The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบรายงานผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จรณชัย_เวียงสระ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แบบรายงานผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จรณชัย_เวียงสระ

แบบรายงานผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จรณชัย_เวียงสระ

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

หนา ก

คำนำ

เอกสารเลมนี้เปนรายงานการดำเนินงานตามแบบเสนอขอรับการพิจารณาการประกวดผลการปฏิบัติ
ที่เปนเลิศ (Best Practice) พ.ศ.256๕ โดยขาพเจาไดจัดทำขึ้น เพื่อเปนขอมูลสำหรับคณะกรรมการ
ผูทรงคุณวุฒิในการใชป ระกอบการพิจารณาคัดเลือก ซึ่งขาพเจาไดนำเสนอผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best
Practice) ดวยความมุงมั่นตั้งใจที่จะพัฒนาศักยภาพผูเรียนสูความเปนเลิศ ใหเปนทั้งคนดี คนเกง มีความสุข
ในการเรียนรู โดยสรางและพัฒนาสื่อเทคโนโลยี OBEC Content Center ดวยการจัดทำนวัตกรรม “การ
พัฒนาการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรดวยนวัตกรรม “การศึกษาชั้นเรียน” (Lesson Study) และวิธีการแบบ
เปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model” บนพื้นฐานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
การจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) พรอมทั้งหลักสูตรฐานสมรรถนะสูการพัฒนาผูเรียนในศตวรรษที่
21 โดยไดแนบเอกสารอางอิงในภาคผนวก เพื่อเปนขอมูลในการพิจารณาของคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ
ไวอยางครบถว น

ขาพเจา หวงั เปน อยา งยิ่งวา เอกสารเลมนี้จะเปนประโยชนตอ คณะกรรมการผทู รงคณุ วุฒิ การคัดเลือก
บุคลากรเพื่อประกวดผลการปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practice) พ.ศ.256๕ ขอขอบพระคุณคณะกรรมการ
ผทู รงคุณวุฒิ ไดศึกษาเอกสารเลมน้จี นครบถวนบรบิ ูรณ

นายจรณชัย ศรีประดษิ ฐ
ตำแหนง ครโู รงเรยี นเวียงสระ จ.สรุ าษฎรธ านี

การพฒั นาการจัดการเรียนรคู ณติ ศาสตรดวยนวตั กรรม “การศึกษาช้ันเรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรยี นเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

สารบญั หนา ข
คำนำ
สารบัญ หนา
ความเปนมาและความสำคญั ของปญหา
วตั ถุประสงค ก
เปา หมาย ข
ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน ๑
ผลการดำเนินงาน
บทเรยี นที่ไดรับ 2
ปจ จัยแหงความสำเร็จ 2
2
บรรณานกุ รม 7
8
ภาคผนวก 9



การพัฒนาการจัดการเรยี นรคู ณติ ศาสตรดวยนวัตกรรม “การศกึ ษาชั้นเรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร โรงเรยี นเวยี งสระ สรุ าษฎรธ านี

แบบรายงานผลการปฏิบัติทีเ่ ปนเลศิ (Best Practice)

ชื่อผลงาน การพัฒนาการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรดวยนวัตกรรม “การศึกษาชั้นเรียน” (Lesson Study)
และวิธีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model .
ผูน ำเสนอผลงาน นายจรณชัย ศรปี ระดิษฐ .
โทรศพั ทมอื ถอื 0๖๒ - ๙๖๕๒๕๒๙ E–mail [email protected] .
ชอ่ื สถานศึกษา โรงเรียนเวยี งสระ .
ตำบล/แขวง เวียงสระ อำเภอ/เขต เวียงสระ จังหวัด สรุ าษฎรธานี สพม.สฎชพ .
รหัสไปรษณยี  84190 โทรศพั ท 077 – 361996 โทรสาร 077 – 361997 .
สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสุราษฎรธ านี ชุมพร .
ประเภทผลงาน
 ครผู ใู ชสอ่ื เทคโนโลยรี ะบบ OBEC Content Center
 ครูผูสรางและพฒั นาส่อื เทคโนโลยีระบบ OBEC Content Center

ความเปน มาและความสำคัญของปญหา
สถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด – ๑๙) เปนเหตปุ จจยั สำคัญท่ีทำให

เกิดการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทางการศึกษา ทำใหมีการพัฒนารูปแบบนวัตกรรมที่สำหรับการจัดการเรียน
การสอนในแตละพื้นที่ที่เหมาะสมกับบริบทนั้น ๆ ซึ่งจำเปนอยางยิ่งที่จะตองพัฒนานวัตกรรมใหตอบสนอง
กับความตองการของทุกภาคสวนที่มีสวนเกี่ยวของ ซึ่งในการพัฒนานวัตกรรมก็จะไดรับทั้งความสุขและ
ประสบความสำเรจ็ กับการเรยี นการสอนในสถานการณด งั กลาว และตองไดร บั ผลกระทบนอยทสี่ ดุ ท่สี ำคัญนกั เรยี น
ที่จะตองไดรับการจัดการเรียนการสอนที่ไดทั้งเนื้อหาวิชาการ ทักษะตาง ๆ บนพื้นฐานของการเรียนวิถีใหม
อยางมคี วามสุข

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรมีความสำคัญตอการเรียนรู ซึ่งในชวงที่ผานมาพบวา นักเรียน
ขาดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร เมื่อศึกษาในสาระดังกลาว พบวาเนนการประยุกตใชความรู
ในการแกปญหา แสดงถึงการขาดความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรอยางมีกระบวนการของนักเรียน
ปญ หาดังกลา วเปนผลจากการจัดกิจกรรมการเรยี นรูของครู จึงจำเปน ตอ งเปลี่ยนวัฒนธรรมในชั้นเรียนจากการเนน
เฉพาะผลลัพธสูการเนนทั้งกระบวนการและผลลัพธ โดยเริ่มจากการใชนวัตกรรมการสอนที่เนนการศึกษา
การแกปญหาของนักเรียน (ไมตรี อินประสิทธ์ิ, ๒๕๕๘) ดังหลักการและแนวคิดของรองศาสตราจารย ดร.ไมตรี
อินทรประสิทธิ์ ไดพัฒนาแนวทางการสอนแบบใหมซึ่งเรียกวา วิธีการแบบเปด (Open Approach) มาใช
ในชั้นเรียนคณิตศาสตรของไทยประกอบดวย ๔ ขั้นตอน ไดแก การนำเสนอปญหาปลายเปด การเรียนรูดวยตนเอง
ของนักเรียน การอภิปรายและเปรียบเทียบรวมทั้งชั้น และการสรุป โดยการเชื่อมโยงแนวคิดทางคณิตศาสตร
ของนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน (ไมตรี อินทรประสิทธ์ิ, ๒๕๕๗) การใชการศึกษาชั้นเรียนรวมกับวิธีการแบบเปด
ในการปฏิบัติการสอนคณิตศาสตร สามารถเปลี่ยนแนวทางการสอนแบบเดิมเปนแนวทางการสอนแบบใหมที่เนน
ใหนักเรียนไดแกปญหาดวยตนเอง ทำใหครูผูสอนตองการเปลี่ยนแปลงการสอนแบบเดิมของตนเองเปนการสอน
แบบใหมจึงนำการศึกษาชัน้ เรยี นและวิธีการแบบเปดไปใชในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู

จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวิชา ทักษะคณิตศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ โรงเรียนเวียงสระ
สุราษฎรธ านี ในสถานการณป จจบุ ัน พบวานักเรียนรอ ยละ ๘๐ ขาดทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ซ่ึงจากเดิม

การพฒั นาการจดั การเรยี นรูค ณติ ศาสตรดว ยนวัตกรรม “การศกึ ษาช้ันเรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนา ที่

01นายจรณชัย ศรปี ระดิษฐ กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นเวียงสระ สรุ าษฎรธ านี

ใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ บบ Passive Learning ซึ่งทำใหนกั เรียนไมเกิดกระบวนการและแนวคิดทางคณิตศาสตร
ที่หลากหลาย โดยสวนใหญครสู อนอยางไรนกั เรียนกจ็ ะคิดตามที่ครูสอน ทำใหครูผูสอนไมเห็นถึงธรรมชาติแนวคดิ
ของนักเรียน และนกั เรียนก็ไมกลา ทจี่ ะคิดนอกกรอบ ไมกลา ที่จะนำเสนอแนวคดิ ของตนเอง พรอมทง้ั ไมมีการลงมือ
แกปญหาดวยตนเอง ทำใหนักเรียนขาดทักษะกระบวนการดังกลาว นอกจากนักเรียนแลวครูก็ไมไดมารวมกัน
แลกเปลี่ยนเรียนรูทั้งกอนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูของตนเอง อีกทั้งยังขาดสื่อการสอนที่มีคุณภาพ
ความสมบูรณแบบ ความนาสนใจและความสอดคลองกับบริบทในการเรียนของนักเรียน จึงทำใหขาดแรงจูงใจ
ที่จะดึงดดู ความสนใจของนกั เรียน

ดวยเหตุผลขางตนขาพเจา จึงเกิดความสนใจที่จะนำนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study)
โดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการแบบเปด (Open Approach) มาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
รายวิชา ทักษะคณิตศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่เรียกวา “M – WSRA Model” ซึ่งเปนนวัตกรรม
หรือรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานหรือหลายรูปแบบ (Blended) ที่สามารถใชกับนักเรียนได
ทั้งการเรียนแบบปกติในชั้นเรียน (On - site) และการเรียนดวยการแสกน QR – Code ที่เปนวีดีโอการสอน
เรื่องตาง ๆ ในแตละเรื่องไวใหนักเรียนกลับมาเรียนหรือทบทวนยอนหลังไดอีกดวย ซึ่งเปนเรียนเสริมทักษะการ
แกปญหาทางคณิตศาสตรที่นักเรียนใชเรียนผาน OBEC Content Center นักเรียนสามารถเขาไปเปดเอกสาร
ท่ีเปนบทเรยี นอิเล็กทรอนกิ สไดต ลอดเวลา
วัตถุประสงค

1. เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรม “M – WSRA Model” ในการจัดการเรียนรู
รายวิชา ทักษะคณิตศาสตร ระดับช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 4 โรงเรยี นเวยี งสระ สรุ าษฎรธ านี

2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนเวียงสระ สุราษฎรธานี ที่มีตอ
นวตั กรรม “M – WSRA Model”
เปา หมาย

นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 4 หอ ง 2 จำนวน 45 คน โรงเรยี นเวียงสระ สุราษฎรธ านี ไดพ ัฒนา
ทักษะการแกปญหาทางคณิตศาสตร ดวยบทเรียนเสริมการแกปญหาทางคณิตศาสตร ผานการจัดกิจกรรม
การเรียนรดู ว ยนวัตกรรม “M – WSRA Model” และความพงึ พอใจของนกั เรยี นสูงกวารอ ยละ 80 ข้ึนไป
ขน้ั ตอนการดำเนินงาน

กระบวนการพฒั นานวัตกรรม มีดงั ตอไปน้ี
๑. สภาพปญหากอนการพฒั นานวตั กรรม
กอนการนำนวัตกรรม “M – WSRA Model” มาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวิชา ทักษะ

คณิตศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนเวียงสระ สุราษฎรธานี ในสถานการณปจจุบัน พบวานักเรียน
รอยละ ๘๐ ขาดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ซึ่งจากเดิมใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบ Passive
Learning ซึ่งทำใหนักเรียนไมเกิดกระบวนการและแนวคิดทางคณิตศาสตรที่หลากหลาย โดยสวนใหญครูสอน
อยา งไรนักเรยี นกจ็ ะคิดตามที่ครสู อน ทำใหค รูผสู อนไมเหน็ ถึงธรรมชาติแนวคิดของนักเรยี น และนักเรยี นก็ไมกลา
ที่จะคิดนอกกรอบ ไมกลาที่จะนำเสนอแนวคิดของตนเอง พรอมทั้งไมมีการลงมือแกปญหาดวยตนเอง ทำให
นักเรียนขาดทักษะกระบวนการดังกลาว นอกจากนักเรียนแลว ครูก็ไมไดมารวมกันแลกเปลี่ยนเรียนรูทั้งกอ นและ
หลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรูของตนเอง อีกทง้ั ยังขาดสื่อการสอนท่ีมีคุณภาพ ความสมบูรณแ บบ ความนาสนใจ

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด ว ยนวัตกรรม “การศึกษาชนั้ เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนา ท่ี

02นายจรณชัย ศรปี ระดิษฐ กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สรุ าษฎรธานี

และความสอดคลองกับบริบทในการเรียนของนักเรียน จึงทำใหขาดแรงจูงใจที่จะดึงดูดความสนใจของนักเรียน
เพราะนกั เรียนบางคนไมเขา ใจตรงไหนก็ไมก ลาที่จะถามครูโดยตรง บางคนมปี ญ หาเร่ืองความเสถียรของสัญญาณ
อนิ เตอรเ น็ต บางคนไมส ามรถเขา เรยี นแบบถา ยทอดสด (Online) ได

๒. การออกแบบนวตั กรรมเพือ่ การพฒั นานวตั กรรม
การศึกษาชั้นเรียน เปนนวัตกรรมที่เปนรูปแบบหลักในการพฒั นาวิชาชีพครูที่ไดรับการพฒั นาอยาง

ตอเนื่องและใชในประเทศญี่ปุนมาเปนเวลานานมากกวารอยป (Shimizu, ๒๐๐๖) และไดรับการยอมรับวาเปน
นวัตกรรมหนงึ่ ทม่ี ีประสิทธภิ าพในการปรบั ปรงุ และพฒั นาการสอนคณิตศาสตร (Lewis & Berry, ๒๐๐๖) สำหรับ
ในประเทศไทยนั้นไดนำมาใชครั้งแรกในป ๒๕๔๕ โดย รศ.ดร.ไมตรี อินทรประสิทธิ์ และคณะ ซึ่งนำมาใชในวิชา
ฝกสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาควิชาการศึกษามัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงโลกทัศนของนักศึกษาปฏิบัติการสอนสาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา เพื่อปรับปรุง
คุณภาพการเรียนการสอนของครู ซึ่งประกอบไปดวย ๓ ขั้นตอน ดังนี้ (ไมตรี อินทรประสิทธิ์, ๒๕๕๗) ๑. การ
สรางแผนการจัดการเรียนรูรวมกัน ๒. การสังเกตการสอนรวมกัน และ ๓. การสะทอนผลบทเรียนหลังการสอน
รวมกัน

วธิ ีการแบบเปด (Open Approach) เปนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู ใ่ี หค วามสำคัญกบั กระบวนการ
เรียนรูสวนบุคคลของนักเรียน โดยคำนึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ความสามารถในการหาแนวทาง
การแกปญหาที่แตกตางกัน และสามารถนำแนวทางดังกลาวไปใชในสถานการณอื่น ๆ ได โดยครูตองเรียนรู
แนวคิดของนักเรียนอยางละเอียด และหาวิธีการสนับสนุนใหนักเรียนพัฒนาตนเองตามกระบวนการเรียนรู
ของตนเองโดยใชสถานการณปญหาปลายเปด (Open – Ended Problem) เปนตัวชวยกระตุนใหนักเรียนไดคดิ
จากสถานการณป ญ หาทีก่ ำหนดใหน ักเรยี นไดเปด ความคดิ ของตนเองทง้ั คดิ กวา งคดิ หลากหลายและคิดสรางสรรค
(ไมตรี อินประสิทธิ์และคณะ, ๒๕๕๘, ๒๓ – ๒๖, Isoda, ๒๐๑๑) การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชวิธีการแบบ
เปดแบงเปน ๔ ขั้นตอน ตามแนวคิดของ Inprasitha (๒๐๑๐) ดังนี้ ๑. การนำเสนอปญหาปลายเปด ๒. การ
เรียนรูดวยตนเองของนักเรียน ๓. การอภิปรายทั้งชั้นและการเปรียบเทียบ และ ๔. การสรุปโดยการเชื่อมโยง
แนวคิดของนักเรียนในชนั้ เรยี นที่เกดิ ขน้ึ

จากหลักการและทฤษฎีดังกลาว ขาพเจาจึงเกิดความสนใจที่จะนำนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน
(Lesson Study) โดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการแบบเปด (Open Approach) มาใชในการจัด
กิจกรรมการเรียนรูรายวิชา ทักษะคณิตศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภายใตชือ่ นวัตกรรมวา “M – WSRA
Model” ซง่ึ ไดนำนวัตกรรมการศกึ ษาชั้นเรยี น (Lesson Study) โดยใชการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูดว ยวธิ กี ารแบบ
เปด (Open Approach) มาพัฒนาและตอยอดในสวนของสถานการณปญหาท่มี คี วามสอดคลอ งกบั ชีวติ ประจำวนั
ของนักเรียน และมีความทาทาย มีความซับซอนในการแกปญหาเพื่อใหนักเรียนไดแสดงแนวคิดในการแกปญหา
ไดอยา งครบถวนท้ังดานความรูแ ละทักษะกระบวนการ พรอมทัง้ ไดพ ัฒนาสื่อการจดั การเรียนรทู ีม่ คี วามสอดคลอง
กับสถานการณปจจุบัน ตอบสนองความตองการของนักเรียนและมผี ลกระทบนอยที่สุด โดยการใชบทเรียนเสริม
ทักษะการแกปญหาซึ่งเปน นวตั กรรมหรือรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานหรือหลายรูปแบบ (Blended)
ทส่ี ามารถใชกบั นักเรียนไดท้งั การเรียนแบบปกติในชัน้ เรยี น (On - site) และการเรยี นดวยการแสกน QR – Code
ที่เปนวีดีโอการสอนเรื่องตาง ๆ ในแตละเรื่องไวใหนักเรียนกลับมาเรียนหรือทบทวนยอนหลังไดอีกดวย ซึ่งเปน
เรียนเสริมทักษะการแกปญหาทางคณิตศาสตรทีน่ ักเรียนใชเรียนผาน OBEC Content Center นักเรียนสามารถ
เขาไปเปดเอกสารที่เปนบทเรียนอิเล็กทรอนิกสไดตลอดเวลาที่สำคัญกอนการนำสื่อดังกลาวไปใชในการจัดการ
เรียนรูครผู ูสอนยังไดม กี ารแลกเปล่ียนเรียนรู พูดคยุ พรอ มท้ังตรวจสอบคุณภาพของสอื่ การสอนเปนอยา งดี โดยมี
รปู แบบนวัตกรรมดังน้ี

การพัฒนาการจัดการเรยี นรคู ณติ ศาสตรดวยนวตั กรรม “การศึกษาชน้ั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนา ที่

03นายจรณชัย ศรปี ระดิษฐ กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร โรงเรยี นเวยี งสระ สรุ าษฎรธานี

ภาพท่ี ๑ สัญลักษณแ ละความหมายของ “M – WSRA Model”

การพัฒนาการจดั การเรียนรูค ณติ ศาสตรด ว ยนวัตกรรม “การศึกษาชน้ั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนาท่ี

04นายจรณชัย ศรปี ระดิษฐ กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธานี

จากภาพที่ 1 ความหมายของคำวา “M – WSRA Model” ซึ่ง M มาจากคำวา Mathematics
หมายถึง คณติ ศาสตร และ WSRA มาจากช่อื ยอของโรงเรยี น และอีกความหมายคือ

“W” มาจากคำวา Wisdom หมายถึง นกั เรียนมคี วามรอบรแู ละรอบคอบในการเรยี นรู
“S” มาจากคำวา Student center หมายถึง ยึดผเู รยี นเปนศนู ยก ลางเนนผเู รียนเปน สำคญั
“R” มาจากคำวา Responsible หมายถึง นักเรยี นมีความรับผิดชอบงานท่ไี ดรับมอบหมาย
พรอ มทงั้ รูจกั หนา ท่ขี องตนเอง
“A” มาจากคำวา Applying knowledge หมายถึง นักเรียนสามารถนำความรูที่ไดจาก
การเรียนไปประยุกตใชในชีวติ ประจำวันได
ซึ่งมีความหมายวา การจัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง เนนผูเรียน
เปนสำคัญเพื่อใหนักเรียนมีความรอบรูและรอบคอบในการเรียนรู นักเรียนมีความรับผิดชอบงานที่ไดรับ
มอบหมาย พรอมทัง้ รูจ ักหนาที่ของตนเองและที่สำคัญนักเรียนสามารถนำความรูที่ไดจากการเรียนไปประยกุ ตใ ช
ในชีวิตประจำวันได ในการนำนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) โดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ดวยวิธีการแบบเปด (Open Approach) มาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู และนักเรียนใชในการเรียนผาน
OBEC Content Center ซึ่งดำเนินการดวยวงจร PDCA ขั้นรวมกันวางแผน (Plan) ขั้นรวมกันปฏิบัติงาน (Do)
ขั้นรวมกันประเมิน (Check) และขั้นรวมกันปรับปรุง (Act) ดังนั้นความหมายโดยรวมของคำวา “M – WSRA
Model” คือ การพัฒนาการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรดวยนวัตกรรม “การศึกษาชั้นเรียน” (Lesson Study)
และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model นำมาใชในการจัดการเรียนรูร ายวชิ า ทักษะ
คณิตศาสตร ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 4 โรงเรียนเวียงสระ สุราษฎรธ านี
๓. ขั้นตอนการดำเนนิ งานพฒั นานวัตกรรม
ขั้นรวมกันวางแผน (Plan) : วิเคราะหโครงสรางหลักสูตรเพื่อใหสอดคลองกับกิจกรรมการ
เรียนรูโ ดยใชนวตั กรรมการศกึ ษาช้ันเรยี นและวิธีการแบบเปด วางแผนเกีย่ วกับแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู
วิชาคณิตศาสตรโดยใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด เริ่มวางแผนจากปญหาที่พบจากการ
จัดกิจกรรมการเรียนรูในปการศึกษากอนหนา แลวนำปญหามาพูดคุยกันเพื่อวางแนวทางในการจัดกิจกรรม
การเรียนรูในปการศึกษาตอไป ออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับแผนการจัดการเรียนรูและ
กิจกรรมการเรียนรูโดยใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวธิ ีการแบบเปด พรอมทั้งสรางบทเรียนเสริมทกั ษะ
การแกปญหาโดยใหผูเชี่ยวชาญไดประเมินประสิทธิภาพของสื่อ จากนั้นอัพโหลดเปนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส
ผาน OBEC Content Center
ขั้นรวมกันปฏิบัติงาน (Do) แนะนำการเรียนรูโดยใชบทเรียนอิเล็กทรอนิกสผาน OBEC
Content Center ใหกับนักเรียน จากนั้นนำชุดกิจกรรมการเรียนรู (แผนการจัดการเรียนรู บทเรียนเสริม
ทักษะการแกป ญหาและกจิ กรรมการเรียนรู) ไปใชก บั นักเรียนในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 พรอมดวยคณะครทู ่ีรวม
สังเกตชั้นเรียน เพื่อศึกษาแนวคิดที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และติดตามการเรียนรูของนักเรียนที่ใชการเรียนรูแบบ
On – Hand ผานทางโทรศัพท/ชองทางอื่น ๆ กรณีที่นักเรียนติดเชื้อไวรัสโคโรนาแลวไมสามารถมาเรียน
ทโี่ รงเรียนได
ขน้ั รว มกนั ประเมนิ (Check) ดำเนินการประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรตู ามกระบวนการ
สอนคณิตศาสตรโดยการใชก ระบวนการ Lesson study จากการสงงานผานบทเรยี นเสรมิ ทกั ษะการแกปญหา
แบบบันทึกกิจกรรม แบบประเมินความพึงพอใจและแบบสอบถามความคิดเห็น หลังจากนั้นครูผูเกี่ยวของ
รวมกันสะทอนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อวิเคราะหถึงแนวคิดที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน ขอดีและขอควร
ปรบั ปรุงของการจดั กิจกรรมการเรียนรู

การพฒั นาการจดั การเรียนรูค ณติ ศาสตรด วยนวตั กรรม “การศกึ ษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนา ท่ี

05นายจรณชัย ศรปี ระดิษฐ กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สรุ าษฎรธานี

ขั้นรวมกันปรับปรุง (Act) หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูแลว จะมีการสะทอนผลระหวาง
ครูผูสอน ครูผูสังเกตการณสอน หัวหนาฝาย หรือรองผูอำนวยแลวแตโอกาส การสะทอนจะดำเนินการทันที
หลังจากมีการสอน เพ่อื พูดคยุ ถึงขัน้ ตอนการจดั การเรยี นรู แนวคิดของนักเรียน วาในคาบเรยี นน้นี ักเรียนบรรลุ
วัตถุประสงคห รือไม ถา บรรลจุ ุดประสงคชุดกิจกรรมการเรยี นรนู ี้ถือวา สามารถนำไปใชใ นปถ ดั ไปได ถาไมบรรลุ
จุดประสงค ก็จะมีการพูดคุยแกไขเพื่อใชในครั้งตอไป เมื่อคณะกรรมการฝายประเมินผล สรุปผลการ
ดำเนินงาน ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ กลุมงานผูรับผิดชอบ จึงไดนำสารสนเทศที่ไดมาปรับปรุง
พัฒนาการดำเนินงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งถากิจกรรมการเรียนรูมีขอบกพรองก็จะทำการปรับ
กิจกรรมการเรียนรู ตอดว ยการปรับแผนการจัดการเรยี นรู สูก ารปรับปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษา

ภาพท่ี 2 คมู อื การผลติ สอื่ และนวัตกรรม “บทเรยี นเสรมิ ทกั ษะการแกปญ หาฯ”
ขั้นตอนการประเมินประสิทธิภาพของบทเรยี นเสรมิ ทักษะการแกป ญ หาฯ

ศึกษาทักษะการแกปญหา เรื่อง คูอันดับและกราฟของคูอันดับ กอนการใชชุดกิจกรรม
การเรียนรู และหลงั การใชชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ดังน้ี

1) หาคาสถิตพิ ้ืนฐาน โดยหาคา เฉลยี่ เลขคณิต และสว นเบย่ี งเบนมาตรฐานของคะแนน
จากการทำแบบประเมินทักษะการแกโจทยปญหา กอนการใชชุดกิจกรรมการเรียนรู และหลังการใชชุด
กจิ กรรมการเรยี นรู

2) เปรียบเทียบความแตกตา งของคะแนนจากการทำแบบประเมินทักษะการแกปญหา
เรื่อง คูอันดบั และกราฟของคอู นั ดับ กอนการใชชุดกิจกรรมการเรียนรู และหลงั การใชชุดกิจกรรมการเรียนรู

3) หาคาความพึงพอใจของนักเรยี นทมี่ ีตอ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู
ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรูตามเกณฑ
รอยละ 80 ขึ้นไป คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู
โดยใชชดุ กจิ กรรมการเรียนรู ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4

การพัฒนาการจดั การเรยี นรคู ณติ ศาสตรดว ยนวตั กรรม “การศกึ ษาชัน้ เรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนา ที่

06นายจรณชยั ศรปี ระดิษฐ กลุม สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

รายการ คาเฉลี่ย S.D. ระดบั
ความพึงพอใจ
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู สามารถทำใหทักษะการแกปญหา
ของนกั เรียนดขี ึน้ 4.48 0.82 มาก

2. ความชัดเจนในการอธิบายเน้อื หา 4.44 0.65 มาก
3. การเรียบเรยี งเนือ้ หาที่เขา ใจงาย 4.12 0.88 มาก
4. คำชี้แจงการใชชุดกิจกรรมการเรียนรู มีความชัดเจน
เขา ใจงาย 4.16 0.94 มาก

5. ชดุ กิจกรรมการเรียนรู มคี วามเหมาะสมตอ การใชง าน 4.56 0.71 มากทส่ี ุด
6. ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู มสี สี นั สวยงาม นา สนใจ 4.64 0.70 มากท่สี ดุ
7. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู มีข้นั ตอนการใชไมซบั ซอน 4.36 0.91 มาก
8. ชุดกิจกรรมการเรยี นรู มีความปลอดภยั ในการใชง าน 4.20 0.96 มาก
9. ชุดกจิ กรรมการเรียนรู มีเนือ้ หาสอดคลอ งกับบทเรียน 4.32 0.95 มาก
10. เนื้อหาในชุดกิจกรรมการเรียนรูมีสาระและประโยชน
สามารถนำไปประยกุ ตใชงานไดใ นชีวติ ประจำวัน 4.32 0.80 มาก

เฉลีย่ 4.36 0.17 มาก

จากตารางผลการวเิ คราะหค วามพงึ พอใจของนักเรยี นท่มี ีตอ การจัดการเรยี นรูโดยใชชุดกิจกรรม
การเรียนรู ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 พบวา นักเรียนสวนใหญมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( x = 4.36)
รอ ยละ 87.20 สรปุ ไดว า นกั เรียนในระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 โรงเรียนเวยี งสระ สรุ าษฎรธานี มีความพงึ พอใจ
ตอการจดั การเรียนรโู ดยใชช ดุ กิจกรรมการเรยี นรู

ผลการดำเนินงาน
การพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนรูด วยนวัตกรรม “M – WSRA Model” ในการจดั การเรียนรรู ายวิชา

ทักษะคณิตศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนเวียงสระ สุราษฎรธานี พบวา นักเรียนรอยละ ๘๕.๒๕
มคี ะแนนเฉลยี่ สงู ข้นึ ในรายวิชาคณติ ศาสตร นกั เรียนมีความพึงพอใจตอนวัตกรรม “M – WSRA Model” รอยละ
87.20 ซงึ่ ตอบโจทยต อ ความพรอ มในการเรียนของนักเรียนในยุคสถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั
โคโรนา ทั้งการเรียนแบบปกติในชั้นเรียน (On - site) และการเรียนดวยการแสกน QR – Code ที่เปนวีดีโอ
การสอนเรื่องตาง ๆ ในแตละเรื่องไวใหนักเรียนกลับมาเรียนหรือทบทวนยอนหลังไดอีกดวย ซึ่งเปนเรียนเสริม
ทักษะการแกปญหาทางคณิตศาสตรที่นักเรียนใชเรียนผาน OBEC Content Center นักเรียนสามารถเขาไปเปด
เอกสารที่เปนบทเรียนอิเล็กทรอนิกสไดตลอดเวลา อีกทั้งนักเรียนมีทัศนคติที่ดีตอการเรียนรูในรายวิชาดังกลาว
นักเรียนใหความสนใจกับการจัดกิจกรรมการเรียนรมู ากข้ึน นักเรยี นสนกุ กับการลงมอื แกปญหาดวยตนเอง สงผล
ใหนักเรียนมีทักษะกระบวนการคิด แกปญหา การสื่อสารและการนำเสนอเพิ่มมากขึ้น ทำใหผูป กครองประทับใจ
ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูข องครูและใหค วามสนใจ พรอมท้ังสนบั สนนุ บตุ รหลานของตนเองในดา นตา ง ๆ มาก
ยิ่งขึ้น ซึ่งครูก็มีแรงผลักดันในการสรางสรรค/ออกแบบกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายมากขึ้นโดยมีผูบริหาร
สถานศกึ ษาเปน ผสู งเสริมและสนบั สนุนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรขู องครู

การพฒั นาการจัดการเรยี นรูค ณติ ศาสตรดว ยนวตั กรรม “การศกึ ษาชน้ั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนา ท่ี

07นายจรณชยั ศรปี ระดิษฐ กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนเวียงสระ สุราษฎรธ านี

บทเรยี นทไี่ ดร บั
จากการดำเนินการดังกลาวขางตนจะเห็นไดวา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรู

เรื่อง ตรรกศาสตรเบื้องตน ซึ่งเปนบทเรียนอิเล็กทรอนิกสผาน OBEC Content Center สำหรับนักเรียน
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 4 โรงเรยี นเวียงสระ สรุ าษฎรธ านี รอยละ ๘๕.๒๕ ซ่ึงอยูในระดับมากจึงสามารถนำไปใช
ในการจัดการเรียนการสอนไดเพื่อสงเสริมใหนักเรียนสามารถเรียนรูทักษะการแกปญหา เรื่อง ตรรกศาสตร
เบอื้ งตน ไดตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพของตนเอง สามารถนำไปประยกุ ตใชในชวี ติ ประจำวันได ตลอดจน
ทำใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ซึ่งสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4
แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 ที่วา การจัดการศึกษาตองยึดหลกั วาผูเรียน ทุกคนมีความสามารถเรยี นรูแ ละ
พัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถ
พฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ

ภาพที่ 3 การใชนวตั กรรม “บทเรียนอเิ ล็กทรอนิกสผา น OBEC Content Center” ของนกั เรยี น
ขอ เสนอแนะทัว่ ไป

1) ผูสอนควรชี้แจงใหน ักเรียนเขา ใจถงึ วธิ ีการ หลักการ ขน้ั ตอนตา ง ๆ ของการเรียนรูโดยใชแบบ
ฝก ในการแกป ญ หาทางคณิตศาสตรตามขั้นตอน

2) เมื่อนำแบบวัดทักษะไปใชควรใหน ักเรียนทราบผลการสอบอยางรวดเร็วเพื่อครจู ะไดสอนซอ ม
เสรมิ และชวยเหลือนกั เรยี นท่มี ีขอ บกพรองทางการเรียน

3) ในการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูผูสอนจะตองอธิบายวิธีการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูอยาง
ชัดเจนและยำ้ ใหนักเรยี นตระหนักถึงความซื่อสัตยของตนเอง อีกทั้งตองมีการกระตุนใหนกั เรยี นตั้งใจอานและ
ถามเม่ือมขี อสงสัย

4) ครูผูสอนควรมีการพัฒนาชุดฝกทักษะใหนาสนใจอยูเสมอเพื่อใหนักเรียนเกิดความสนใจ
ใฝเรยี นใฝรู

ขอ เสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั ตอไป
1) ควรมกี ารพัฒนาชดุ ฝก ทกั ษะคณิตศาสตรท ่หี ลากหลายในเน้อื หาอืน่ ๆ
2) ควรศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่มีผลตอขอบกพรองทางการเรียนคณิตศาสตรเชนวิธีการสอนสังกัด

ของโรงเรียนและอน่ื ๆ

การพฒั นาการจัดการเรียนรคู ณติ ศาสตรดวยนวัตกรรม “การศกึ ษาชั้นเรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนาท่ี

08นายจรณชัย ศรปี ระดิษฐ กลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

3) ควรทำการวิจัยโดยการจัดการเรียนรูที่สงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห ทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร ซึ่งอาจจัดทำในแนวการทำวิจยั เชิงปฏิบัติการในชั้นเรยี นหรือการวิจัยเชิงพัฒนา
ใหม ีการพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื งตอไป

ปจ จัยแหง ความสำเรจ็
๑) ผบู รหิ ารใหการสนบั สนนุ ทง้ั งบประมาณ การเสรมิ แรงใหข วญั กำลงั ใจอยา งตอ เน่อื งยาวนาน
๒) อดทนกบั ผตู ามทีไ่ มเกง เพราะเขาไมรู
๓) ตองฝกจิตตนใหไดวา งานนี้เปนงานของเรา มีสวนไดเสียกับงานนี้ เราอยากไดสังคม แบบไหน

เราตอ งสรางสังคมแบบนน้ั ขน้ึ มาดวยมอื ของเราเอง “สรางคน สรา งงาน สรา งชาติ ดว ยมอื ของเราเอง”
4) การนิเทศ กำกับ ติดตาม การประเมินผลตองมีความตอเนื่อง สม่ำเสมอ และเปนรูปแบบของการ

ใหความชวยเหลือ แนะนำ เสริมสรางกำลังใจ กระตุนใหเ ห็นถึงความสำคัญและคณุ คาของการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข องผูเรยี น

การเผยแพร

ลำดับ ปพ.ศ. รายการ หนวยงาน
1 2564 นำเสนอสื่อการสอนในกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธานี
นักศึกษาครูสูการเปนครูมืออาชีพ โดยใชนวัตกรรม
การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) โดยใชวิธีการ
แบบเปด (Open Approach)
2 2564 ตัวแทนครูผูสอนในการนำเสนอการจัดการเรียนรู สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
เชงิ รุก (Active learning) โดยใชภาคเี ครือขายความ มธั ยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ านี ชมุ พร
รวมมือ โดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการ
แบบเปด (Open Approach)
3 2564 บรรยายและถายทอดประสบการณในการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธานี
เรียนรู โดยใชนวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียน (Lesson
Study) โดยใชว ธิ กี ารแบบเปด (Open Approach)
4 2564 วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ “นักเรียนแกนนำการ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย
ขับเคลื่อนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของ สรุ าษฎรธ านี
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา นการศึกษา”
5 2564 บรรยายและถายทอดประสบการณในการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อยธุ ยา
เรียนรู โดยใชนวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียน (Lesson
Study) โดยใชวิธกี ารแบบเปด (Open Approach)
6 2565 วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ านี
เรียนรูเพื่อพัฒนาเครือขายโรงเรียนขนาดเล็ก
ในกิจกรรม พัฒนาครูและพัฒนาสื่อการเรียนการ
สอนสำหรับโรงเรียนขนาดเลก็ ในจ.สรุ าษฎรธานี
7 2565 การเขา สงั เกตชั้นเรียนของผูบริหารโรงเรียนฯ โรงเรียนเวยี งสระ

การพัฒนาการจดั การเรยี นรูค ณติ ศาสตรด ว ยนวตั กรรม “การศึกษาชั้นเรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนาท่ี

09นายจรณชัย ศรปี ระดิษฐ กลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นเวียงสระ สุราษฎรธานี

ลำดับ ปพ .ศ. รายการ หนว ยงาน
8 2565 การเขาสังเกตชั้นเรียนของคณะครูกลุมสาระการ โรงเรยี นเวยี งสระ
เรียนรคู ณติ ศาสตร

ภาพท่ี 4 การใชนวตั กรรม “M – WSRA Model” ในการขยายผลและเผยแพรผลการพฒั นา

การพัฒนาการจัดการเรียนรคู ณติ ศาสตรด ว ยนวัตกรรม “การศึกษาชน้ั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model หนา ท่ี

10นายจรณชัย ศรปี ระดิษฐ กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

หนา ค

บรรณานุกรม

กรรณกิ าร พวงเกษม. (2540). เรยี นรเู กย่ี วกับการสรา งแบบฝกหดั ภาษาไทยระดับประถมศกึ ษาใน
ภาควิชาประถมศึกษา. สัมมนาประถมศึกษาสัมพันธคร้งั ท่ี 15 (หนา 7-14), เชียงใหม :
คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.

ดวงเดอื น ออนนว ม. (2535). การสรางเสรมิ สมรรถภาพการสอนคณติ ศาสตรของครปู ระถมศกึ ษา.
กรุงเทพฯ : คณะครศุ าสตรจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย.

ถวลั ย มาศจรสั . (2548). คูมือความคดิ สรา งสรรคในการจัดทำนวตั กรรมการศกึ ษา. กรุงเทพฯ :
ธารอกั ษร.

นันทพร บุญวาส. (2554). การพัฒนาชดุ ฝก ทกั ษะเร่อื งการคูณและการหาร ช้นั ประถมศกึ ษาป
ท่ี 3 - 4. วิทยานพิ นธศ กึ ษาศาสตรมหาบันฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร.

ทศิ นา แขมมณ.ี (2545).14 วิธสี อนสำหรับครมู ืออาชีพ. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย
พรรณี ไชยเทพ. (2544). การใชแบบฝก เสรมิ ทักษะเพ่อื พฒั นาความสามารถดานการอานและการเขียนคำ

ในวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4. การคนควา แบบอสิ ระ.
ไมตรี พงศาปาน. 2551. แนวคิดความพึงพอใจ. [Online]. เขาถึงไดจาก :

http://maitree3.blogspot.com/2011/03/blog-post.html. 20 ตุลาคม 2560.

สุนนั ทา สนุ ทรประเสรฐิ . (2544). การผลติ นวัตกรรมการเรียนการสอน การสรา งแบบฝก . ชัยนาท
: ชมรมพฒั นาความรดู านระเบยี บกฎหมาย.

สุวรกาญจนมยรู . (2535).เทคนคิ การสอนคณติ ศาสตร. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทโรงพิมพวัฒนาพานชิ .
สมวงษ แปลงประสพโชค. (2538, มนี าคม-เมษายน). “การสอนความคดิ รวบยอดทางคณิตศาสตร”

วารสารคณิตศาสตร. ปท ่ี 38(7), 438-439.

สมวงษ แปลงประสพโชค. (2538). “การใหแ บบฝก หัดการบา นคณติ ศาสตร” วารสาร
คณติ ศาสตร, 39(446 – 447) : 24-30 ; พฤศจิกายน – ธันวาคม.

สาโรช ไสยสมบตั ิ. ความพงึ พอใจในการทํางานของครอู าจารยโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา สังกดั
กรมสามัญศึกษาจงั หวัดรอยเอด็ นครนี ทรวิโรฒ มหาสารคาม, 2534. ปรญิ ญานพิ นธกศ.ม.
มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒมหาสารคาม.

อมั พร มา คนอง. 2546. คณิตศาสตร: การสอนและการเรยี นรู. ศูนยตาํ ราและเอกสารทาง วชิ าการ
คณะครุศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย.

Applewhite, P. B. (1965). Organization Behavior Englewook Cliffs. New York:
Prentice Hall.

Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book.
http://www.lib.uni.com/dissertations.

การพัฒนาการจดั การเรยี นรคู ณติ ศาสตรดวยนวัตกรรม “การศกึ ษาชนั้ เรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลุม สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร โรงเรยี นเวยี งสระ สรุ าษฎรธ านี

ภาคผนวก ก

หลกั ฐานการใชน วตั กรรมการเรยี นรู

การพฒั นาการจัดการเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวตั กรรม “การศึกษาชน้ั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นเวยี งสระ สรุ าษฎรธ านี

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

2 ตรรกศาสตร

การพฒั นาการจัดการเรียนรคู ณติ ศาสตรด ว ยนวัตกรรม “การศกึ ษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดิษฐ กลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร โรงเรยี นเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

แบบประเมินคุณภาพของการใชช ดุ กิจกรรมการเรียนรู

เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเบอ้ื งตน ผา น OBEC Content Center

ผเู ชี่ยวชาญ : นางสาววรรณี แกวศริ ิ (ผูอำนวยการโรงเรียนเวยี งสระ) .

คำชี้แจง ขอใหผูเชี่ยวชาญไดแสดงความคิดเห็นของทานที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรูเรื่อง ตรรกศาสตร

เบื้องตน ผาน OBEC Content Center โดยใสเครื่องหมาย ( ) ลงในชองความคิดเห็นของทาน ซึ่งระดับ

ของความพงึ พอใจมีดังน้ี

ระดับ 5 ดีมาก ระดับ 4 ดี

ระดบั 3 ปานกลาง ระดบั 2 พอใช

ระดบั 1 ควรปรบั ปรุง

พรอ มเขียนขอ เสนอแนะทเ่ี ปนประโยชนใ นการนำไปพจิ ารณาปรบั ปรงุ ตอไป

ลำดบั คุณภาพของชุดกิจกรรมการเรยี นรู ระดบั คณุ ภาพ
54321
ตอนท่ี 1 ดา นการออกแบบ
1 ความสวยงามของส่ือ 
2 ความสมดุลของการจดั วาง 
3 สามารถมองเห็นภาพรวมของเน้ือหา 
4 รปู แบบนาสนใจ/ดึงดดู ความสนใจ 
5 ส่อื เหมาะสมกับเนื้อหา 
6 วัสดุผลติ สอื่ มีความเหมาะสม 
7 ขนาดของส่ือเหมาะสมตอ การเรียนรู 
8 สีของพื้นหลงั มีความเหมาะสม 
9 ขนาดของตวั อักษรมีความเหมาะสม 
10 รูปแบบอกั ษรสามารถอา นไดงาย
ตอนท่ี 2 ดานการจดั การเน้อื หา 
1 สอดคลอ งกับจดุ ประสงคก ารเรียนรู
2 ความสัมพนั ธก บั เนือ้ หา 
3 ความเหมาะสมของเน้ือหากับผเู รยี น 
4 การนำเสนอเน้อื หาสามารถเขาใจงาย 
5 เนอื้ หามีปรมิ าณเพยี งพอตอการศกึ ษา 


การพัฒนาการจดั การเรียนรูค ณติ ศาสตรด ว ยนวัตกรรม “การศึกษาชั้นเรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

ลำดบั คณุ ภาพของชดุ กจิ กรรมการเรยี นรเู รอื่ ง คูอันดับ ระดบั คุณภาพ 1
และกราฟของคูอ นั ดับ 5432

ตอนที่ 3 ดา นกจิ กรรม 

1 คำส่ังมคี วามชดั เจน 

2 ขอ คำถามชดั เจน

3 วิธกี ารเฉลยที่ดึงดดู ใจ

4 แบบฝก สามารถใชใ หน กั เรยี นปฏิบัตไิ ดจ ริง

ขอเสนอแนะ

………………………เ…ป………็น……น……ว……ัต………ก…ร……ร…ม………ท……ส่ี ……ร……า้ …ง……แ……ล..…ะ……พ……ัฒ……น………า…ส……อื่……เ……ท……ค……โ…น……โ……ล……ย……ี …O……B……E……C………C..……o…n…t…en……t……C……e…n…te…r……ผ……ู้ส………อ……น……ค……ว……ร…ช……ี้แ……จ…ง…
………………ใ…ห……น้ ……กั ……เ…ร……ีย….น.……เ…ข……้า……ใ…จ……ถ……ึง…ว……ิธ……ีก……า……ร……ห………ล……ัก……ก……า…ร…..…ข……ัน้ ……ต………อ……น……ต……า่……ง………ๆ………ข……อ……ง……ก……า…ร……เ…ร…ยี……น……ร……โู้ …ด……ย……ใ……ช…้แ……บ……บ……ฝ……กึ ……………………
ในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตรต์ ามขั้นตอน………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……

ลงช่อื ผูเชีย่ วชาญ
( นางสาววรรณี แกว ศริ ิ )

ตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรียนเวียงสระ

การพฒั นาการจดั การเรยี นรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศกึ ษาช้ันเรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

ตารางการวิเคราะหค วามเหน็ ที่มตี อ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู เรื่อง คตู รรกศาสตรเบ้อื งตน ผา น OBEC
Content Center วิชา ทักษะคณิตศาสตร ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 จากผูเชย่ี วชาญ จำนวน 3 ทา น

ตอนท่ี 1 ดานการออกแบบ

ขอ ที่ ความเห็นของผเู ช่ยี วชาญ คะแนน คา เฉลีย่ ผลการ
คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 รวม พจิ ารณา
15 5.00 มากทีส่ ดุ
1. 5 5 5 15 5.00 มากทส่ี ดุ
15 5.00 มากท่ีสดุ
2. 5 5 5 15 5.00 มากท่สี ดุ
15 5.00 มากที่สดุ
3. 5 5 5 15 5.00 มากที่สุด
15 5.00 มากทีส่ ดุ
4. 5 5 5 15 5.00 มากทส่ี ดุ
15 5.00 มากทส่ี ดุ
5. 5 5 5 14 4.67 มากท่ีสุด
4.84 มากท่ีสุด
6. 5 5 5

7. 5 5 5

8. 5 5 5

9. 5 5 5

10. 4 5 5

คา เฉลี่ยรวม

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง ตรรกศาสตรเบื้องตน
ผาน OBEC Content Center ดา นการออกแบบพบวา ผูเช่ียวชาญสว นใหญร ะดบั มากท่สี ุด ( ̅ = 4.84)

ตอนที่ 2 ดานการจดั เนื้อหา

ขอ ท่ี ความเห็นของผูเชยี่ วชาญ คะแนน คา เฉลย่ี ผลการ
คนท่ี 1 คนที่ 2 คนที่ 3 รวม พจิ ารณา
15 5.00 มากทสี่ ุด
1. 5 5 5 15 5.00 มากท่สี ุด
5.00
2. 5 5 5 15 5.00 มากที่สุด
5.00
3. 5 5 5 15 5.00 มากที่สุด
15 มากที่สุด
4. 5 5 5
มากทส่ี ดุ
5. 5 5 5

คา เฉล่ยี รวม

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญที่มตี อชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง ตรรกศาสตรเบื้องตน
ผาน OBEC Content Center ดานการจดั เนอื้ หาพบวา ผูเช่ียวชาญสว นใหญระดบั มากท่ีสุด ( ̅ = 5.00)

การพัฒนาการจัดการเรียนรคู ณติ ศาสตรดว ยนวตั กรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดิษฐ กลุมสาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรยี นเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

ตอนที่ 3 ดา นกจิ กรรม

ขอ ที่ ความเห็นของผเู ชย่ี วชาญ คะแนน คาเฉลีย่ ผลการ
คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 รวม พจิ ารณา
15 5.00 มากที่สุด
1. 5 5 5 5.00
15 5.00 มากที่สดุ
2. 5 5 5 5.00
15 5.00 มากทส่ี ุด
3. 5 5 5 มากทส่ี ุด
15
4. 5 5 5 มากท่ีสดุ

คาเฉลยี่ รวม

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง ตรรกศาสตรเบือ้ งตน
ผาน OBEC Content Center ดานกิจกรรมการเรียนรู พบวา ผูเชี่ยวชาญสวนใหญระดับมากที่สุด
( ̅ = 5.00)

การพัฒนาการจดั การเรยี นรูคณติ ศาสตรด วยนวตั กรรม “การศกึ ษาช้ันเรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สรุ าษฎรธ านี

ภาคผนวก ข

การเผยแพร แลกเปล่ียนประสบการณใชน วัตกรรม

การพฒั นาการจัดการเรียนรคู ณติ ศาสตรดวยนวัตกรรม “การศกึ ษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดิษฐ กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สรุ าษฎรธ านี

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี

การพัฒนาการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตรด วยนวัตกรรม “การศึกษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปด (Open Approach) โดยใช M – WSRA Model
นายจรณชยั ศรปี ระดษิ ฐ กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนเวยี งสระ สุราษฎรธ านี


Click to View FlipBook Version