต้องการสอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติม สามารถสแกนคิวอาร์โค้ดบนปกหลัง โทรเข้ามา
สอบถามได้

รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกฎุ พระลบ



แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

คาชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นเขียนอธิบายลกั ษณะของตัวละครจากเรื่อง รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนดิ พระ
มงกุฎ พระลบ ลงบนแผนภาพความคดิ (Mind Mapping)

พระฤๅษี (Praruesi) นางสีดา (Nangsida)

รามเกยี รต์ิ
ตอน กาเนิดพระมงกฎุ พระลบ

พระมงกฎุ (Pramonggud) พระลบ (Pralop)

รามเกยี รติ์ ตอน กาเนดิ พระมงกุฎ พระลบ



บทที่ ๑

เนื้อหา

แนะนาตัวละคร

พระฤๅษี (Praruesi)

พระมงกฎุ (Pramonggud) พระลบ (Pralop)
นางสีดา (Nangsida)

รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบ



ประวตั ิผ้แู ตง่

รามเกียรต์ิ ฉบับ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้เข้ารับราชการกับสมเด็จพระเจ้าตากสิน ทรงพระ

ปรีชาสามารถในการรบจนเป็นที่โปรดปราน นับเป็นขุนพลคู่พระทัยฝ่ายขวา ได้รับแต่งต้ังให้เป็น แม่ทัพใน

สงครามครั้งสาคัญหลายครั้ง ได้รับบรรดาศักด์ิเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ใน พ.ศ. ๒๓๑๙ และใน

พ.ศ. ๒๓๒๕ เกิดจลาจลข้ึนในบ้านเมือง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงปราบปรามจนราบคาบ

ข้าราชการท้ังหลาย จึงพร้อมใจกันอัญเชิญข้ึนปราบดาภิเษกเป็น

กษัตริย์รชั กาลท่ี ๑ แห่งพระบรมราชวงศจ์ ักรี

ทางด้านวรรณคดีและศิลปกรรมทรงฟ้ืนฟูวรรณคดีไทย

ซึ่งเสื่อมโทรมต้ังแต่กรุงศรีอยุธยาแตกให้กลับคืนดีอีกวาระหนึ่ง

ทรงส่งเสริมและอุปถัมภ์กวีในราชสานัก บทพระราชนิพนธ์ท่ี

สาคัญ เช่น บทละคร เรื่องรามเกียรต์ิ เป็นต้น งานทางด้าน

ศิลปกรรมน้ันเป็นผลเนื่องมาจากการที่ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์และ

สร้างพระอารามเป็นจานวนมาก เป็นการเปิดโอกาสให้ช่างฝีมือ

ด้านต่าง ๆ มีงานทาและได้ผลิตงานฝีมือช้ินเอกไว้ ปัจจุบันมีวันที่

ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า

จุฬาโลกมหาราช คือ วันที่ระลึกมหาจักรี ได้แก่วันที่ ๖ เมษายน

ของทกุ ปี จะมพี ธิ ถี วายบังคมพระบรมรูป ณ เชิงสะพานพระพุทธ พระบรมสาทสิ ลักษณ์
ยอดฟ้า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช

ลกั ษณะคาประพันธ์

บทพระราชนิพนธ์รามเกียรติ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นรามเกียรต์ิฉบับ
ไทยที่สมบูรณ์ที่สุด มีรูปแบบการแต่งเป็นกลอนบทละคร ซ่ึงมีลักษณะบังคับด้วยคาประพันธ์ประเภทโคลงส่ี
สุภาพ ตอนต้นเรื่องเป็นร่ายสดุดีพระมหากษัตริย์ เนื้อเรื่องแต่งเป็นกลอนบทละครเร่ิมตั้งแต่หิรันตยักษ์ม้วน
แผ่นดนิ จนถึงพระรามเสดจ็ กลบั เมอื งอยธุ ยา

รามเกียรติ์ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ



แผนผงั และตวั อยา่ งกลอนบทละคร

๏ เม่ือน้นั นางสีดาเยาวยอดสงสาร

กราบลงแทบบาทพระอาจารย์ นงคราญก็รีบบทจร

๏ คร้ันถึงธารท่าชลธี อยทู่ ่ีแทบเชิงสิงขร

เห็นฝงู สวาวานร โผนจรไตไ่ มไ้ ปมา

เรือ่ งยอ่ รามเกียรต์ิ

เนอื้ เรอื่ งยอ่ รามเกียรต์ิ ตอนกาเนดิ พระมงกุฎ พระลบ มีดังน้ี
นางสีดาได้เดินทางมาพบกับพระอินทร์ท่ีแปลงเป็นควายมาคอยนางสีดา เห็นนางสีดาเดินร้องไห้มา จึง
ถามเหตุ นางสีดาเล่าให้ฟังแล้วขอให้ควายแปลงพาไปหาฤๅษีเพ่ือขอพ่ึง ควายแปลงได้พานางไปพบกับฤๅษีช่ือ
วัชมฤคฤๅษีได้รับเล้ียงนางไว้ โดยเนรมิตกุฏิให้หลังหนึ่ง จนนางสีดาคลอดโอรสท้ิงไว้ในเปล แล้วไปฝากฤๅษีให้
ช่วยดูแล แล้วตนจะไปอาบน้า แต่ไปเห็นลิงแม่ลูก จึงได้คิดถึงโอรสกลับไปเอามาไม่บอกฤๅษี ฤๅษีลืมตาไม่เห็น
โอรสกจ็ ะทาพธิ ีไฟชบุ โอรสให้ใหม่ โดยวาดรูปกุมารในกระดานเพ่อื ทาพธิ ี เมื่อเห็นนางสีดาพาโอรสกลับมา ก็จะ
ลบรูปกมุ ารในกระดาน นางสีดาขอให้ชุบข้ึน เพื่อเป็นเพื่อนเล่นของโอรส เม่ือชุบได้แล้ว ฤๅษีได้ต้ังช่ือพระโอรส
ว่า มงกุฎ ส่วนโอรสที่ชุบขึ้นให้ชื่อว่า ลบ ทั้งสองเรียนวิชากับฤๅษีจนจบ และฤๅษีได้เอาไม้ไผ่อ่อนมาเหลาเป็น
คันศรและลกู ศร องคล์ ะสามเล่ม แลว้ ให้ฝกึ หดั ยิงจนเกิดความชานาญ ตอ่ มาฤๅษีคดิ จะตงั้ พิธีชุบศรให้

เนอ้ื เร่ืองย่อ รามเกยี รต์ิ ตอนกาเนิดพระมงกฎุ พระลบ
รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบ



แบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี ๑

บันทึกสาระสาคญั ทไี่ ดจ้ ากเร่ือง

คาช้แี จง : จากการอา่ นเนือ้ เรื่องย่อของกลอนบทละคร และจากการฟงั วิดโี อเรื่อง รามเกยี รต์ิ
ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบ ให้นกั เรียนบนั ทกึ สาระสาคัญทไ่ี ดจ้ ากเรื่อง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

วิดโี อเล่าเร่ือง ตอน กาเนดิ พระมงกุฎ พระลบ
รามเกียรติ์ ตอน กาเนิดพระมงกฎุ พระลบ



บทท่ี ๒

บทประพนั ธ์

รามเกียรต์ิ ตอนกาเนิดพระมงกฎุ พระลบ

นางสีดาให้กาเนิดพระมงกุฎ

ยานี

๏ มาจะกล่าวบทไป ถงึ ท้าวหสั นัยน์เรืองศรี

เสด็จเหนือทพิ อาสน์รจู ี ในที่มหาเวไชยนั ต์

พร้อมหมู่อปั สรอนงค์นาฏ บาเรอบาทเป็นสขุ เกษมสันต์

ให้บันดาลรอ้ นใจดัง่ ไฟกัลป์ ทรงธรรมเ์ ล็งทิพเนตรมา

แจง้ ว่าสมเดจ็ พระลักษมี เทวจี ะประสูติโอรสา

จึง่ มีเทวราชบัญชา ชวนสก่ี ัลยายพุ าพาล

กับแสนสุรางคน์ ิกร บทจรจากไพชยนตส์ ถาน

พร้อมฝงู เทเวศบรวิ าร เหาะทะยานลงมาด้วยฤทธี ฯ

ฯ ๘ คา ฯ โคมเวียน

รา่ ย

๏ คร้นั ถึงศาลาพระนิเวศน์ เห็นองคอ์ ัคเรศโฉมศรี

เจ็บปวดรวดเร้าทง้ั อินทรยี ์ ดัง่ หนงึ่ ชีวจี ะบรรลยั

จึ่งสง่ั มเหสีท้งั สีอ่ งค์ กบั ฝูงอนงคน์ ้อยใหญ่

จงเขา้ ไปช่วยอรไท อยา่ ใหล้ าบากพระกายา ฯ

ฯ ๔ คา ฯ

๏ เม่ือนน้ั นางสุชาดาเสนห่ า

ท้ังสุจติ ราสุธรรมา นางสุนนั ทาวิลาวณั ย์

รับส่ังองค์ท้าวหัสเนตร พาฝูงเยาวเรศสาวสวรรค์

เขา้ ไปแวดล้อมพร้อมกนั ประคองครรภผ์ ันแปรให้เทวี ฯ

ฯ ๔ คา ฯ

๏ เม่อื นั้น นวลนางสดี ามารศรี

คร้นั เห็นนางฟ้าก็ยินดี เทวคี อ่ ยได้สติมา

พอรุ่งสุรโิ ยโอภาส ลมกมั มัชวาตพัดกลา้

ถึงที่ศุภฤกษ์เวลา กลั ยาประสตู พิ ระลกู รกั ฯ

รามเกยี รติ์ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ



ฯ ๔ คา ฯ เจรจา มโหรี

๏ เป็นชายแชม่ ชอ้ ยบรสิ ทุ ธิ์ งามลา้ มนษุ ย์ท้ังไตรจักร

ทรงโฉมประเสริฐเลศิ ลักษณ์ สมศักดส์ิ รุ ยิ ์วงศเ์ ทวัญ

ด่งั ทองทง้ั แท่งแกล้งหล่อเหลา พร้มิ เพราเปน็ ท่ีเฉลมิ ขวัญ

เหมอื นพระบิตุรงคท์ รงสบุ รรณ ท่ัวทัง้ ผิวพรรณอนิ ทรีย์ ฯ

ฯ ๔ คา ฯ

๏ เม่ือนัน้ องคท์ า้ วหัสนัยน์เรืองศรี

เห็นนางสดี านารี เทวีประสูติลูกยา

ก็ทรงพชิ ยั ยุทธ์มหาสงั ข์ เปา่ ดงั เสียงลั่นสนน่ั ปา่

ฝา่ ยองค์อัครราชสุชาดา กลั ยาก็รบั พระกุมาร

มาสรงในมหาสาครแก้ว อันแล้วด้วยน้าทิพย์หอมหวาน

คร้ันเสรจ็ เชญิ หน่อพระอวตาร วางเหนอื พานรัตนร์ ูจี

รองดว้ ยภูษาทุกลู พัสตร์ อันสัมผสั อุ่นอ่อนเฉลมิ ศรี

ตั้งไว้ตรงพักตรพ์ ระชนนี ในทีพ่ ระบรรณศาลา ฯ

ฯ ๘ คา ฯ

๏ เมอ่ื น้ัน นวลนางสีดาเสน่หา

เห็นองคส์ มเดจ็ พระลูกยา นรลกั ษณ์พกั ตราอาไพ

มีความช่ืนชมโสมนสั พูนสวัสดพิ์ น้ ทจ่ี ะเปรยี บได้

แสนสุดเสน่หาอาลยั ในองคพ์ ระราชกมุ าร ฯ

ฯ ๔ คา ฯ

๏ เมื่อน้ัน พระจอมเมรุมาศราชฐาน

กับฝูงอัปสรนงคราญ ทงั้ เทพบริวารบรรดามา

ตา่ งองค์อวยชยั ถวายพร ให้ถาวรจาเริญพระชันษา

จงเรืองฤทธิ์เหมือนองคพ์ ระบิดา โลกาจะได้พ่ึงสบื ไป

เสรจ็ แลว้ จง่ึ องคพ์ ระตรเี นตร พาฝูงเทเวศนอ้ ยใหญ่

เหาะระเห็จเตร็จฟา้ ด้วยวอ่ งไว ตรงไปยงั ทิพย์วิมาน ฯ

ฯ ๖ คา ฯ

๏ เม่อื น้นั นางสีดาเยาวยอดสงสาร

คร้ันองค์สมเดจ็ มัฆวาน กลับไปสถานวิมานฟ้า

จะเหลยี วหาผใู้ ดกไ็ ม่เห็น จะเปน็ เพอื่ นไร้ทีใ่ นป่า

แตผ่ ูเ้ ดียวเปลี่ยวองค์เอกา กลั ยาสลดระทดใจ

จงึ่ อุ้มโอรสข้ึนใสต่ ัก กอดจูบลบู พกั ตรแ์ ล้วรา่ ไห้

รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ



อนจิ จาเกดิ มาเมือ่ แมไ่ ร้ อยู่ในหิมเวศพนาวัน

เปน็ กาพรา้ บิตุเรศแลว้ ไรญ้ าติ ทั้งนิราศโภไคยไอศวรรย์

ถา้ เจ้าประสตู ใิ นวงั จนั ทน์ สุริยว์ งศ์พงศพ์ ันธจ์ุ ะหอ้ มล้อม

สามพระอยั กจี ะเชยชม พ่เี ล้ียงนางนมจะถนอม

ยามสรงเสวยจะพรง่ั พร้อม ยามนอนจะกล่อมใหน้ ิทรา

โออ้ นจิ จามาได้ยาก แสนทุกขล์ าบากอนาถา

หากเดชะบุญของลูกยา เทวามาช่วยทั้งนี้

นมิ ติ ภษู าผา้ ทรง ไว้ใหร้ ององค์พระโฉมศรี

ตวั แม่ส่งิ ไรก็ไม่มี ครงั้ นขี้ ดั สนจนใจ

แต่ธามรงค์วงเดียวตดิ มา มารดาจะทาขวญั ให้

วา่ แล้วก็ถอดออกทนั ใด ผกู ไวก้ บั ข้อพระกร

พอ่ จงมีศักดาวราเดช เหมอื นองคบ์ ิตุเรศทรงศร

ตรสั พลางวางลงใหน้ อน เสรจ็ แล้วบงั อรกอ็ อกมา ฯ

ฯ ๑๘ คา ฯ เสมอ

๏ ครน้ั ถึงอาศรมพระอาจารย์ เยาวมาลยย์ อกรเหนือเกศา

แล้ววา่ หลานน้ีจะขอลา ลงไปยังทา่ ชลาลยั

ขอฝากนัดดาเยาวเรศ โปรดเกศจงชว่ ยเอาใจใส่

อย่าให้มีเหตเุ พทภยั จะไดร้ องเบ้ืองบาทพระมุนี ฯ

ฯ ๔ คา ฯ

๏ เมื่อนั้น พระวัชมฤคฤๅษี

ไดฟ้ งั อคั รราชเทวี จ่งึ มสี นุ ทรวาจา

เอ็งจงไปเถดิ นะนงลกั ษณ์ อันองคล์ ูกรกั เสนห่ า

ไว้นักงานกูอยั กา จะรักษามิให้มีเหตกุ ารณ์ ฯ

ฯ ๔ คา ฯ เจรจา

๏ เม่ือน้ัน นางสดี าเยาวยอดสงสาร

กราบลงแทบบาทพระอาจารย์ นงคราญกร็ ีบบทจร ฯ

ฯ ๒ คา ฯ เพลง

๏ คร้ันถึงธารทา่ ชลธี อยู่ทีแ่ ทบเชิงสงิ ขร

เห็นฝงู สวาวานร โผนจรไต่ไมไ้ ปมา

ลูกเกาะติดกายสะพายวิ่ง บ้างโลดชงิ ฉวยผลพฤกษา

จึง่ ว่าเหวยลงิ พาลา ลูกพ่ึงลืมตาเอามาไย

เกาะกอดกายาทั้งหน้าหลัง จะระวังระไวกระไรได้

รามเกียรต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ



ผาดโผนโจนจับกงิ่ ไม้ เสยี วใจแลเห็นเป็นกลวั ตาง
อนั วสิ ัยสัตวโ์ นโลกา จาพวกไรมมี าฉะนีบ้ ้าง
เห็นทาวปิ ริตผิดทาง จะเอาลกู มาขวา้ งเสียด่งั นี้ ฯ

ฯ ๘ คา ฯ นางวานรป่าพนาศรี
๏ บัดนนั้ ซง่ึ ลูกเรานอ้ี ยูพ่ ันพวั
ได้ฟังจึ่งตอบไปทนั ที ถึงจะมที ุกข์ร้อนกย็ ังชัว่
เปน็ ธรรมดามาแตก่ ่อน ใกลต้ วั ได้เห็นกับตาเรา
จะเปน็ ส่ิงใดก็ไม่กลวั กลับมาตโิ ทษผู้อ่นื เลา่
สว่ นนางเปน็ คนเฉาโฉด เอาลูกท้ิงไวใ้ นกุฎี
เจา้ อีกประมาทใจเบา แมน้ หมมู่ ฤคเสือสีห์
ดาบสหลบั ตาภาวนาอยู่ เสียทที อี่ มุ้ ท้องมา ฯ
กัดกนิ กจ็ ะสิน้ ชีวี
นางสดี าเยาวยอดเสน่หา
ฯ ๘ คา ฯ กลั ยาเห็นจรงิ กต็ กใจ
๏ เมือ่ น้ัน จะรอบรเู้ หมือนสัตวก์ ็หาไม่
ได้ฟังวานรเจรจา คิดแลว้ ขึน้ ไปทันที ฯ
อนจิ จาเป็นนา่ อดสู
มาทงิ้ ลูกรักกบั อกไว้ อุ้มโอรสรกั โฉมศรี
มาทีท่ า่ ฝ่ังคงคา ฯ
ฯ ๔ คา ฯ
๏ ครนั้ ถงึ โลมลูบจูบพักตร์ พระมหาอาจารย์ฌานกล้า
ออกจากพระคนั ธกุฎี ภาวนาก็เคลิม้ ลมื ไป
ต่อนานจงึ่ ราลกึ ได้
ฯ ๒ คา ฯ เอะผิดไปแล้วมิเปน็ การ
๏ เมอ่ื นนั้ อะไรจะจู่มาจงผลาญ
นงั่ สมาธิสารวมวิญญาณ์ สงสารทั้งนวลนางสดี า
ไมร่ ะวังดูพระกมุ าร นงลักษณ์จะโทษกูหนักหนา
ดูแลอเู่ ปลา่ กต็ กใจ นา่ ท่จี ะมว้ ยชวี นั
ลกู นางฝากไว้อยใู่ นอู่ เดนิ มองเที่ยวหาตัวสน่ั
อนิจจาเอ็นดูพระกุมาร พระนักธรรม์ไม่พบก็กลบั ไป ฯ
กลบั มาไม่เหน็ ลกู รกั
จะกนั แสงโศกโศกา
คิดพลางจับได้ไม้เท้าจ้อง
ค้นรอบบริเวณอารัญ

ฯ ๑๐ คา ฯ

รามเกยี รติ์ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ

๑๐

๏ น่ังนิ่งตะลึงราพึงคดิ ร้อนจิตดัง่ หนงึ่ เพลงิ ไหม้

ให้อัดอั้นตันทรวงดวงใจ แล้วคิดไดด้ ว้ ยไวปรชี า

อยา่ เลยจะต้ังพธิ ีการ ชุบพระกมุ ารโอรสา

ข้นึ ไวแ้ ทนลูกกัลยา อย่าให้ทันนางมายงั กุฎี

คิดแลว้ พระอาจารยช์ าญฉลาด วาดรูปพระกุมารเรืองศรี

ลงในกระดานทนั ที แลว้ ตัง้ อาหดุ ีกระลาไฟ ฯ

ฯ ๖ คา ฯ

๏ เม่ือนนั้ นางสดี าเยาวยอดพิสมัย

ครน้ั ถงึ ธารท่าชลาลยั อรไทพาองค์พระโอรส

ลงสรงในทอ้ งวาริน ชาระมลทินเสยี ให้หมด

แล้วอ้มุ พระสรุ ิยว์ งศท์ รงยศ เสด็จบทจรข้นึ มา ฯ

ฯ ๔ คา ฯ เสมอ

๏ ครน้ั ถึงศาลาอาวาส จ่งึ องคอ์ คั รราชเสนห่ า

กราบลงแทบบาทพระสทิ ธา ทีห่ น้าอารญั กฎุ ี ฯ

ฯ ๒ คา ฯ

พระฤๅษที าพิธีชบุ พระลบ

๏ เมอื่ น้ัน พระวชั มฤคฤๅษี

สาละวนตงั้ กิจพิธี ที่ในศาลาอารญั

เห็นนางสดี านงลักษณ์ อ้มุ องคล์ ูกรักเฉลิมขวัญ

เขา้ มาน้อมเกลา้ อภวิ ันท์ พระนกั ธรรมจ์ งึ่ มีวาจา

ลกู เอง็ ซึ่งใสไ่ ว้ในอู่ ฝากกูให้ชว่ ยรกั ษา

เอาไปเมือ่ ไรนางสดี า ไม่บอกไม่ว่าให้แจ้งใจ

ทาใหก้ ูหาอยวู่ ้าวนุ่ จนตัง้ กองกูณฑ์พิธีใหญ่

จะชุบพระกมุ ารขึน้ ไว้ ให้แทนโอรสนางเทวี

เมอ่ื ลูกของเอ็งยังดีอยู่ ก็พน้ ธุระกูผฤู้ ๅษี

จงเลย้ี งรักษาไวใ้ ห้ดี ตานจ้ี ะได้ภาวนา

ว่าแลว้ จึง่ องค์พระอาจารย์ กห็ ยิบเอากระดานท่ีเลขา

จะลบรูปวาดกมุ ารา น้นั เสียตอ่ หน้าบังอร ฯ

ฯ ๑๒ คา ฯ

๏ เม่อื น้ัน นวลนางสดี าดวงสมร

กม้ เกล้าดุษฎชี ลุ กี ร วอนว่าพระองค์จงโปรดปราน

ไดเ้ ขียนลงแล้วจะลบไย ชบุ ข้นึ ไว้ใหเ้ ปน็ เพอ่ื นหลาน

รามเกียรต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกฎุ พระลบ

๑๑

องค์เดยี วเปลี่ยวใจในดงดาน ขอประทานจงได้เมตตา ฯ
ฯ ๔ คา ฯ
พระมหาดาบสพรตกลา้
๏ เมือ่ น้ัน จึ่งมีพจนาตอบไป
ได้ฟงั วาทีนางสีดา จะเลยี้ งแล้วกูจะชุบให้
ซ่ึงว่าท้ังนก้ี ็ดีอยู่ สารวมใจร่ายเวทอนั ฤทธี ฯ
วา่ พลางก็โหมกลาไฟ
อนั เถกงิ จารัสรัศมี
ฯ ๔ คา ฯ ตระ บังเกดิ มีอัศจรรย์อึงอล
๏ จึ่งเอารูปใสใ่ นกลางเพลงิ มืดมิดพยับโพยมหน
ดว้ ยกาลังเวทพระมุนี บัดดลเกิดเปน็ กมุ ารา ฯ
เมฆหมอกกลุ้มมวั ไปทว่ั ทิศ
แลว้ สวา่ งสรา่ งแสงสุริยน พระพิรุณตกลงเซ็นซ่า
มาส่งให้นางทนั ใด ฯ
ฯ ๔ คา ฯ
๏ จ่ึงรา่ ยพระเวทดบั กุณฑ์ กุมารนี้ตาชบุ ให้
ก็เข้าอุม้ องค์กมุ ารา จงรักใคร่เหมือนเกดิ ในครรภ์ ฯ

ฯ ๒ คา ฯ นวลนางสดี าสาวสวรรค์
๏ แล้ววา่ แก่องค์นงคราญ กัลยาอมุ้ แอบแนบกาย
เป็นนอ้ งของบตุ รอรไท ดูงามประเสริฐเฉิดฉาย
พศิ นอ้ งคลา้ ยพ่ีทกุ สง่ิ ไป
ฯ ๒ คา ฯ จะว่าหล่อพิมพเ์ ดยี วก็ว่าได้
๏ เมือ่ นน้ั ด่ังเกิดในอุทรเทวี
รับกุมารมาจากนกั ธรรม์ วันน้ีศภุ ฤกษช์ ยั ศรี
ประคองเคียงเรยี งกนั ทั้งคู่ ใหเ้ ปน็ สวสั ดีท้งั สองรา ฯ
ด่งั รปู ทองหล่อเหลาเพราพราย
พักตรากายกรแลลาศอ พระดาบสผู้ทรงสกิ ขา
นางแสนพิศวาสเพียงขาดใจ ทัง้ ชันษาสองกุมาร
แล้วจงึ่ วา่ แก่พระนักธรรม์ โดยนามกษัตริยม์ หาศาล
จะขอนามพระองค์ทรงฤทธี เปล่าปลอดจากกาลกิณี
นามกรมงกฎุ เปน็ พ่ี
ฯ ๘ คา ฯ
๏ เมื่อน้นั
พเิ คราะห์ฤกษ์ยามตามเวลา
เลือกหาทีเ่ ป็นศรีสวสั ดิ์
ได้ท้ังอายศุ ม์บริวาร
จึ่งวา่ ลกู นางในอุทร

รามเกียรต์ิ ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบ

๑๒

อนั รปู ซง่ึ ชบุ ในอัคคี มนี ามชอื่ ลบอนชุ า

ใหส้ องสรุ ิย์วงศ์ทรงสวสั ด์ิ สบื พงศ์จกั รพรรดิไปภายหน้า

จงเรอื งฤทธ์สิ ิทธิศักดิ์มหึมา ทัง้ ไตรโลกาอยา่ เทียมทัน ฯ

ฯ ๘ คา ฯ

๏ เมอ่ื น้นั นวลนางสีดาสาวสวรรค์

ก้มเกลา้ เคารพอภิวนั ท์ กัลยาชน่ื ชมยินดี

แลว้ อุ้มซงึ่ สองสรุ ยิ ์วงศ์ ลาองค์พระมหาฤๅษี

เสด็จย่างเยอื้ งจรลี มายังกฎุ อี รไท ฯ

ฯ ๔ คา ฯ เสมอ

๏ ครน้ั ถงึ จึ่งใหเ้ สวยนม เชยชมดว้ ยความพสิ มัย

แสนรกั สดุ รักด่งั ดวงใจ ในสองโอรสย่งิ นัก

เช้าค่าบารงุ ผดงุ ถนอม อุ้มออมมิให้ครือมือหนัก

นางเฝ้าบาเรอเชอพักตร์ สงวนเลยี้ งลกู รักทุกเวลา ฯ

ฯ ๔ คา ฯ

๏ เม่อื น้นั ทงั้ สองพระโอรสา

คร้ันค่อยจาเริญชนมา ไม่มโี รคายายี

พ่นี ้องพากนั เทยี่ วเลน่ เชา้ เยน็ เปน็ สุขเกษมศรี

ท่ใี นบรเิ วณกฎุ ี องค์พระมนุ ีผูท้ รงญาณ ฯ

ฯ ๔ คา ฯ เพลง

๏ เม่อื นน้ั นางสดี าเยาวยอดสงสาร

อยู่ดว้ ยกับองค์พระอาจารย์ ปานดั่งบติ ุเรศเรืองชัย

เชา้ เยน็ อตสา่ หป์ รนนบิ ติ มิใหเ้ คืองขัดอชั ฌาสัย

กวาดแผว้ ศาลาพาไล ในท่ีจงกรมอารญั

แล้วเทีย่ วเกบ็ ผลพฤกษา ตกั มาทงั้ น้าใช้นา้ ฉัน

เปน็ นิจอัตราทุกวัน ดว้ ยกตญั ญพู ระมุนี

จนพระเยาวเรศผรู้ ว่ มใจ คอ่ ยจาเริญวัยท้ังสองศรี

ชนั ษาน้ันได้สบิ ปี มีโฉมเลศิ ลักษณโ์ สภา

ยิง่ แสนพิศวาสเป็นพน้ นัก ดง่ั ดวงจกั ษุซา้ ยขวา

จ่งึ พาสองราชกุมารา ไปยังศาลาพระอาจารย์ ฯ

ฯ ๑๐ คา ฯ เสมอ

๏ คร้นั ถงึ ยอกรข้ึนประณต พระนักพรตผู้ปรีชาหาญ

วา่ สองนดั ดายพุ าพาล ชนมานกไ็ ดส้ ิบปี

รามเกยี รติ์ ตอน กาเนดิ พระมงกุฎ พระลบ

๑๓

ยังไม่รศู้ ลิ ปศาสตร์ สาหรับราชสรุ ยิ ์วงศ์เรืองศรี
จะเท่ียวไปในพนาลี เกลือกมีอนั ตรายบฑี า
ขอพระอัยกาจงโปรดเกลา้ บอกใหเ้ ล่าเรียนศึกษา
จนชานาญศรศลิ ป์วิทยา เบอ้ื งหน้าจะได้กันภัย ฯ

ฯ ๖ คา ฯ พระวชั มฤคอาจารยใ์ หญ่
๏ เมื่อน้นั อยา่ ร้อนใจเลยนะบงั อร
ได้ฟังจงึ่ ตอบคาไป ไวน้ ักงานกูจะสง่ั สอน
อนั ศิลปศาสตร์ความรู้ ให้เรืองฤทธริ อนด่งั เพลิงกัลป์ ฯ
โดยทางไตรเพทอนั ถาวร
นวลนางสดี าสาวสวรรค์
ฯ ๔ คา ฯ กลั ยายนิ ดปี รีดา
๏ เมื่อนน้ั ลูกรักแมย่ อดเสนห่ า
ได้ฟังพระมหานกั ธรรม์ จะได้ปรากฏเกียรตใิ์ นธาตรี
จ่งึ ตรสั แกส่ องพระเยาวลกั ษณ์ ลาบาทพระมหาฤๅษี
อตุ สา่ หเ์ ลา่ เรียนวิชา กลับมาทอี่ ยู่อรไท ฯ
วา่ แล้วน้อมเศียรอภวิ าทน์
ยรุ ยาตรนาดกรจรลี พระวชั มฤคอาจารย์ใหญ่
เลา่ เรียนไตรเพทวิทยา
ฯ ๖ คา ฯ เสมอ สารพดั มนต์ดลคาถา
๏ เมื่อนนั้ โดยวชิ าชายในโลกยี ์ ฯ
จ่งึ ใหส้ องนดั ดายาใจ
ท้งั ลทั ธอิ ุปเทห่ เ์ ล่ห์กล พระกมุ ารพ่นี ้องสองศรี
ตลอดแตต่ น้ จนปลายมา ปรีชาเคลา่ คล่องวอ่ งไว
อปุ เท่หเ์ ล่หก์ ลก็จาได้
ฯ ๔ คา ฯ เจรจา จบทงั้ ไตรเพทวิทยา ฯ
๏ เมอ่ื นน้ั
เรยี นศลิ ปศาสตร์พระมนุ ี พระมหาอาจารยฌ์ านกลา้
สารพัดคาถาพระยามนต์ ศกึ ษาวิชาชานาญดี
สาธยายขึ้นปากขึน้ ใจ เหลาเปน็ คนั ศรชยั ศรี
มีลกู สามเล่มประกับไป
ฯ ๔ คา ฯ ให้แมน่ ยาชานาญจงได้
๏ เม่ือน้ัน
เห็นพระเยาวราชกมุ ารา
จึ่งเอาไม้ไผ่อ่อนออ่ น
กับพระลบอนชุ ารว่ มชีวี
เจา้ จงหดั ยงิ ทงั้ สองหลาน

รามเกยี รติ์ ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบ

๑๔

แลว้ แนะลทั ธิศิลป์ชยั โดยในไสยเวทประกอบกัน ฯ
ฯ ๖ คา ฯ
ทงั้ สองสรุ ิย์วงศร์ ังสรรค์
๏ เมือ่ น้นั ไดอ้ งคล์ ะคันกย็ ินดี
รบั ศรจากกรพระนักธรรม์ กราบลงแทบเบ้ืองบทศรี
นบนวิ้ ประณตบทบงสุ์ พี่น้องก็พากันออกไป ฯ
ลาพระมหามุนี

รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกฎุ พระลบ

๑๕

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ ๒

บนั ทกึ คาศพั ท์

คาชีแ้ จง : ให้นักเรยี นบันทกึ คาศัพท์ท่สี นใจจากกลอนบทละครเรอ่ื ง รามเกยี รติ์ ตอน กาเนดิ
พระมงกฎุ พระลบ (นางสีดาให้กาเนดิ พระมงกฎุ ) พรอ้ มอธิบายความหมาย
ลงในช่องวา่ งทกี่ าหนด จานวน ๑๐ คา

คาศัพท์ ความหมาย

รามเกยี รติ์ ตอน กาเนิดพระมงกฎุ พระลบ

๑๖

บทที่ ๓

บทวิเคราะห์

จดุ เด่นของตอน

กาเนดิ พระมงกฎุ

กลา่ วถึงทา้ วหสั นัยน์ เหน็ นางสดี าจะประสตู พิ ระมงกุฎ อยู่ในปา่ ระหวา่ งนางสดี าถูกเนรเทศ ซึ่งพระมงกุฎ

เป็นโอรสของพระรามกับนางสีดา ท้าวหัสนัยน์จึงเป่าสังข์เสียงดังกังวานล่ันป่า แสดงให้เห็นถึงความเชื่อเร่ือง

การเป่าสังข์ เพื่ออัญเชิญเทพเทวดาลงมาอวยพรแก่พระโอรสของพระราม ผู้ซึ่งเป็นบุตรของพระอวตาร และ

พระมเหสีสุชาดาก็รับเอาพระมงกุฎมาชาระล้างร่างกายในแม่น้า พรมด้วยน้าทิพย์กลิ่นหอม วางใส่พานที่รอง

ด้วยผ้าเนื้อละเอียด ต้ังตรงหน้าพระมารดา ในที่พานักของฤๅษีหรือผู้บาเพ็ญพรต ดังบทประพันธ์ที่จะกล่าว

ตอ่ ไปนี้

๏ เมื่อนั้น องค์ท้าวหัสนยั น์เรืองศรี

เห็นนางสดี านารี เทวปี ระสตู ลิ กู ยา

ก็ทรงพชิ ัยยทุ ธ์มหาสงั ข์ เปา่ ดังเสียงลั่นสน่นั ปา่

ฝ่ายองคอ์ ัครราชสุชาดา กลั ยากร็ บั พระกุมาร

มาสรงในมหาสาครแกว้ อนั แลว้ ดว้ ยน้าทิพยห์ อมหวาน

คร้ันเสรจ็ เชิญหน่อพระอวตาร วางเหนอื พานรตั นร์ จู ี

รองดว้ ยภูษาทกุ ลู พสั ตร์ อนั สัมผัสอ่นุ ออ่ นเฉลิมศรี

ต้งั ไวต้ รงพักตรพ์ ระชนนี ในทพ่ี ระบรรณศาลา ฯ

ฯ ๘ คา ฯ

กาเนดิ พระลบ

พระลบโอรสนางสีดา เกิดจากภาพวาดที่ชุบให้เป็นคน เหตุเกิดจากนางสีดาฝากพระมงกุฎไว้กับพระฤๅษี

จากนน้ั นางไดพ้ บนางวานรซง่ึ เป็นลกู เกาะติดตัวไปด้วยตลอดเวลา นางจึงเกรงว่าลูกจะเป็นอันตรายหากฝากไว้

กับฤๅษีซ่ึงหลับตาภาวนา นางสีดาจึงย้อนกลับไปพาลูกไปด้วย เม่ือพระฤๅษีออกจากสมาธิ ไม่เห็นกุมารน้อยก็

ตกใจ จึงวาดรูปกุมาร หน้าตาไม่ผิดเพ้ียนไปจากพระมงกุฎ เม่ือกาลังจะชุบให้เป็นคน นางสีดาพาพระมงกุฎ

กลับมาพอดี พระฤๅษีจะลบรูปทิ้ง นางสีดาขอไว้ ฤๅษีจึงชุบเป็นคนให้ช่ือพระลบมอบเป็นบุตรนางสีดา ดังบท

ประพันธ์ทจี่ ะกลา่ วตอ่ ไปน้ี

๏ เมอ่ื นน้ั พระวัชมฤคฤๅษี
สาละวนตง้ั กิจพิธี ทีใ่ นศาลาอารัญ

รามเกียรต์ิ ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบ

๑๗

เห็นนางสีดานงลกั ษณ์ อมุ้ องคล์ ูกรักเฉลมิ

เขา้ มาน้อมเกลา้ อภวิ นั ท์ พระนกั ธรรม์จึง่ มวี าจา

ลูกเอ็งซ่ึงใส่ไว้ในอู่ ฝากกใู หช้ ่วยรักษา

เอาไปเมื่อไรนางสีดา ไม่บอกไมว่ า่ ให้แจ้งใจ

ทาให้กูหาอยวู่ ้าวนุ่ จนตงั้ กองกูณฑพ์ ธิ ใี หญ่

จะชุบพระกมุ ารขึน้ ไว้ ใหแ้ ทนโอรสนางเทวี

เมอื่ ลกู ของเอ็งยังดีอยู่ ก็พ้นธุระกผู ู้ฤๅษี

จงเลยี้ งรกั ษาไว้ใหด้ ี ตาน้ีจะไดภ้ าวนา

วา่ แลว้ จึ่งองค์พระอาจารย์ กห็ ยบิ เอากระดานท่ีเลขา

จะลบรปู วาดกมุ ารา นั้นเสียต่อหน้าบังอร ฯ

ฯ ๑๒ คา ฯ

คุณคา่ ดา้ นความรแู้ ละขอ้ คิด

ความรู้

ไตรเพท หมายถึง ช่ือคัมภีร์ศาสนาพราหมณ์ในสมัยพระเวท มี ๓ คัมภีร์ คือ ฤคเวท ยุรชเวท สามเวท

(ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๔, น.๕๒๑) ปรากฏในบทประพนั ธ์ ดงั ความวา่

๏ เม่อื น้นั พระวัชมฤคอาจารย์ใหญ่

ได้ฟงั จึงตอบคาไป อยา่ ร้อนใจเลยนะบงั อร

อันศลิ ปศาสตรค์ วามรู้ ไวน้ กั งานกูจะสงั่ สอน

โดยทางไตรเพทอันถาวร ให้เรอื งฤทธริ อนดง่ั เพลิงกลั ป์

จากบทประพันธ์ข้างตน้ นางสีดาต้องการให้พระมงกุฎและพระลบเรียนศิลปศาสตร์วิชากับพระอาจารย์

ซ่ึงพระอาจารย์ก็ตอบกลับนางสีดาไปว่าจะสอนวิชาต่าง ๆ ให้หลาน รวมท้ังวิชาไตรเพท ซ่ึงเป็นคัมภีร์ศาสนา

พราหมณ์

ข้อคดิ

การไม่ละทงิ้ หนา้ ทีข่ องผเู้ ป็นแม่ ดังในบทประพันธ์รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ นางสีดาได้
แสดงออกถึงการกระทาของแม่ท่มี ตี อ่ ลกู ทั้งการไม่ละทง้ิ ให้ลกู อยูเ่ พียงลาพัง ซึ่งตอนแรกฝากไว้กับพระฤๅษี แต่
เพราะนางเห็นลิงท่ีไปไหนมาไหนยังสามารถหอบหิ้วลูกไปด้วยได้ แม้ลิงจะเป็นเพียงสัตว์เดรัจฉาน แต่มันก็ยัง
ทาหน้าที่แม่ ไมป่ ล่อยปละละเลยลูก นางจึงคิดท่ีจะกลับไปหาลูก เพื่อพาพระมงกุฎมาท่ีแม่น้าด้วย จนเป็นเหตุ
ทาให้พระฤๅษชี ุบพระลบขน้ึ มา

รามเกียรต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกฎุ พระลบ

๑๘

คณุ ค่าด้านวรรณศิลป์

บทพระราชนพิ นธ์รามเกยี รติ์ในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตอน กาเนิดพระมงกุฎ
พระลบ นอกจากจะสะท้อนคุณค่าทางด้านของความรู้และข้อคิดแล้ว ยังมีการใช้ภาษาอย่างมีชั้นเชิง แสดงให้
เห็นคุณค่าความงามทางด้านของวรรณศิลป์ ท่ีผู้ประพันธ์หรือผู้ส่งสารต้องการจะส่ือความหมายไปยังผู้รับสาร
เพอื่ ใหเ้ กิดอารมณ์และความรสู้ กึ คล้อยตาม

การใชค้ า

การใช้คาซา หมายถึง การนาคาเดิมมาเขียนซ้ากันในตาแหน่งท่ีอยู่ติดกัน หรือ ยมก ปรากฏในบท

ประพนั ธ์ ดังความว่า

จึ่งเอาไม้ไผ่อ่อนออ่ น เหลาเป็นคันศรชยั ศรี
กับพระลบอนุชาร่วมชวี ี มลี ูกสามเล่มประกับไป

จากบทประพนั ธข์ ้างต้น จะเห็นได้วา่ กวนี าคาว่า “ ออ่ น ” มาซ้ากัน คือ “จึ่งเอาไม้ไผ่อ่อนอ่อน” คาว่า
“ อ่อนออ่ น ” เป็นการยา้ ความวา่ ไมไ้ ผ่มลี กั ษณะไมแ่ ข็ง หรือไมก่ ระด้าง

การเล่นเสยี ง

สัมผั สสร ะ หมา ยถึ ง ก าร นาค าที่ มีสร ะเ ดียว กัน ตัว สะก ดม าตร าเ ดียว กัน มีค ว า ม
คลอ้ งจองกนั แมเ้ สยี งวรรณยุกต์จะตา่ งกันมาเขียนตดิ กนั ปรากฏในบทประพันธ์ ดังความวา่

๏ ครัน้ ถึงศาลาอาวาส จ่งึ องค์อคั รราชเสน่หา
กราบลงแทบบาทพระสทิ ธา ที่หนา้ อารญั กฎุ ี ฯ

จากบทประพันธ์ข้างต้น จะเห็นว่า กวีเล่นเสียงสระ อา และไม่มีพยัญชนะเป็นตัวสะกด คือคาว่า “
ศาลาอา ” ซ่งึ เป็นคาทม่ี ีเสียงสระเดยี วกัน และไม่มพี ยัญชนะเป็นตัวสะกดเช่นเดียวกนั

การใชภ้ าพพจน์

อุปมา คือ การเปรียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหน่ึงเข้าด้วยกัน เพื่อโยงความคิดของผู้อ่าน ช่วยให้ผู้อ่านเห็น
ภาพไดด้ ยี ่งิ ขึ้น ความเปรียบในลักษณะนี้มักมีคาเช่ือมโยงสองส่ิงที่นามาเปรียบกัน ได้แก่ คาว่า เหมือน ดุจ ด่ัง
ปาน ประหนง่ึ ราวกับ เช่น ประดจุ เฉก เพียง กล ฯลฯ ปรากฏในบทประพนั ธ์ ดังความว่า

รามเกียรติ์ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ

๑๙

๏ นงั่ นิง่ ตะลงึ ราพงึ คิด รอ้ นจติ ด่งั หนง่ึ เพลงิ ไหม้
ให้อัดอั้นตนั ทรวงดวงใจ แล้วคดิ ได้ด้วยไวปรชี า

จากบทประพันธ์ข้างต้น จะเห็นว่ากวีใช้คาว่า “ ดั่ง”เป็นการใช้ภาพพจน์แบบอุปมา เปรียบเทียบความ
รอ้ นร่มุ ใจของพระฤๅษี วา่ กลัดกลุ้มดว้ ยร้อนใจเหมอื นกบั ไฟไหม้

คุณคา่ ด้านสงั คม

ค่านยิ ม

การปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผูม้ ีพระคณุ ปรากฏในบทประพันธ์ ดงั ความวา่

๏ เมอ่ื นนั้ นางสดี าเยาวยอดสงสาร

อยดู่ ้วยกบั องค์พระอาจารย์ ปานดงั่ บติ เุ รศเรอื งชยั

เช้าเยน็ อตสา่ หป์ รนนิบติ มใิ ห้เคืองขัดอชั ฌาสยั

กวาดแผว้ ศาลาพาไล ในท่ีจงกรมอารัญ

แลว้ เทย่ี วเกบ็ ผลพฤกษา ตกั มาทง้ั นา้ ใช้นา้ ฉนั

เปน็ นจิ อัตราทุกวัน ดว้ ยกตญั ญพู ระมนุ ี

จากบทประพันธข์ ้างตน้ จะเห็นวา่ นางสดี าดูแลปรนนบิ ัติพระฤๅษไี มม่ ขี าดตกบกพร่อง ท้ังทาความสะอาด
ศาลาท่ีพักอาศัย หาอาหาร ตักน้ามาให้ใช้สอยอยู่เป็นประจา แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
เน่ืองจากพระฤๅษีเป็นผู้ช่วยเหลือ และหาท่ีพักอาศัยให้ นางสีดาจึงตอบแทนท่านด้วยการดูแลเอาใจใส่เป็น
อย่างดี

ความเชื่อ

การดฤู กษย์ าม ปรากฏในบทประพันธ์ ดงั ความว่า พระดาบสผูท้ รงสิกขา
๏ เม่อื นัน้ ทง้ั ชนั ษาสองกุมาร
โดยนามกษัตริยม์ หาศาล
พเิ คราะหฤ์ กษ์ยามตามเวลา เปลา่ ปลอดจากกาลกิณี
เลอื กหาทเี่ ป็นศรสี วสั ด์ิ
ได้ท้งั อายุศม์บรวิ าร

จากบทประพนั ธ์ขา้ งต้น จะเหน็ วา่ พระฤๅษีมกี ารวิเคราะห์ดูฤกษย์ าม และเวลาในการเกิด ให้พระโอรสทั้ง
สองก่อนทีจ่ ะตัง้ ชื่อ แลว้ เลอื กชอ่ื ท่ีมีความหมายดี เหมาะสมแก่พระโอรสให้

รามเกยี รติ์ ตอน กาเนดิ พระมงกุฎ พระลบ

๒๐

การเป่าสงั ขใ์ นพิธมี งคล ปรากฏในบทประพันธ์ ดังความวา่

๏ เม่ือนน้ั องคท์ า้ วหสั นัยนเ์ รอื งศรี

เหน็ นางสดี านารี เทวีประสูติลกู ยา

ก็ทรงพิชยั ยุทธม์ หาสังข์ เป่าดงั เสยี งลน่ั สน่ันป่า

ฝ่ายองค์อัครราชสชุ าดา กัลยากร็ ับพระกุมาร

มาสรงในมหาสาครแกว้ อนั แลว้ ดว้ ยน้าทพิ ย์หอมหวาน

ครน้ั เสรจ็ เชิญหนอ่ พระอวตาร วางเหนอื พานรัตน์รูจี

รองดว้ ยภูษาทกุ ูลพสั ตร์ อนั สัมผสั อนุ่ อ่อนเฉลิมศรี

ตัง้ ไวต้ รงพักตร์พระชนนี ในทพ่ี ระบรรณศาลา ฯ

จากบทประพันธ์ข้างต้น เป็นตอนท่ีท้าวหัสนัยน์เป่าสังข์ดังกังวานล่ันป่า แสดงให้เห็นถึงความเช่ือเร่ือง
การเป่าสังข์ เพื่ออัญเชญิ เทพเทวดาลงมาอวยพรแก่พระโอรสของพระราม ผ้ซู ึง่ เป็นบุตรของพระอวตาร

วิถีชวี ิต

การศกึ ษาเล่าเรียนศาสตร์วชิ า ปรากฏในบทประพนั ธ์ ดงั ความวา่

๏ เม่อื นนั้ พระวัชมฤคอาจารยใ์ หญ่

จงึ่ ให้สองนัดดายาใจ เลา่ เรียนไตรเพทวทิ ยา

ท้ังลทั ธิอุปเทห่ เ์ ลห่ ์กล สารพดั มนตด์ ลคาถา

ตลอดแตต่ ้นจนปลายมา โดยวชิ าชายในโลกยี ์ ฯ

จากบทประพนั ธ์ขา้ งต้น จะเห็นได้ว่า พระฤๅษีให้พระโอรสทั้งสอง น่ันก็คือพระมงกุฎกับพระลบเรียนวิชา
ไตรเพท ซึ่งเป็นคัมภีร์ศาสนาพราหมณ์ในสมัยพระเวท มี ๓ คัมภีร์ คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท ท้ังสอนกล
อุบาย สารพดั มนต์คาถา ตลอดจนวชิ าการเอาตัวรอดตา่ ง ๆ

รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนดิ พระมงกุฎ พระลบ

๒๑

แบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี ๓

สรุปเนอื้ เรอื่ ง

คาช้แี จง ให้นักเรยี นวิเคราะหบ์ ทประพนั ธ์จากกลอนบทละครเรื่อง รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนิด
พระมงกฎุ พระลบ (นางสดี าใหก้ าเนิดพระมงกุฎ) สรปุ เน้ือเรอ่ื งลงในช่องวา่ งทก่ี าหนด

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบ

๒๒

แบบทดสอบหลังเรยี น

คาชแ้ี จง : ให้นกั เรียนอธิบายความหมายของคาศพั ทท์ ี่กาหนดให้อย่างละเอยี ดและถกู ต้อง

คาศัพท์ ความหมาย

กมั มัชวาต (Kammachawat)
กฎุ ี (Kudi)

กองกณู ฑ์ (Kongkun)
ไตรเพท (Tripheth)

ธามรงค์ (Thammarong)
นกั พรต (Nakphort)
นงลักษณ์ (Nonglak)
บรรณศาลา (Barnsala)
บรรลัย (Barnlay)
บิตเุ รศ (Bitures)
ประณต (Pranot)
พนาลี (Phanali)
พฤกษา (Phueksa)
ยรุ ยาตร (Yurayart)
ราชฐาน (Racchathan)
ลัทธิ (Laththi)
โลกีย์ (Lokiy)
เวไชยันต์ (Wechiyan)
อชั ฌาสัย (Achchasay)
อารญั (Arran)

รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ

๒๓

บทสรุป

จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. บอกสาระสาคญั ของกลอนบทละครเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน กาเนดิ พระมงกฎุ พระลบได้ (K)
๒. เขียนวิเคราะห์วจิ ารณว์ รรณคดจี ากเรื่องที่อ่านได้ (P)
๓. ตระหนักถึงคณุ คา่ ของวรรณคดีไทย (A)

คะแนนเตม็ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ระดบั คณุ ภาพ

คะแนนท่ไี ด้

คะแนนเตม็ แบบทดสอบหลงั เรียน ระดับคุณภาพ

คะแนนท่ีได้

แบบฝึกหดั ท้ายบท

บทที่ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั คุณภาพ







รามเกยี รต์ิ ตอน กาเนดิ พระมงกุฎ พระลบ

เอกสารอา้ งองิ

ฟองจนั ทร์ สุขย่งิ และคณะ. (มปป). วรรณคดีและวรรณกรรม.
กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทศั น์

วัชรี รมยะนันทน์. (๒๕๓๘). ววิ ัฒนาการวรรณคดีไทย. กรุงเทพ :
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.



กลอนบทละครเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน กาเนิดพระมงกุฎ พระลบ เป็นบทพระราชนิพนธ์
ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มีรูปแบบการแต่งเป็นกลอนบทละคร
เพ่ือชีใ้ หเ้ ห็นถึงสาเหตขุ องความรักท่มี ารดามตี อ่ บตุ ร รวมท้ังวิถีชีวิตของสังคมในอดีต

ผลติ โดย

นางสาวสุนนั ทา ศิริสุมทุม รหัส ๐๒๗
สาขาวิชารภามาษเกาียไรทตยิ์ ตวอทิ นยากลาัยเนกาิดรพฝรกึ ะหมดังกคุฎรู พระลบ


Click to View FlipBook Version