ความสำคญั ของวิชาวิทยาศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจบุ นั และอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกยี่ วขอ้ งกบั ชีวติ ของ
ทกุ คนทัง้ ในการดำรงชวี ติ ประจำวนั และในงานอาชพี ตา่ งๆ เคร่อื งมือเครือ่ งใช้ ตลอดจนผลผลติ ตา่ งๆ เพ่ือใช้
อำนวยความสะดวกในชวี ติ และการทำงาน ล้วนเป็นผลของความรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิด
สร้างสรรค์และศาสตร์อน่ื ๆ ความรวู้ ิทยาศาสตรช์ ว่ ยให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยอี ย่างมาก พร้อมกันน้นั เทคโนโลยี
กม็ ีส่วนสำคญั มากทจี่ ะใหก้ ารศึกษาคน้ คว้าความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพิม่ ข้นึ อย่างไม่หยุดยัง้
วทิ ยาศาสตร์ทำให้คนได้พัฒนาวิธคี ิด ทัง้ ความคิดเป็นเหตุเปน็ ผล คดิ สรา้ งสรรค์ คดิ วเิ คราะห์ มีทักษะ
สำคญั ในการคน้ ควา้ หาความรู้ มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ สามารถตดั สนิ ใจโดยใช้ขอ้ มูล
หลากหลายและประจักษ์พยานทีต่ รวจสอบได้ วทิ ยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมยั ใหม่ ซงึ่ เปน็ สงั คมแห่ง
ความรู้ ทกุ คนจงึ จำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาใหร้ วู้ ิทยาศาสตร์ เพือ่ ท่ีจะมีความรู้ความเข้าใจโลกธรรมชาติและ
เทคโนโลยีที่มนษุ ย์สรา้ งสรรค์ขน้ึ และนำความรู้ไปใช้อยา่ งมีเหตุผล เหตผุ ลสรา้ งสรรค์ มีคุณธรรม ความรู้
วทิ ยาศาสตรไ์ ม่เพยี งแต่นำมาใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ี แตย่ ังช่วยใหค้ นมคี วามรู้ความเขา้ ใจท่ถี ูกต้อง
เก่ยี วกับการใช้ประโยชน์ การดแู ลรักษา ตลอดจนการพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งสมดุล
และยง่ั ยนื และทสี่ ำคัญยิง่ คือ ความรวู้ ทิ ยาศาสตรช์ ว่ ยเพ่ิมขีดความสามารถในการพฒั นาเศรษฐกจิ สามารถ
แข่งขนั กับนานาประเทศและดำเนนิ ชีวิตร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างมีความสขุ
เป้าหมายของวิทยาศาสตร์
ในการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรม์ งุ่ เน้นให้ผเู้ รยี นได้คน้ พบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุด เพ่ือให้ได้ท้ัง
กระบวนการและความรู้จากวิธีการสงั เกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลที่ได้มาจดั ระบบเป็น
หลกั การ แนวคดิ และองคค์ วามรู้
การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์จึงมเี ป้าหมายทสี่ ำคัญ ดงั นี้
1. เพ่อื ให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎแี ละกฎท่เี ป็นพ้นื ฐานในวิชาวิทยาศาสตร์
2. เพือ่ ใหเ้ ข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวทิ ยาศาสตร์และข้อจำกดั ในการศึกษา
วิชาวทิ ยาศาสตร์
3. เพ่ือให้มีทกั ษะทส่ี ำคัญในการศกึ ษาคน้ ควา้ และคดิ คน้ ทางเทคโนโลยี
4. เพ่ือใหต้ ระหนักถึงความสัมพันธ์ระหวา่ งวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีมวลมนษุ ย์
และสภาพแวดลอ้ มในเชิงที่มีอิทธิพลและผลกระทบซ่งึ กันและกัน
5. เพอื่ นำความร้คู วามเข้าใจ ในวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
ต่อสงั คมและการดำรงชวี ติ
6. เพือ่ พฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และ
การจัดการ ทักษะในการส่อื สาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ
7. เพือ่ ให้เป็นผู้ท่ีมจี ิตวทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มในการใช้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค์
เรียนร้อู ะไรในวทิ ยาศาสตร์
กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรม์ ุ่งหวงั ใหผ้ ้เู รียนได้เรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ท่เี น้นการ เชื่อมโยงความรู้กับ
กระบวนการ มีทกั ษะสำคัญในการคน้ คว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรแู้ ละ
แก้ปญั หาทีห่ ลากหลาย ให้ผเู้ รียนมสี ่วนร่วมในการเรยี นรู้ ทกุ ข้ันตอน มีการทำกจิ กรรมด้วยการลงมอื ปฏิบตั ิจริง
อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับช้ัน โดยกำหนดสาระสำคัญ ดังนี้
✧ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ เรียนรูเ้ ก่ียวกับ ชีวติ ในสง่ิ แวดลอ้ ม องค์ประกอบของสง่ิ มชี วี ิต การดำรงชวี ติ ของ
มนุษย์และสตั ว์การดำรงชวี ิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และววิ ัฒนาการของสิ่งมชี วี ติ
✧ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เรียนรเู้ กย่ี วกับ ธรรมชาตขิ องสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคล่ือนท่ี
พลังงาน และคลื่น
✧ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ เรียนรูเ้ กีย่ วกับ องคป์ ระกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบสรุ ยิ ะ
เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปล่ยี นแปลงทางธรณีวทิ ยา กระบวนการ เปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อ
ส่ิงมีชีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม
✧ เทคโนโลยี
● การออกแบบและเทคโนโลยเี รียนรเู้ ก่ียวกับ เทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชวี ิต ในสงั คมท่ีมีการ
เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใช้ความรูแ้ ละทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตรค์ ณติ ศาสตร์ และศาสตรอ์ ืน่ ๆ เพ่ือแก้ปัญหา
หรือพฒั นางานอย่างมคี วามคิดสร้างสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบ เชงิ วิศวกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ ง
เหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชวี ติ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม
● วิทยาการคำนวณ เรยี นรเู้ กย่ี วกับ การคิดเชิงคำนวณ การคดิ วเิ คราะห์แก้ปัญหา เปน็
ข้นั ตอนและเปน็ ระบบ ประยุกตใ์ ช้ความรูด้ ้านวิทยาการคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร ใน
การแก้ปัญหาที่พบในชวี ิตจรงิ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
สาระและมาตรฐาน
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พื่อการดำรงชีวิตในสงั คมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่าง
รวดเรว็ ใชค้ วามรู้และทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์คณติ ศาสตร์และ ศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน
อย่างมีความคิดสรา้ งสรรค์ ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนงึ ถงึ
ผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และส่งิ แวดล้อม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชีวิตจรงิ อยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนและ
เป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม
คุณภาพผ้เู รียน
จบชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓
❖ เขา้ ใจลกั ษณะและองคป์ ระกอบที่สำคัญของเซลล์สงิ่ มีชีวิต ความสมั พนั ธข์ องการทำงานของระบบตา่ ง
ๆ ในรา่ งกายมนุษย์การดำรงชีวติ ของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมการเปลยี่ นแปลงของยีนหรือ
โครโมโซม และตัวอย่างโรคทเี่ กิดจากการเปลยี่ นแปลงทางพันธกุ รรมประโยชนแ์ ละผลกระทบของสง่ิ มีชวี ิตดัดแปร
พันธุกรรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ ปฏิสมั พนั ธ์ขององค์ประกอบของระบบนเิ วศและการถ่ายทอดพลงั งานใน
สิ่งมีชีวิต
❖ เข้าใจองคป์ ระกอบและสมบตั ขิ องธาตุ สารละลาย สารบรสิ ทุ ธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การ
เปลยี่ นแปลงของสารในรูปแบบของการเปลย่ี นสถานะ การเกดิ สารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมบตั ิทาง
กายภาพ และการใช้ประโยชนข์ องวสั ดปุ ระเภทพอลิเมอร์เซรามิก และวสั ดผุ สม
❖ เข้าใจการเคลื่อนท่ี แรงลัพธแ์ ละผลของแรงลัพธ์กระทำตอ่ วัตถุ โมเมนต์ของแรงแรงท่ีปรากฏใน
ชีวิตประจำวนั สนามของแรง ความสัมพนั ธข์ องงาน พลงั งานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน
การถา่ ยโอนพลงั งาน สมดลุ ความร้อน ความสมั พนั ธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบา้ น พลังงาน
ไฟฟ้า และหลักการเบ้ืองต้นของวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์
❖ เขา้ ใจสมบตั ิของคลน่ื และลกั ษณะของคล่นื แบบต่าง ๆ แสง การสะท้อน การหักเหของแสงและทศั น
อปุ กรณ์
❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทติ ย์ การเกิดฤดู การเคล่ือนที่ปรากฏของดวงอาทติ ย์การ
เกดิ ข้างขนึ้ ขา้ งแรม การขึ้นและตกของดวงจันทรก์ ารเกดิ น้ำขึ้นนำ้ ลงประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศและ
ความกา้ วหนา้ ของโครงการสำรวจอวกาศ
❖ เขา้ ใจลกั ษณะของชนั้ บรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยทมี่ ผี ลต่อลมฟา้ อากาศ การเกิดและ
ผลกระทบของพายุฟา้ คะนอง พายหุ มุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก
กระบวนการเกิดเชอื้ เพลิงซากดกึ ดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์ลักษณะ
โครงสรา้ งภายในโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงทางธรณีวทิ ยาบนผวิ โลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน กระบวนการเกิด
ดนิ แหลง่ น้ำผวิ ดิน แหล่งนำ้ ใตด้ นิ กระบวนการเกดิ และผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณพี บิ ัติภยั
❖ เข้าใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีไดแ้ ก่ ระบบทางเทคโนโลยกี ารเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
ความสัมพันธ์ระหวา่ งเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อน่ื โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์วเิ คราะห์ เปรียบเทยี บ
และตดั สนิ ใจเพ่ือเลือกใช้เทคโนโลยโี ดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ประยกุ ต์ใช้ความร้ทู กั ษะ
และทรัพยากรเพือ่ ออกแบบและสรา้ งผลงานสำหรับการแก้ปญั หาในชวี ติ ประจำวันหรือการประกอบอาชีพ โดยใช้
กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม รวมทัง้ เลือกใช้วัสดอุ ุปกรณ์และเคร่อื งมือได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม ปลอดภยั
รวมทง้ั คำนึงถึงทรัพย์สินทางปญั ญา
❖ นำขอ้ มูลปฐมภมู ิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วเิ คราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศไดต้ าม
วตั ถุประสงค์ ใช้ทักษะการคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ยเพ่ือชว่ ยใน
การแก้ปัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยา่ งรเู้ ทา่ ทันและรับผิดชอบต่อสังคม
❖ ต้งั คำถามหรือกำหนดปญั หาท่เี ช่อื มโยงกับพยานหลักฐาน หรอื หลักการทางวทิ ยาศาสตร์ที่มีการ
กำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมตฐิ านที่สามารถนำไปส่กู ารสำรวจ
ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใชว้ ัสดแุ ละเครื่องมือที่เหมาะสม เลือกใช้เคร่อื งมือและ
เทคโนโลยีสารสนเทศทเ่ี หมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมลู ทง้ั ในเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพท่ีได้ผลเท่ียงตรงและ
ปลอดภยั
❖ วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความสอดคล้องของขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการสำรวจตรวจสอบจากพยานหลักฐาน โดย
ใชค้ วามรู้และหลกั การทางวิทยาศาสตรใ์ นการแปลความหมายและลงข้อสรุปและสื่อสารความคดิ ความรจู้ ากผล
การสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรอื ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้ผู้อืน่ เขา้ ใจได้อยา่ งเหมาะสม
❖ แสดงถึงความสนใจ มุง่ ม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในส่งิ ทจี่ ะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์
เกี่ยวกับเรอื่ งท่ีจะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครือ่ งมือและวิธกี ารทใี่ หไ้ ดผ้ ลถูกต้อง เช่ือถือได้ศึกษา
คน้ คว้าเพ่ิมเตมิ จากแหลง่ ความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเอง รบั ฟังความคิดเหน็ ผู้อนื่ และยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงความรู้ที่คน้ พบ เม่ือมีขอ้ มูลและประจักษพ์ ยานใหม่เพิ่มขน้ึ หรือโต้แย้งจากเดมิ
❖ ตระหนักในคุณค่าของความรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ใี่ ช้ในชวี ติ ประจำวัน ใช้ความรแู้ ละ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดำรงชวี ิต และการประกอบอาชพี แสดงความช่นื ชม ยกยอ่ ง
และเคารพสทิ ธิในผลงานของผคู้ ดิ ค้น เข้าใจผลกระทบท้งั ด้านบวกและดา้ นลบของการพัฒนาทางวทิ ยาศาสตร์ต่อ
สงิ่ แวดล้อมและต่อบริบทอ่ืน ๆ และศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือสร้างช้นิ งานตามความสนใจ
❖ แสดงถงึ ความซาบซึ้ง ห่วงใย มพี ฤตกิ รรมเก่ียวกับการดแู ลรกั ษาความสมดุลของระบบนิเวศ และ
ความหลากหลายทางชวี ภาพ
จบชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖
❖ เขา้ ใจการลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์กลไกการรักษาดลุ ยภาพของมนษุ ย์ ภมู ิคุ้มกนั ในร่างกาย
ของมนุษยแ์ ละความผิดปกตขิ องระบบภูมิค้มุ กนั การใช้ประโยชน์จากสารตา่ ง ๆ ท่พี ืชสรา้ งขน้ึ การถ่ายทอด
ลกั ษณะทางพันธุกรรม การเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรม ววิ ัฒนาการทท่ี ำให้เกดิ ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ิต
ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอต่อมนษุ ย์ส่ิงมีชีวติ และสง่ิ แวดลอ้ ม
❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมศิ าสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปล่ียนแปลงแทนทใ่ี นระบบ
นเิ วศ ปัญหาและผลกระทบท่ีมีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
และการแกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดล้อม
❖ เขา้ ใจชนดิ ของอนุภาคสำคัญท่ีเปน็ สว่ นประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ การ
จดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ ชนิดของแรงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนภุ าคและสมบตั ิต่าง ๆ ของสารทมี่ ีความสัมพันธ์กับแรง
ยดึ เหนี่ยว พันธะเคมีโครงสรา้ งและสมบตั ิของพอลิเมอร์ การเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีปจั จยั ที่มผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า
เคมีและการเขยี นสมการเคมี
❖ เขา้ ใจปริมาณท่ีเกยี่ วกับการเคลอ่ื นที่ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแรง มวลและความเร่ง ผลของความเรง่ ท่ีมี
ต่อการเคล่ือนที่แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสมั พนั ธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กและ
กระแสไฟฟ้า และแรงภายในนวิ เคลยี ส
❖ เข้าใจพลงั งานนวิ เคลียรค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่างมวลและพลงั งาน การเปลย่ี นพลงั งานทดแทนเปน็
พลังงานไฟฟา้ เทคโนโลยดี ้านพลงั งาน การสะท้อน การหักเห การเลย้ี วเบนและการรวมคลน่ื การได้ยิน
ปรากฏการณ์ที่เกยี่ วข้องกับเสยี ง สีกบั การมองเหน็ สีคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ และประโยชนข์ องคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า
❖ เข้าใจการแบ่งชนั้ และสมบตั ขิ องโครงสร้างโลก สาเหตุ และรปู แบบการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณที ี่
สมั พนั ธก์ ับการเกดิ ลักษณะธรณีสณั ฐาน สาเหตุกระบวนการเกดิ แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิผลกระทบ แนว
ทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภยั
❖ เข้าใจผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการหมนุ เวียนของ
อากาศ การหมุนเวยี นของอากาศตามเขตละติจูด และผลท่ีมีตอ่ ภูมิอากาศ ความสมั พนั ธ์ของการหมนุ เวียนของ
อากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหนา้ ในมหาสมุทรและผลต่อลักษณะลมฟา้ อากาศ สง่ิ มีชีวติ และ
สิ่งแวดลอ้ ม ปจั จยั ตา่ ง ๆ ที่มีผลตอ่ การเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศโลก และแนวปฏบิ ตั เิ พื่อลดกจิ กรรมของมนุษย์ท่ี
ส่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศโลกรวมท้งั การแปลความหมายสญั ลกั ษณ์ลมฟา้ อากาศทสี่ ำคญั จากแผนที่
อากาศ และข้อมลู สารสนเทศ
❖ เข้าใจการกำเนิดและการเปลีย่ นแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมขิ องเอกภพ หลักฐานท่ีสนบั สนุน
ทฤษฎีบกิ แบง ประเภทของกาแล็กซีโครงสรา้ งและองค์ประกอบของกาแลก็ ซีทางชา้ งเผือก กระบวนการเกิดและ
การสรา้ งพลังงาน ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อความสอ่ งสว่างของดาวฤกษ์และความสัมพนั ธ์ระหว่างความส่องสวา่ งกับโชติ
มาตรของดาวฤกษ์ความสัมพันธ์ระหว่างสีอุณหภูมผิ ิว และสเปกตรัมของดาวฤกษว์ ิวัฒนาการและการเปล่ียนแปลง
สมบัติบางประการของดาวฤกษ์กระบวนการเกดิ ระบบสุรยิ ะ การแบ่งเขตบรวิ ารของดวงอาทิตยล์ กั ษณะของดาว
เคราะห์ท่ีเอ้ือตอ่ การดำรงชวี ติ การเกิดลมสุรยิ ะ พายุสรุ ิยะและผลท่มี ีตอ่ โลก รวมท้ังการสำรวจอวกาศและ
การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ
❖ ระบุปญั หา ต้งั คำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ โดยมกี ารกำหนดความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรตา่ ง ๆ
สืบคน้ ขอ้ มูลจากหลายแหล่ง ต้งั สมมตฐิ านทเี่ ปน็ ไปได้หลายแนวทาง ตัดสนิ ใจเลือกตรวจสอบสมมตฐิ านท่ีเป็นไปได้
❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาที่อยู่บนพน้ื ฐานของความรู้และความเข้าใจทางวทิ ยาศาสตร์ ท่แี สดงให้
เห็นถึงการใช้ความคิดระดบั สูงทส่ี ามารถสำรวจตรวจสอบหรอื ศึกษาค้นควา้ ได้อย่างครอบคลุมและเช่ือถือไดส้ ร้าง
สมมตฐิ านทมี่ ีทฤษฎีรองรบั หรือคาดการณส์ ิ่งท่ีจะพบ เพ่ือนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ออกแบบวธิ กี ารสำรวจ
ตรวจสอบตามสมมติฐานทีก่ ำหนดไวไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมมีหลักฐานเชิงประจกั ษ์ เลือกวัสดุ อุปกรณ์ รวมทัง้ วธิ กี ารใน
การสำรวจตรวจสอบอยา่ งถกู ตอ้ งทั้งในเชิงปรมิ าณและคุณภาพ และบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบ
❖ วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรปุ เพ่อื ตรวจสอบกบั สมมตฐิ าน
ที่ต้งั ไวใ้ หข้ ้อเสนอแนะเพื่อปรับปรงุ วิธีการสำรวจตรวจสอบ จดั กระทำข้อมลู และนำเสนอข้อมูลดว้ ยเทคนิควิธที ี่
เหมาะสม ส่อื สารแนวคดิ ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบ โดยการพูด เขียน จดั แสดงหรือใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อให้ผู้อน่ื เขา้ ใจโดยมีหลักฐานอา้ งอิงหรือมที ฤษฎีรองรบั
❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน รบั ผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสบื เสาะหาความรูโ้ ดยใช้
เครอื่ งมอื และวิธกี ารทใ่ี ห้ได้ผลถูกต้อง เช่อื ถือได้มีเหตุผลและยอมรับไดว้ ่าความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์อาจมกี าร
เปลี่ยนแปลงได้
❖ แสดงถึงความพอใจและเหน็ คุณค่าในการค้นพบความรู้พบคำตอบ หรอื แกป้ ัญหาได้ ทำงานรว่ มกบั
ผู้อน่ื อย่างสร้างสรรคแ์ สดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอา้ งอิงและเหตผุ ลประกอบ เกยี่ วกับผลของการพัฒนาและการ
ใช้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอยา่ งมีคณุ ธรรมต่อสงั คมและส่ิงแวดล้อม และยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อืน่
❖ เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตรท์ ่ีมีผลต่อการพฒั นาเทคโนโลยีประเภทตา่ ง ๆ และการ
พฒั นาเทคโนโลยีท่สี ง่ ผลให้มีการคิดคน้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่กี ้าวหนา้ ผลของเทคโนโลยตี อ่ ชีวิต สังคม และ
ส่ิงแวดลอ้ ม
❖ ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณคา่ ของความรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทใี่ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั
ใช้ความรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดำรงชวี ติ และการประกอบอาชีพ แสดงความชืน่
ชม ภูมใิ จ ยกยอ่ ง อา้ งอิงผลงาน ชน้ิ งานทเ่ี ปน็ ผลมาจากภมู ิปัญญาท้องถ่ิน และการพฒั นาเทคโนโลยที ่ที นั สมยั
ศกึ ษาหาความรู้เพ่ิมเติม ทำโครงงานหรอื สร้างชิ้นงานตามความสนใจ
❖ แสดงความซาบซงึ้ หว่ งใย มพี ฤติกรรมเก่ียวกบั การใช้และรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
อย่างรู้คุณค่า เสนอตวั เองรว่ มมอื ปฏบิ ตั ิกับชุมชนในการป้องกนั ดแู ลทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของ
ทอ้ งถนิ่
❖ วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยีไดแ้ ก่ ระบบทางเทคโนโลยีท่ซี บั ซอ้ น การเปล่ยี นแปลงของ
เทคโนโลยคี วามสมั พนั ธร์ ะหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตรว์ เิ คราะห์
เปรยี บเทียบ และตดั สนิ ใจเพื่อเลือกใชเ้ ทคโนโลยโี ดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ติ สังคม เศรษฐกจิ และส่งิ แวดล้อม
ประยุกตใ์ ช้ความรูท้ ักษะ ทรัพยากรเพื่อออกแบบ สรา้ งหรอื พัฒนาผลงาน สำหรบั แก้ปญั หาทม่ี ีผลกระทบต่อสังคม
โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ใชซ้ อฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนำเสนอผลงาน เลอื กใช้วัสดุ
อปุ กรณ์และเคร่อื งมอื ได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภยั รวมทงั้ คำนงึ ถงึ ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา
❖ ใช้ความรูท้ างด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์สื่อดิจทิ ลั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร เพอ่ื รวบรวม
ขอ้ มลู ในชีวติ จริงจากแหลง่ ต่าง ๆ และความรจู้ ากศาสตร์อ่ืน มาประยุกต์ใช้สรา้ งความรู้ใหม่ เข้าใจการเปลย่ี นแปลง
ของเทคโนโลยที ่ีมผี ลตอ่ การดำเนินชวี ิต อาชีพ สังคมวัฒนธรรม และใชอ้ ยา่ งปลอดภัย มีจรยิ ธรรม
ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง วิชา ออกแบบและเทคโนโลยี
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทพี่ บในชีวิตจรงิ อยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน
และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทันและมจี รยิ ธรรม
ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ม.6 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการนำเสนอ • การนำเสนอและแบ่งปันขอ้ มูล เช่น การเขยี น
และแบง่ ปันข้อมลู อยา่ งปลอดภยั มีจรยิ ธรรม บล็อก อัปโหลดวิดโี อ ภาพอินโฟกราฟิก
และวเิ คราะห์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
สารสนเทศ ทีม่ ผี ลต่อการดำเนนิ ชีวติ อาชพี • การนำเสนอและแบง่ ปนั ข้อมูลอยา่ งปลอดภัย เช่น
สงั คมและวัฒนธรรม ระมดั ระวังผลกระทบทีต่ ามมา เมือ่ มีการแบ่งปนั
ข้อมลู หรือเผยแพร่ข้อมลู ไม่สรา้ งความเดือดร้อน
ต่อตนเองและผู้อื่น
• จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
• เทคโนโลยเี กดิ ใหมแ่ นวโนม้ ในอนาคตการ
เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
• นวัตกรรมหรือเทคโนโลยดี ้านต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ
ชวี ิตประจำวัน
• อาชพี เกี่ยวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ
• ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศตอ่ การ
• ดำเนินชีวติ อาชพี สงั คม และวฒั นธรรม
คำอธบิ ายรายวิชา
รหัสวิชา ว33281 รายวชิ า การสร้างภาพเคล่ือนไหว 2 มิติ
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 6
เวลา 40 ชั่วโมง/ภาคเรยี น จำนวน 1 หนว่ ยกิต
คำอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาหลักการกราฟิก และเครอื่ งมือของโปรแกรมสรา้ งภาพเคลื่อนไหว การเขียนรูปภาพ การจัดเก็บ
รปู ภาพ การแกไ้ ขตกแตง่ รูปภาพ การนำเสนองาน การใชส้ ี การสร้างขอ้ ความหลายมิติ วธิ กี ารสรา้ งงานนำเสนอ
แบบสอื่ ประสมและการใชโ้ ปรแกรมนำเสนอแบบสองมิติ การตดั ตอ่ เสียง หลักการเขยี น Story board สำหรบั การ
สรา้ งการต์ นู และวธิ ีการใชเ้ ทคโนโลยกี ารนำเสนอแบบสอื่ ประสม
ฝกึ วาดภาพกราฟิก โดยใชเ้ คร่อื งมือตา่ ง ๆ ของโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว ฝึกปฏิบตั กิ ารสร้าง
ภาพเคลื่อนไหวแบบตา่ ง ๆ การทำการบันทึกและตัดต่อเสียง สร้างและรวมภาพเคลื่อนไหว เปน็ เรือ่ งราวตามความ
สนใจและจติ นาการอย่างสร้างสรรค์ ทำการเผยแพร่ผลงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยแสวงหาความรู้จากแหลง่
เรียนรทู้ ี่หลากหลาย ใชก้ ระบวนการปฏบิ ตั ิจริงเพ่ือสรา้ งสรรคผ์ ลงานภาพเคลื่อนไหวที่สมบูรณ์
เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในงานสร้างภาพเคลือ่ นไหว มที กั ษะในการทำงานดว้ ยความรอบคอบ มี
ความคดิ สรา้ งสรรค์ มีความมุ่งม่ัน สร้างชนิ้ งานท่ีแสดงถึงความรกั ในความเป็นไทย มคี วามซ่อื สัตย์ ความรบั ผดิ ชอบ
ช่วยเหลือแนะนำต่อผู้อน่ื ด้วยจิตสาธารณะ
รหัสตัวช้ีวัด
ว 4.2 ม 6.1
รวมตัวช้ีวดั 1 ตัวชี้วัด
โครงสร้างรายวชิ า
รหัสวิชา ว33281 รายวิชา การสร้างภาพเคล่อื นไหว 2 มิติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
เวลา 40 ชวั่ โมง/ภาคเรียน จำนวน 1 หน่วยกิต
หน่วย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา นำ้ หนกั
ที่ การเรียนรู้
การ คะแนน
1 รู้จกั กบั แอน
นิมชัน่ เรียนรู/้
2 สรา้ งงาน ตัวช้วี ดั
แอนนิเมชัน่
แบบ draw ว 4.2 ม ภาพเคล่อื นไหว หมายถงึ การนำภาพนงิ่ หลาย ๆ ภาพ 2 5
animation
6.1 มาเรยี งตอ่ กนั และฉายภาพต่อเนอื่ งกันด้วยความเรว็
สูง
ว 4.2 ม Draw Animation คือแอนิเมช่นั ที่เกิดจากการวาด 6 15
6.1 ภาพหลายๆพนั ภาพ แต่การฉายภาพเหล่านน้ั ผา่ น
กลอ้ งอาจใชเ้ วลาไม่กี่นาที
ข้อดีของการทำแอนิเมช่ันชนิดน้คี อื มีความเป็น
ศลิ ปะ สวยงาม นา่ ดชู ม แต่ขอ้ เสยี คือ ตอ้ งใชเ้ วลา
ในการผลิตมาก ต้องใชแ้ อนเิ มเตอร์
จำนวนมากและตน้ ทนุ ก็สูงตามไปดว้ ย
3 สรา้ งงาน ว 4.2 ม 10 25
แอนนเิ มช่นั 6.1
แบบStop
motion
4 สร้างงาน ว 4.2 ม Computer Animationเปน็ การนำคอมพวิ เตอรม์ า 22 55
แอนนิเมช่นั 6.1 ช่วยสรา้ งแอนเิ มช่ันโดยใช้โปรแกรมต่างๆ เช่น
แบบ Maya, 3D MAX, Adobe After Effects หรอื
Computer Flashโดยจะใช้เคร่ืองมือทโี่ ปรแกรมได้จดั เตรียมไว้
Animation
หนว่ ย ช่ือหน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นรู้ การ
เรียนรู/้ คะแนน
ตัวชว้ี ัด
รวมระหว่าง 80
ภาค
ปลายภาค 20
รวม 100 100
การวางแผนการวัดผล ประเมินผล และการกำหนดสดั ส่วนคะแนน
รหสั วิชา ว33281 รายวชิ า การสร้างภาพเคลอื่ นไหว 2 มิติ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6
เวลา 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 1 หนว่ ยกิต
สดั ส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค เปน็ 80 : 20
หนว่ ย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ จำนวน นำ้ หนกั ภาระงาน/ชนิ้ งาน
ที่ ตวั ช้วี ัด ช่ัวโมง คะแนน
1 รู้จักกบั แอนนเิ มชัน่ ว 4.2 ม 6.1 - ใบงานร้จู กั กบั
2 5 แอนนิเมช่นั
2 สร้างงานแอนนิเมชั่นแบบ ว 4.2 ม 6.1 6 15 ชิน้ งาน
draw animation 10 25 draw animation
22 55 ชิ้นงาน
3 สร้างงานแอนนเิ มช่ันแบบStop ว 4.2 ม 6.1 Stop motion
motion 40 100 ชน้ิ งาน
Computer
4 สรา้ งงานแอนนิเมช่ันแบบ ว 4.2 ม 6.1 Animation
Computer Animation
รวม
การวัดประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์ เขยี น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รหสั วชิ า ว33281 รายวชิ า การสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหว 2 มิติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
เวลา 40 ชวั่ โมง/ภาคเรียน จำนวน 1 หนว่ ยกติ
หนว่ ยการเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั ภาระงาน/ช้ินงาน
หนว่ ยท่ี1 12345
หนว่ ยที่ 2
หนว่ ยที่ 3 / / / / / แผนภาพความคิดเร่ือง animation
หน่วยที่ 4
จำนวนครงั้ ท่ปี ระเมิน ช้นิ งาน Draw animation
ชนิ้ งาน stop motion animation
ชน้ิ งาน computer animation
11111
การอ่านคดิ วเิ คราะห์และเขยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4-6
1. สามารถอา่ นเพอ่ื การศึกษาค้นคว้าเพิ่มพนู ความรปู้ ระสบการณ์และการประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวนั
2. สามารถจับประเดน็ สำคัญลำดบั เหตุการณ์ จากการอา่ นสอื่ ทีม่ ีความซบั ซ้อน
3. สามารถวิเคราะห์สงิ่ ท่ผี ู้เขียนตอ้ งการส่ือสารกับผู้อ่านและสามารถวิพากษใ์ ห้ข้อเสนอแนะในแง่มมุ ตา่ งๆ
4. สามารถประเมนิ ความน่าเชื่อถอื คณุ ค่าแนวคดิ ท่ีได้จากสิ่งท่ีอา่ นอยา่ งหลายหลากหลาย
5. สามารถแสดงความคดิ เหน็ โต้แยง้ สรุปโดยมีข้อมูลอธบิ ายสนบั สนุนอยา่ งเพยี งพอและสมเหตุผล
แผนการเรียนรู้ที่ 1
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 รจู้ กั กบั แอนนิเมชั่น เวลา 2 ชัว่ โมง
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 เรือ่ ง ความรู้เบ้ืองตน้ เกย่ี วกบั ภาพเคล่ือนไหว เวลา 2 ช่ัวโมง
ครผู สู้ อน นางสกุณี นิยม ครงั้ ท่ี 1 วันที่ เดอื น พ.ศ.
1. มาตรฐานการเรียนรู้ 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแกปัญหาท่ีพบในชีวติ จรงิ อย่างเป็นข้ันตอน
และเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรยี นรกู้ ารทำงาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจริยธรรม
2. ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้
ว 4.2 ม 6.1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอ และแบง่ ปันข้อมลู อย่างปลอดภยั มีจริยธรรม และ
วเิ คราะห์การเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทม่ี ีผลต่อการดาํ เนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม
3. สาระสำคัญ
แอนิเมชั่น (Animation) หมายถงึ "การสร้างภาพเคลอ่ื นไหว" ด้วยการน าภาพนงิ่ มาเรียงล าดบั กัน และ
แสดงผลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ดวงตาเห็นภาพทีม่ ีการเคลื่อนไหวในลกั ษณะภาพตดิ ตาด
4. สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของแอนนเิ มชัน่
2. ประเภทของแอนนิเมชัน่
3. การสร้างงานแอนนิเมชัน่
4. ขนาดของจอภาพ
5. รูปแบบของไฟล์แอนนิเมช่นั
6. การผลิตแอนนเิ มชน่ั
5. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแอนนเิ มช่ัน
6. ทกั ษะและกระบวนการท่ีเปน็ จดุ เน้น
1. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
2. ทกั ษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ
3. ทักษะการส่ือสาร
4. ทกั ษะความคิดสรา้ งสรรค์
5. ทักษะการทาํ งานร่วมกับผ้อู น่ื
7. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อย่อู ย่างพอเพียง
6. มุ่งม่ันในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
8. สาระทนี่ ำมาบูรณาการ ใชก้ ระบวนการเขียน
ภาษาไทย : ใชก้ ระบวนการเขยี นคำศัพท์เฉพาะท่ีเป็นภาษาองั กฤษ
ภาษาอังกฤษ :
9. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
1. กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ (สงั เกต/ตระหนัก,วางแนวทางปฏบิ ตั ิ, ลงมอื ปฏิบตั ิ, พฒั นาความรู้
ความเขา้ ใจ, สรปุ )
2. กระบวนการปฏิบัติ
10. กจิ กรรมการเรียนรู้ (ตามข้นั ตอนกระบวนการ)
ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรียน
1. ผู้สอนกระตุ้นผู้เรียนดว้ ยคำถามเกย่ี วกับแอนนิเมชัน่ ที่นักเรียนทราบ
2. ผู้สอนนำตวั อยา่ งการ์ตูนแอนนเิ มช่นั มาให้นักเรียนดู
3. รว่ มกนั อภปิ รายตัวอย่างการต์ ูนแอนนเิ มชั่นท่นี ำมาให้ดู และถามนักเรยี นวา่ แอนนิเมช่ันคืออะไร
ข้นั สอน
1. ให้นกั เรยี นศึกษาใบความรู้เร่ือง ความรเู้ บ้ืองต้นเกย่ี วกับแอนนเิ มชนั่
2. ใหน้ ักเรยี นดงู านนำเสนอเรอื่ งแอนนิเมช่ัน
3. ใหน้ กั เรียนดูงานนำเสนอเรือ่ งการผลิตแอนนิเมชั่น
4. ร่วมกนั อภปิ รายความหมายของแอนนิเมชัน่ ประเภทของแอนนเิ มชั่น การสร้างผลงานแอนนเิ มชนั่ ขนาด
ของจอภาพแอนนเิ มชั่น รปู แบบไฟล์แอนนเิ มชั่น และการผลติ แอนนเิ มชัน่
5. มอบหมายใหน้ กั เรยี นสรปุ ความรู้เกย่ี วกับแอนนเิ มชัน่ ด้วยแผนผังความคิด
ข้นั สรุป
1. รว่ มกันอภิปรายและสรปุ เกย่ี วกับแอนนิเมช่นั
2. ยกตวั อยา่ งผลงานนักเรียนหรือใหต้ วั แทนนักเรียนมานำเสนอผลงานแผนผงั ความคดิ เร่ืองแอนนเิ มชนั่
11. สื่อการเรียนรู้
1. หอ้ งเรียนออนไลน์ classroom รายวิชาการสร้างภาพเคลื่อนไหว 2 มติ ิ
2. งานนำเสนอเรื่องแอนนเิ มช่ัน https://www.youtube.com/watch?v=DBpvBNojovI&t=25s
3. งานนำเสนอเรื่องการสรา้ งงานแอนนเิ มชัน่
https://www.youtube.com/watch?v=u8PKo3rkcXE&t=29s
4. ใบความรเู้ รือ่ งแอนนเิ มชัน่
12. การวัดผลประเมนิ ผล
รายการประเมนิ วิธกี ารประเมนิ เครื่องมอื ท่ใี ช้ เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น
ประเมิน
1. มคี วามรคู้ วาม ตรวจผลงาน คะแนน 5-6 หมายถงึ ดคี ะแนน 3-4
เข้าใจเก่ยี วกับแอนนิ แผนผงั ความคดิ เกณฑ์การให้ หมายถงึ พอใชค้ ะแนน 1-2 หมายถึง
เมชัน่ เร่ืองแอนนิเมช่นั คะแนนผลงาน ปรบั ปรุงผู้เรียนได้ระดับคณุ ภาพ พอใช้ ถือวา่
แผนผงั ความคิด ผ่าน
2.การอธิบาย ตรวจผลงาน
เกณฑ์การให้
เกีย่ วกับแอนนมิ เชนั่ แผนผังความคิด คะแนนผลงาน
แผนผังความคดิ
เร่อื งแอนนเิ มช่ัน
3. ทกั ษะการคิด สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต ผู้เรียนไดร้ ะดบั คุณภาพพอใช้ ขึ้นไปถือว่า
ผา่ น
วิเคราะห์ พฤติกรรม
4. ทกั ษะการสอื่ สาร สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกต
พฤติกรรม
5. ทกั ษะความคิด สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกต
สร้างสรรค์ พฤติกรรม
6. ทกั ษะการทาํ า สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกต
งานร่วมกบั ผู้อื่น พฤติกรรม
7. ทักษะการคิด สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต
อยา่ งมีวิจารณญาณ พฤติกรรม
เกณ์การประเมนิ
ประเดน็ การ 3 ระดับคะแนน 1
ประเมิน 2
การใช้สี ใชส้ ที แี่ ตกตา่ งกนั ตงั้ แต่ 3 สขี ้ึนไป นักเรียนใชห้ น่งึ สี ใชเ้ พยี งขาวดำหรือ
(นอกเหนือจากขาวดำ) ดนิ สอเทา่ นนั้
ภาพกลาง การใช้รูปภาพหรือภาพท่ี มีภาพกลาง แต่ไม่เดน่ สะดดุ ตา ไมม่ ีภาพกลางหรือไม่
เกย่ี วข้องกับแนวคดิ หลักอยา่ ง ชดั เจน ไม่สมั พันธก์ ับ
ชดั เจน ขอ้ มูลอน่ื ๆ ไม่
เก่ียวข้องกับแนวคิด
หลัก
การแตก มีการแตกแนวคดิ ย่อย หรือแตก มกี ารแตกแนวคดิ ย่อย หรือแตก การแตกแนวคิดย่อย
แนวคิดยอ่ ย ก่ิงกา้ นสาขา ครอบคลกุ แนวคิด กงิ่ ก้านสาขา แตค่ รอบคลุม ไมส่ มั พันธก์ ับภาพ
กลาง
หลกั สอดคลอ้ งกับภาพกลาง ให้ แนวคิดหลกั สอดคล้องกบั ภาพ
ขอ้ มูลชัดเจน ครบถ้วน ถูกต้อง กลาง ไม่ครบถว้ น
ความคิด มีการใชส้ ี และการเชอ่ื มโยงที่ทำ มีการใช้สี และการเช่อื มโยง แต่ ไมม่ ีการใชส้ ีหรอื ลงิ ก์
สร้างสรรค์ ใหม้ องเหน็ ภาพได้ชดั เจน ยังไม่ชัดเจน ทำให้สบั สนอยู่บ้าง เพียงเลก็ น้อยเพื่อ
แสดงการเชอ่ื มต่อ
ระหวา่ งความคิด
เกณฑ์การตดั สินระดับคุณภาพ ระดบั คุณภาพดี
คะแนน 7-9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้
คะแนน 4-6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง
คะแนน 1-3 คะแนน หมายถึง
แผนการเรยี นร้ทู ี่ 2
ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 สรา้ งงานแอนนเิ มช่ันแบบ Draw Animation เวลา 6 ช่ัวโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง สรา้ งงานแอนนิเมชั่นแบบ Draw Animation เวลา 6 ชัว่ โมง
ครูผ้สู อน นางสกณุ ี นิยม คร้ังท่ี 2 วนั ที่ เดอื น พ.ศ.
1. มาตรฐานการเรียนรู้ 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแกปญั หาทพ่ี บในชวี ติ จริงอยา่ งเป็นข้นั ตอน
และเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรูก้ ารทำงาน และการแก้ปญั หาได้อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทัน และมีจริยธรรม
2. ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้
ว 4.2 ม 6.1 ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอ และแบ่งปนั ข้อมูลอยา่ งปลอดภัย มีจริยธรรม และ
วิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่มี ีผลต่อการดําเนินชวี ิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม
3. สาระสำคัญ
แอนิเมช่นั (Animation) หมายถงึ "การสรา้ งภาพเคลอื่ นไหว" ด้วยการนำภาพน่งิ มาเรยี งลำดับกัน และ
แสดงผลอย่างต่อเน่ือง ทำให้ดวงตาเหน็ ภาพทม่ี ีการเคลื่อนไหวในลักษณะภาพติดตา
4. สาระการเรยี นรู้
1. การสรา้ งงานแอนนิเมชัน่ แบบ Draw Animation
5. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นกั เรยี นสามารถสร้างผลงาน แอนนิเมชน่ั แบบ Draw Animation
6. ทักษะและกระบวนการที่เป็นจุดเน้น
1. ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
2. ทักษะการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ
3. ทักษะการส่ือสาร
4. ทกั ษะความคิดสร้างสรรค์
5. ทกั ษะการทาํ งานรว่ มกับผ้อู น่ื
7. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซือ่ สัตย์สุจริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อย่อู ย่างพอเพียง
6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
8. สาระท่ีนำมาบรู ณาการ ใชก้ ระบวนการเขียน
ภาษาไทย : ใชก้ ระบวนการเขียนคำศัพทเ์ ฉพาะทเี่ ป็นภาษาองั กฤษ
ภาษาอังกฤษ :
9. กระบวนการจดั การเรียนรู้
1. กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ (สังเกต/ตระหนัก,วางแนวทางปฏิบตั ิ, ลงมอื ปฏบิ ตั ิ, พัฒนาความรู้
ความเข้าใจ, สรุป)
2. กระบวนการปฏบิ ัติ
10. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ตามขั้นตอนกระบวนการ)
ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
1. ทบทวนความร้เู ดิมโดยผสู้ อนกระตนุ้ ผู้เรียนด้วยคำถามเกย่ี วกับแอนนิเมช่นั
2. ผ้สู อนนำตวั อยา่ งการต์ ูนแอนนเิ มชั่นแบบ Draw Animation มาใหน้ ักเรียนดู
3. ร่วมกนั อภปิ รายตัวอย่างการ์ตูนแอนนเิ มชัน่ ทีน่ ำมาให้ดู และถามนักเรียนว่า Draw Animation คืออะไร
มีกระบวนการผลิตอย่างไร
ขัน้ สอน
1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 3 คนวางแผนการผลติ ช้ินงาน Draw Animation
2. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ลงมือปฏบิ ัตกิ ารสร้างชิน้ งาน Draw Animation
3. นกั เรียนนำเสนอผลงาน Draw Animation
4. เพ่ือนนักเรียนและครู รว่ มกนั อภิปรายผลงาน
ข้นั สรุป
1. รว่ มกันอภิปรายและสรปุ เกี่ยวกับ Draw Animation
11. ส่ือการเรยี นรู้
1. หอ้ งเรยี นออนไลน์ classroom รายวิชาการสรา้ งภาพเคล่ือนไหว 2 มติ ิ
2. ตัวอย่างผลงาน Draw Animation
3. ใบความรเู้ รื่องแอนนิเมชัน่
12. การวดั ผลประเมนิ ผล
รายการประเมิน วิธีการประเมนิ เครือ่ งมือที่ใช้ เกณฑก์ ารประเมินการผา่ น
ประเมิน
1. มคี วามรูค้ วาม ตรวจผลงาน Draw เกณฑ์การให้ คะแนน 5-6 หมายถงึ ดคี ะแนน 3-4
หมายถึง พอใช้คะแนน 1-2 หมายถงึ
เข้าใจเกี่ยวกับแอนนิ Animation คะแนนผลงาน ปรบั ปรงุ ผ้เู รยี นได้ระดับคุณภาพ พอใช้ ถอื
วา่ ผา่ น
เมชน่ั แผนผังความคดิ
2.การอธิบาย ตรวจผลงานแผนผัง เกณฑ์การให้
เกย่ี วกบั แอนนมิ เชั่น ความคิดเรื่องแอนนิ คะแนนผลงาน
เมช่นั แผนผังความคิด
3. ทักษะการคิด สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ผเู้ รยี นไดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใช้ ข้นึ ไปถือวา่
ผ่าน
วิเคราะห์ พฤติกรรม
4. ทักษะการส่ือสาร สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกต
พฤติกรรม
5. ทกั ษะความคิด สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต
สร้างสรรค์ พฤติกรรม
6. ทักษะการทําา สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต
งานร่วมกบั ผอู้ นื่ พฤติกรรม
7. ทักษะการคิด สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต
อยา่ งมีวิจารณญาณ พฤติกรรม
เกณก์ ารประเมิน
ประเด็นการ 4 ระดับคะแนน 2 1
ประเมนิ 3
องคป์ ระกอบ การใชแ้ นวคดิ การเล่า การใช้แนวคิดการ การใชแ้ นวคดิ การ การใช้แนวคิดการ
การเลา่ เรอ่ื ง เร่อื งอย่างพิถพี ิถันใน เล่าเร่ืองอย่างมากใน เล่าเรอื่ งบางอย่างใน เลา่ เรือ่ งที่ จำกัด
การสรา้ งภาพ (สะท้อน การสร้างภาพ การสร้างภาพ ในการสรา้ งภาพ
ถงึ เรื่องราวบางอยา่ ง (สะท้อนเร่ืองราว (สะท้อนเร่อื งราว หนงั สอื พลกิ
แทนที่จะเปน็ แค่ชดุ ของการเรยี งลำดับ ของการเรียงลำดับ (สะท้อนเร่ืองราว
ภาพเขียนไร้สาระ) มากกวา่ เพียงแค่ชุด บางอยา่ งมากกวา่ ของการเรียงลำดับ
แทนท่จี ะเป็นแค่
ภาพวาดไร้สาระ) ชดุ ภาพไรส้ าระ) ชดุ ภาพเขียนไร้
สาระ)
หน้าท้งั หมดที่ ใชจ้ ำนวนหนา้ ไม่ตำ่ ใช้จำนวนหนา้ 15- ใชจ้ ำนวนหนา้ 10- ใชจ้ ำนวนหนา้ นอ้ ย
ใช้ กว่า 20 หนา้ 20 หนา้ 15 หน้า กวา่ 10 หน้า
ความคิด รวมแนวคิดท่ีเป็น มอี งคป์ ระกอบทีไ่ ม่ มสี ว่ นประกอบทด่ี ี ไม่มีหลักฐานของ
สรา้ งสรรค์ เอกลักษณ์การใช้ ความคดิ
มมุ มองทแ่ี ตกตา่ ง ซ้ำใครหรอื มีการใชส้ ีบา้ ง สรา้ งสรรค์แทบจะ
องค์ประกอบการ ไมใ่ ชส้ ีใด ๆ
ออกแบบและภาพ มี จนิ ตนาการ มกี ารใช้
การใชส้ ที ป่ี ระณีตโดย
ใชส้ ีเพอ่ื สรา้ ง สีอยา่ งประณตี
ความสำคญั ผลงาน
แปลกใหม่ ไมซ่ ำ้ ใคร
การ วัตถุเคล่อื นไหวจะ วตั ถุเคล่ือนไหว วัตถุเคลอ่ื นไหวไม่ วตั ถุเคล่อื นไหว
เคลื่อนไหว เปลีย่ นจากหนา้ หนงึ่ ไป เปล่ยี นจากหน้าหน่ึง ชดั เจนเปลย่ี นจาก เพียงเล็กน้อย
ของวตั ถุ เป็นหน้าถัดไปอย่าง เปน็ หนา้ ถัดไป การ หนา้ หน่งึ ไปอีกหนา้ หรอื ไม่มเี ลย
ชดั เจน การเคล่ือนไหว เคลื่อนไหวบางอยา่ ง การเคล่ือนไหวน้ัน
เปน็ ไปอย่างต่อเนือ่ ง กระโดดจากหน้า ไมต่ ่อเนอื่ งกนั
การใช้เวลาใน ใชเ้ วลาได้ดีในแตล่ ะ ใชเ้ วลาไดด้ ใี นแต่ละ ใชบ้ างชว่ งเวลาได้ดี ไมไ่ ด้ใช้เวลาอยา่ งดี
การสรา้ ง คาบเรียน มุ่งเนน้ ไปท่ี ในแต่ละคาบเรยี น
ชน้ิ งาน การทำให้ชิน้ งานให้ คาบเรียน มักจะเน้น ในแต่ละคาบเรยี น ขาดสมาธิในการ
ทำใหช้ ้นิ งานเสรจ็
เสรจ็ สมบรู ณ์ ไม่ การทำช้นิ งานให้ บางคนมุ่งเนน้ ไปท่ี สมบรู ณ์ มักจะ
วอกแวกขาดสมาธิ รบกวนผู้อื่น
หรอื รบกวนผูอ้ น่ื เสร็จ ไม่วอกแวก การทำชน้ิ งานให้
รบกวนผู้อ่นื เสรจ็ รบกวนผูอ้ ่นื
เปน็ ครงั้ คราว
เกณฑ์การตัดสนิ ระดับคุณภาพ ระดบั คุณภาพดี
คะแนน 16-20 คะแนน หมายถงึ ระดบั คุณภาพ พอใช้
คะแนน 11-15 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง
คะแนน 1-10 คะแนน หมายถึง
แผนการเรยี นรูท้ ี่ 3
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3 สรา้ งงานแอนนเิ มช่ันแบบ StopMotion Animation เวลา 10 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง สร้างงานแอนนเิ มช่ันแบบ Stop Motion animation เวลา 10
ช่วั โมง
ครูผสู้ อน นางสกุณี นิยม คร้ังที่ 2 วนั ที่ เดือน พ.ศ.
1. มาตรฐานการเรยี นรู้ 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแกปัญหาทพ่ี บในชีวติ จรงิ อย่างเป็นขนั้ ตอน
และเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปญั หาได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทนั และมีจรยิ ธรรม
2. ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้
ว 4.2 ม 6.1 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการนําเสนอ และแบ่งปนั ข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และ
วิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีผลต่อการดาํ เนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม
3. สาระสำคญั
Stop Motion เปน็ เทคนคิ การป้ัน หรอื การสรา้ งโมเดลโดยใชด้ นิ น้ำมัน หรือวสั ดุใดๆ กต็ ามในการสร้าง
และทำการขยับทีละนิดเพื่อใหเ้ กิดการเคลอ่ื นไหวและใชก้ ล้องบนั ทึกภาพทุกขณะท่ีทำการขยับหรอื เปลย่ี นแปลง
ตำแหน่งของวัตถจุ ึงทำใหเ้ กิดเปน็ ภาพเคลอ่ื นไหว
4. สาระการเรียนรู้
1. การสรา้ งงานแอนนเิ มชัน่ แบบ Stop Motion animation
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นกั เรียนสามารถสร้างผลงาน แอนนิเมชนั่ แบบ Stop Motion animation
6. ทักษะและกระบวนการทเ่ี ปน็ จุดเนน้
1. ทกั ษะการคิดวิเคราะห์
2. ทกั ษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
3. ทักษะการสื่อสาร
4. ทกั ษะความคดิ สร้างสรรค์
5. ทกั ษะการทาํ งานรว่ มกับผอู้ ื่น
7. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ิตสาธารณะ
8. สาระทน่ี ำมาบูรณาการ ใชก้ ระบวนการเขียน
ภาษาไทย : ใช้กระบวนการเขยี นคำศัพท์เฉพาะท่เี ปน็ ภาษาอังกฤษ
ภาษาองั กฤษ :
9. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
1. กระบวนการเรยี นความรคู้ วามเขา้ ใจ (สงั เกต/ตระหนัก,วางแนวทางปฏิบัติ, ลงมอื ปฏิบัติ, พัฒนาความรู้
ความเขา้ ใจ, สรุป)
2. กระบวนการปฏิบัติ
10. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ตามขน้ั ตอนกระบวนการ)
ขัน้ นำเขา้ สู่บทเรยี น
1. ทบทวนความรู้เดมิ โดยผสู้ อนกระต้นุ ผู้เรยี นด้วยคำถามเก่ยี วกับแอนนิเมช่ัน
2. ผสู้ อนนำตวั อยา่ งการต์ นู แอนนิเมชน่ั แบบ Stop Motion animation มาใหน้ กั เรียนดู
3. ร่วมกันอภปิ รายตัวอย่างการต์ ูนแอนนเิ มชั่นทีน่ ำมาให้ดู และถามนักเรียนว่า Stop Motion animation
คอื อะไร มีกระบวนการผลติ อยา่ งไร
ขนั้ สอน
1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 3 คนวางแผนการผลิตชิ้นงาน Stop Motion animation
2. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ลงมือปฏิบัติการสร้างชิ้นงาน Stop Motion animation
3. นกั เรยี นนำเสนอผลงาน Stop Motion animation
4. เพ่อื นนักเรยี นและครู ร่วมกนั อภิปรายผลงาน
ขนั้ สรุป
1. ร่วมกันอภิปรายและสรุปเก่ยี วกับ Draw Animation
11. สื่อการเรยี นรู้
1. หอ้ งเรียนออนไลน์ classroom รายวชิ าการสร้างภาพเคลื่อนไหว 2 มติ ิ
2. ตวั อย่างผลงาน Stop Motion animation
3. ใบความรเู้ รอ่ื งแอนนิเมชน่ั
12. การวดั ผลประเมินผล
รายการประเมนิ วธิ กี ารประเมนิ เครอ่ื งมือที่ใช้ เกณฑ์การประเมินการผ่าน
ประเมิน
1. มคี วามร้คู วาม ตรวจผลงาน Stop เกณฑ์การให้ คะแนน 5-6 หมายถึง ดคี ะแนน 3-4
เข้าใจเก่ียวกับแอนนิ Motion animation คะแนนผลงาน หมายถึง พอใช้คะแนน 1-2 หมายถงึ
เมชน่ั แผนผงั ความคิด ปรบั ปรุงผเู้ รียนได้ระดับคุณภาพ พอใช้ ถอื
ว่าผ่าน
2.การอธบิ าย ตรวจผลงาน Stop เกณฑ์การให้
เกี่ยวกบั แอนนมิ เช่ัน Motion animation คะแนนผลงาน
แผนผังความคิด
3. ทกั ษะการคิด สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกต ผเู้ รียนได้ระดับคุณภาพพอใช้ ขึน้ ไปถือวา่
ผา่ น
วิเคราะห์ พฤติกรรม
4. ทกั ษะการสือ่ สาร สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต
พฤติกรรม
5. ทกั ษะความคิด สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต
สร้างสรรค์ พฤติกรรม
6. ทักษะการทาํ า สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต
งานร่วมกับผอู้ นื่ พฤติกรรม
7. ทักษะการคิด สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต
อยา่ งมีวิจารณญาณ พฤติกรรม
เกณ์การประเมนิ
ประเดน็ การ 4 ระดบั คะแนน 2 1
ประเมิน 3
องคป์ ระกอบ การใช้แนวคดิ การเลา่ การใช้แนวคดิ การ การใชแ้ นวคดิ การ การใชแ้ นวคิดการ
การเล่าเรือ่ ง เร่อื งอย่างพิถพี ิถนั ใน เลา่ เรื่องอย่างมากใน เลา่ เรือ่ งบางอยา่ งใน เล่าเรือ่ งท่ี จำกัด
การสรา้ งภาพ (สะท้อน การสรา้ งภาพ การสรา้ งภาพ ในการสรา้ งภาพ
ถงึ เรื่องราวบางอยา่ ง (สะท้อนเร่ืองราว (สะท้อนเรอื่ งราว หนงั สือพลกิ
แทนทจ่ี ะเป็นแคช่ ดุ ของการเรยี งลำดบั ของการเรียงลำดบั (สะท้อนเรอื่ งราว
ภาพเขยี นไรส้ าระ) มากกว่าเพยี งแคช่ ุด บางอย่างมากกวา่ ของการเรยี งลำดบั
แทนทีจ่ ะเป็นแค่
ภาพวาดไรส้ าระ) ชุดภาพไร้สาระ) ชุดภาพเขียนไร้
สาระ)
หน้าทั้งหมดที่ ใช้จำนวนหน้าไมต่ ำ่ ใช้จำนวนหนา้ 15- ใชจ้ ำนวนหนา้ 10- ใช้จำนวนหนา้ น้อย
ใช้ กว่า 20 หนา้ 20 หนา้ 15 หน้า กวา่ 10 หนา้
ความคิด รวมแนวคดิ ทเ่ี ป็น มอี งคป์ ระกอบท่ีไม่ มสี ่วนประกอบทด่ี ี ไม่มหี ลักฐานของ
สร้างสรรค์ เอกลักษณ์การใช้ ความคดิ
มมุ มองทแ่ี ตกต่าง ซำ้ ใครหรือ มีการใชส้ บี า้ ง สรา้ งสรรค์แทบจะ
องค์ประกอบการ ไม่ใช้สีใด ๆ
ออกแบบและภาพ มี จนิ ตนาการ มกี ารใช้
การใช้สที ปี่ ระณีตโดย
ใชส้ เี พ่ือสรา้ ง สอี ย่างประณีต
ความสำคัญ ผลงาน
แปลกใหม่ ไมซ่ ำ้ ใคร
การ วัตถุเคล่ือนไหวจะ วตั ถุเคล่ือนไหว วตั ถุเคล่ือนไหวไม่ วตั ถุเคลอื่ นไหว
เคลอื่ นไหว เปล่ยี นจากหน้าหน่งึ ไป เปลย่ี นจากหน้าหน่ึง ชดั เจนเปลยี่ นจาก เพยี งเลก็ น้อย
ของวัตถุ เปน็ หน้าถดั ไปอยา่ ง เปน็ หนา้ ถดั ไป การ หน้าหนึ่งไปอีกหน้า หรอื ไม่มีเลย
ชัดเจน การเคลื่อนไหว เคลื่อนไหวบางอย่าง การเคลือ่ นไหวน้ัน
เปน็ ไปอยา่ งต่อเนือ่ ง กระโดดจากหนา้ ไม่ต่อเน่ืองกนั
การใชเ้ วลาใน ใช้เวลาไดด้ ใี นแต่ละ ใช้เวลาได้ดีในแต่ละ ใชบ้ างช่วงเวลาได้ดี ไม่ไดใ้ ช้เวลาอย่างดี
การสร้าง คาบเรยี น ม่งุ เนน้ ไปท่ี ในแต่ละคาบเรยี น
ชิน้ งาน การทำใหช้ ้ินงานให้ คาบเรียน มกั จะเนน้ ในแต่ละคาบเรยี น ขาดสมาธิในการ
ทำใหช้ ิ้นงานเสร็จ
เสรจ็ สมบรู ณ์ ไม่ การทำชน้ิ งานให้ บางคนมุง่ เนน้ ไปที่ สมบรู ณ์ มักจะ
วอกแวกขาดสมาธิ รบกวนผู้อ่นื
หรือรบกวนผ้อู ่ืน เสรจ็ ไม่วอกแวก การทำช้นิ งานให้
รบกวนผอู้ นื่ เสรจ็ รบกวนผ้อู ่นื
เปน็ ครงั้ คราว
เกณฑ์การตดั สินระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี
คะแนน 16-20 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้
คะแนน 11-15 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง
คะแนน 1-10 คะแนน หมายถึง
แผนการเรียนรทู้ ี่ 4
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 สร้างงานแอนนิเมชน่ั แบบ Computer Animationn เวลา 22 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สรา้ งงานแอนนเิ มชนั่ แบบ Stop Motion animation เวลา 22
ชัว่ โมง
ครูผสู้ อน นางสกุณี นิยม ครง้ั ที่ 4 วนั ที่ เดือน พ.ศ.
1. มาตรฐานการเรียนรู้ 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแกปญั หาท่ีพบในชีวติ จรงิ อย่างเปน็ ขน้ั ตอน
และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้การทำงาน และการแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ รเู้ ท่าทัน และมีจริยธรรม
2. ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้
ว 4.2 ม 6.1 ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการนําเสนอ และแบง่ ปันขอ้ มูลอย่างปลอดภัย มีจรยิ ธรรม และ
วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ ทมี่ ผี ลต่อการดาํ เนนิ ชีวิต อาชีพ สงั คม และวฒั นธรรม
3. สาระสำคัญ
Computer Animation เปน็ การนำคอมพวิ เตอรม์ าช่วยสร้างแอนิเมชน่ั โดยใชโ้ ปรแกรมตา่ งๆ
4. สาระการเรียนรู้
1. การสรา้ งงานแอนนิเมชนั่ แบบ Computer Animation
5. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. นกั เรียนสามารถสรา้ งผลงาน แอนนิเมชั่นแบบ Computer Animation
6. ทกั ษะและกระบวนการที่เป็นจดุ เน้น
1. ทักษะการคดิ วิเคราะห์
2. ทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ
3. ทกั ษะการส่ือสาร
4. ทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์
5. ทกั ษะการทาํ งานร่วมกับผอู้ ่นื
7. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซอ่ื สัตย์สุจรติ
3. มวี นิ ัย
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อย่อู ย่างพอเพียง
6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ิตสาธารณะ
8. สาระทนี่ ำมาบรู ณาการ ใช้กระบวนการเขียน
ภาษาไทย : ใชก้ ระบวนการเขียนคำศพั ทเ์ ฉพาะทเี่ ปน็ ภาษาอังกฤษ
ภาษาองั กฤษ :
9. กระบวนการจดั การเรียนรู้
1. กระบวนการเรียนความรคู้ วามเข้าใจ (สังเกต/ตระหนัก,วางแนวทางปฏิบัติ, ลงมือปฏบิ ัติ, พฒั นาความรู้
ความเขา้ ใจ, สรุป)
2. กระบวนการปฏบิ ัติ
10. กจิ กรรมการเรียนรู้ (ตามขั้นตอนกระบวนการ)
ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ทบทวนความรู้เดิมโดยผสู้ อนกระตุ้นผเู้ รียนด้วยคำถามเกี่ยวกบั แอนนเิ มชนั่
2. ผ้สู อนนำตัวอย่างการ์ตูนแอนนิเมช่นั แบบComputer Animation มาให้นกั เรยี นดู
3. ร่วมกันอภิปรายตัวอยา่ งการ์ตูนแอนนิเมชน่ั ทนี่ ำมาใหด้ ู และถามนักเรียนวา่ Computer Animation คอื
อะไร มีกระบวนการผลิตอย่างไร
ขนั้ สอน
1. ครอู ธิบายและยกตวั อย่างใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัติตามการใช้งานโปรแกรมสรา้ งภาพเคลื่อนไหว 2 มติ ิ
2. นักเรียนฝึกปฏบิ ัติการสร้างภาพเคลอ่ื นไหวรูปแบบต่างๆ
3. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3 คนวางแผนการผลติ ช้นิ งาน Computer Animation
4. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มลงมือปฏิบัติการสรา้ งชน้ิ งาน Computer Animation
5. นกั เรียนนำเสนอผลงาน Computer Animation
6. เพ่อื นนักเรียนและครู ร่วมกันอภิปรายผลงาน
ขนั้ สรปุ
1. รว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ เก่ียวกับ Computer Animation
11. สื่อการเรียนรู้
1. ห้องเรยี นออนไลน์ classroom รายวชิ าการสรา้ งภาพเคล่ือนไหว 2 มิติ
2. ตัวอย่างผลงาน Computer Animation
3. ใบความรู้เร่ืองแอนนิเมช่นั
12. การวัดผลประเมนิ ผล
รายการประเมิน วิธกี ารประเมิน เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์การประเมนิ การผ่าน
ประเมนิ
1. การสร้างผลงาน ตรวจ เกณฑ์การให้ คะแนน 5-6 หมายถงึ ดีคะแนน 3-4
แอนนเิ มชั่นแบบ ผลงาน Computer คะแนนผลงาน หมายถงึ พอใช้คะแนน 1-2 หมายถงึ
Computer Animation แผนผังความคิด ปรบั ปรุงผู้เรยี นไดร้ ะดับคณุ ภาพ พอใช้
Animation ถือวา่ ผ่าน
สังเกตพฤติกรรม
2. ทกั ษะการคิด แบบสังเกต ผ้เู รียนได้ระดบั คุณภาพพอใช้ ข้นึ ไปถือ
วิเคราะห์ สังเกตพฤตกิ รรม พฤติกรรม ว่าผา่ น
3. ทกั ษะการส่ือสาร แบบสงั เกต
พฤติกรรม
4. ทกั ษะความคิด สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต
สร้างสรรค์ พฤติกรรม
5. ทักษะการทําางาน สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต
รว่ มกับผอู้ น่ื พฤติกรรม
6. ทกั ษะการคิดอยา่ งมี สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกต
วิจารณญาณ พฤติกรรม
เกณ์การประเมิน
ประเดน็ การ 4 ระดับคะแนน 2 1
ประเมิน 3
องค์ประกอบ การใชแ้ นวคิดการเลา่ การใชแ้ นวคิดการ การใชแ้ นวคดิ การ การใช้แนวคิดการ
การเลา่ เรือ่ ง เรอื่ งอย่างพิถพี ิถนั ใน เล่าเรือ่ งอย่างมากใน เล่าเรอื่ งบางอยา่ งใน เลา่ เรือ่ งที่ จำกัด
การสร้างภาพ (สะท้อน การสร้างภาพ การสร้างภาพ ในการสรา้ งภาพ
ถงึ เรอ่ื งราวบางอย่าง (สะท้อนเร่อื งราว (สะท้อนเร่อื งราว หนงั สอื พลกิ
แทนที่จะเป็นแค่ชดุ ของการเรยี งลำดับ ของการเรียงลำดับ (สะท้อนเร่ืองราว
ภาพเขยี นไรส้ าระ) มากกวา่ เพยี งแคช่ ดุ บางอยา่ งมากกวา่ ของการเรียงลำดับ
แทนท่จี ะเป็นแค่
ภาพวาดไรส้ าระ) ชดุ ภาพไรส้ าระ) ชดุ ภาพเขียนไร้
สาระ)
หนา้ ทง้ั หมดท่ี ใชจ้ ำนวนหนา้ ไมต่ ำ่ ใชจ้ ำนวนหน้า 15- ใชจ้ ำนวนหนา้ 10- ใชจ้ ำนวนหนา้ นอ้ ย
ใช้ กว่า 20 หนา้ 20 หน้า 15 หน้า กวา่ 10 หน้า
ความคดิ รวมแนวคิดที่เปน็ มอี งคป์ ระกอบท่ีไม่ มสี ว่ นประกอบทด่ี ี ไม่มีหลักฐานของ
สร้างสรรค์ เอกลกั ษณ์การใช้ ความคดิ
มมุ มองทแ่ี ตกต่าง ซ้ำใครหรอื มีการใชส้ ีบา้ ง สรา้ งสรรค์แทบจะ
องคป์ ระกอบการ ไมใ่ ชส้ ีใด ๆ
ออกแบบและภาพ มี จนิ ตนาการ มีการใช้
การใช้สีทปี่ ระณตี โดย
ใช้สเี พ่ือสร้าง สีอยา่ งประณีต
ความสำคญั ผลงาน
แปลกใหม่ ไม่ซำ้ ใคร
การ วัตถุเคล่อื นไหวจะ วตั ถุเคล่ือนไหว วัตถเุ คล่ือนไหวไม่ วตั ถุเคล่อื นไหว
เคลื่อนไหว เปลีย่ นจากหนา้ หน่งึ ไป เปล่ยี นจากหน้าหน่ึง ชัดเจนเปลย่ี นจาก เพียงเล็กน้อย
ของวตั ถุ เป็นหน้าถัดไปอย่าง เปน็ หนา้ ถัดไป การ หนา้ หน่ึงไปอีกหนา้ หรอื ไม่มเี ลย
ชดั เจน การเคล่ือนไหว เคลื่อนไหวบางอยา่ ง การเคลือ่ นไหวน้ัน
เปน็ ไปอย่างต่อเนือ่ ง กระโดดจากหน้า ไมต่ ่อเน่ืองกนั
การใช้เวลาใน ใชเ้ วลาได้ดีในแตล่ ะ ใชเ้ วลาไดด้ ใี นแตล่ ะ ใชบ้ างชว่ งเวลาได้ดี ไมไ่ ด้ใช้เวลาอยา่ งดี
การสรา้ ง คาบเรียน มุ่งเนน้ ไปท่ี ในแต่ละคาบเรยี น
ชน้ิ งาน การทำให้ชิน้ งานให้ คาบเรียน มักจะเน้น ในแตล่ ะคาบเรยี น ขาดสมาธิในการ
ทำใหช้ ้นิ งานเสรจ็
เสรจ็ สมบรู ณ์ ไม่ การทำช้นิ งานให้ บางคนมุ่งเนน้ ไปท่ี สมบรู ณ์ มักจะ
วอกแวกขาดสมาธิ รบกวนผู้อื่น
หรอื รบกวนผูอ้ น่ื เสร็จ ไม่วอกแวก การทำชน้ิ งานให้
รบกวนผู้อ่นื เสร็จ รบกวนผูอ้ ่นื
เปน็ ครั้งคราว
เกณฑ์การตัดสนิ ระดับคุณภาพ ระดบั คุณภาพดี
คะแนน 16-20 คะแนน หมายถงึ ระดบั คุณภาพ พอใช้
คะแนน 11-15 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
คะแนน 1-10 คะแนน หมายถึง
แบบสงั เกตพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ มในชน้ั เรยี น
คำช้ีแจง ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในช้ันเรยี น ตามรายการประเมินและเกณฑ์ที่กำหนด
รายการประเมนิ สรปุ ผลการ
ประเมนิ
รวม
ช่อื -
ที่ สกุล การซกั ถามและร่วมแสดง การตอบ ความร่วมมอื ในการ (9 ระดบั
ความคิดเหน็ คำถาม ทำกจิ กรรม คะ
ไม่
แนน) ผา่ น ผ่าน
3 2 1 321 3 2 1
(ลงชือ่ )...............................................................ผู้ประเมนิ
(........................................................................)
เกณฑ์การให้คะแนน
รายการสงั เกต ระดบั คะแนน
3 (ดี) 2 (ปานกลาง) 1 (พอใช้)
1. การซกั ถามและ มกี ารซักถามปัญหาและรว่ ม มีการซักถามปัญหาและร่วม ไมซ่ ักถามปัญหาและ
ร่วมแสดงความ แสดงความคิดเหน็ อย่าง แสดงความคดิ เห็นเปน็ ครงั้ ไม่แสดงความคดิ เห็น
คิดเห็น สม่ำเสมอ คราว
2. การตอบคำถาม ตอบคำถามอย่างสมำ่ เสมอ ตอบคำถามแต่ไมส่ ม่ำเสมอ ไมม่ ีการตอบคำถาม
3. ความร่วมมือใน ให้ความรว่ มมือในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไมใ่ หค้ วามรว่ มมือใน
การทำกิจกรรม กิจกรรมท่ีครูกำหนดอย่าง กิจกรรมท่ีครกู ำหนดเป็น การทำกิจกรรมท่ีครู
สม่ำเสมอ ครั้งคราว กำหนด
ระดับคณุ ภาพ ระดบั
ดี
คะแนนรวม พอใช้
8-9 ปรบั ปรงุ
5-7
3-4
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน มีระดับคุณภาพ พอใช้ ขนึ้ ไป
ไม่ผ่าน มีระดับคุณภาพ ปรับปรงุ