The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พจนานุกรมล้านนา-ไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wpholamungdee, 2021-08-07 08:42:47

พจนานุกรมล้านนา-ไทย

พจนานุกรมล้านนา-ไทย

Keywords: อักษรไทยล้านนา,ล้านนา,พจนานุกรม

พจนานกุ รมลา้ นนา-ไทย

พจนาฯนกุ รฯ฿ลมฯ ้านฯนาฯ-ไทย

วนั ชยั พลเมอื งดี

วันไฯ ชยฯ พ฿ลเฯ มืองฯ ดี

มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตพะเยา

มหาวทิ ยาฯ ไลยฯ มหาจฬุ าลฯงก฿ รอฯ ราชวทิ ยฯาไลยฯ วทิ ยฯาเขตฯภยาว

ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รมของสำนักหอสมดุ แหง่ ชาติ
National Library of Thailand Catatoging in Publication Data

มหาวิทยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตพะเยา
พจนานุกรมลา้ นนา-ไทย เชยี งใหม่ : สำนัก, ๒๕๖๐. ๓๙๒ หน้า.
๑. พจนานกุ รมลา้ นนา-ไทย ๑ ช่อื เรอ่ื ง

ISBN 978-619-300-325-6

สงวนลิขสทิ ธ์ิ

ผู้จดั พมิ พ์และเจ้าของ

วนั ชยั พลเมอื งดี มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตพะเยา
๕๖๖ หมู่ ท่ี ๒, ตำบลแมก่ า อำเภอเมอื งพะเยา พะเยา ๕๖๐๐๐
โทรศพั ท์ : 0840403560

พิมพ์คร้ังท่ี : ๒ พ.ศ. ๒๕๖๔

จำนวนพิมพ์ ๕๐๐ เล่ม

แบบปกและรูปเลม่

วนั ชยั พลเมืองดี Tel : 084-0403-560
E-mail : [email protected]

พิมพท์ ่ี : รา้ นซี เอม็ กราฟกิ กรุฟ๊ ๓/๔๖ เชียงใหม่เทรดเซน้ เตอร์ ถ.สามล้าน ต.พระสิงห์ ต.พระสงิ ห์

อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐ โทรศัพท/์ โทรสาร ๐ ๕๓๘๑ ๔๔๗๐
E-mail : [email protected]

คำนำ

หนังสอื พจนานุกรมลา้ นนา-ไทยน้ี เกิดขึ้นมปี จั จยั หลายอยา่ ง และเป็นพจนานุกรมเลม่ ท่ี ๒
พจนานุกรมเล่มแรก ไดจ้ ดั พมิ พ์เปน็ พจนานุกรมบาลลี ้านนา มผี ู้สนใจศกึ ษาอ่านและแนะนาน่าจะทา
เปน็ พจนานุกรมลา้ นนา ท่มี กี ารเขยี น มีความหมายตรงกบั ภาษาไทยกลาง เหตผุ ลดงั กล่าวขา้ พเจ้าจงึ
ไดต้ ั้งใจหนั มา ทา หนังสือพจนานกุ รมลา้ นนา-ไทย อีกเลม่ เพื่อจดั พิมพข์ ึ้นเพื่อเป็นองคค์ วามรูเ้ กีย่ วกับ
คาเมือง หรือคาที่ชาวไทยล้านนาใชเ้ ป็นภาษาในการส่ือสารกนั ทั้งการเขียน ออกเสยี ง โดยเทียบ
ความหมายในภาษาไทยกลาง และให้ความหมายภาษาองั กฤษดว้ ย จากความภาคภมู ิใจคือ ข้าพเจา้
เป็นชาวลา้ นนา (เปนคนเมงิ ) เป็นชนชาตทิ ีม่ ีวัฒนธรรมทางภาษาที่เจรญิ รุ่งเรืองมาต้งั แตอ่ ดีต มที งั้
สาเนียงออกเสียง และตัวอักษร ท่ีใช้จาร หรือจารึก ให้อนุชนรนุ่ หลังอยา่ งข้าพเจา้ ได้ศึกษา ซึง่ เกรง
ว่าถา้ ไม่อนุรักษ์และสืบทอดไว้อนาคตภาษาไทยล้านนาอาจจะสูญหายไป เพราะปจั จุบันมีคนล้านนา
สว่ นหนง่ึ พดู ภาษาล้านนาเพ้ียน ปนภาษาไทยกลางทาให้ส่ือความหมายผดิ ยิ่งไปกวา่ นน้ั คนลา้ นนา
ส่วนใหญเ่ ขยี น อ่าน ภาษาล้านนา แถบไมไ่ ด้ เหตผุ ลดังกลา่ วขา้ พเจ้าจงึ จัดทาหนังสือฉบับน้ขี ึ้น เพื่อ
อนุรักษ์ สืบทอด แมใ้ นหนังสือเลม่ น้ีไม่สามารถบรรจุคาลา้ นนาไดค้ รบหมด แตก่ เ็ ปน็ จดุ ประกายเล็กๆ
ทีข่ า้ พเจ้า และกลุ่มชาวลา้ นนาที่หวังสบื ทอดอนุรกั ษ์อักขระ ภาษาลา้ นนา ในงานน้ีขา้ พเจา้ ขอกราบ
นมสั การ ขอบพระคณุ พระเดชพระคุณหลวงปู่พระอบุ าลีคุณูปมาจารย์(ปวง ธมมฺ ปญโฺ ญ) พระเทพ
ญาณเวท(ี ศรมี ูล มลู สิร)ิ อว้ น ขนั ธวงศ์ เพอ่ื นๆ ในหนว่ ยงานท่ีส่งเสรมิ ใหก้ าลังใจในการผลติ ตาราเล่มนี้
สาเรจ็ ลลุ ่วงไปได้ดว้ ยดี อนึง่ คณุ ค่าหนงั สอื เล่มนี้ ขา้ พเจา้ ใครอ่ ุทิศถวายแด่พระพุทธศาสนา คณุ บดิ า
มารดา ครบู าอาจารย์ ท่ปี ระสทิ ธปิ ระสาทวิชา ให้ขา้ พเจา้ โปรดได้รับอานิสงส์แห่งขมุ ความร้นู ที้ กุ ทา่ น
ทุกผู้

ขา้ พเจ้าหวังวา่ เนอื้ หาในพจนานุกรมล้านนา-ไทย นีจ้ ะเป็นประโยชนต์ ่อผู้ที่สนใจเป็นอยา่ งดี
หากมสี งิ่ ใดในหนังสือเล่มน้จี ะตอ้ งปรบั ปรุง ข้าพเจา้ ขอน้อมรบั ในข้อชแ้ี นะและจะนาไปแก้ไขและ
พัฒนาใหถ้ ูกต้องสมบูรณต์ ่อไป

วนั ชัย พลเมืองดี

คำนยิ ม

************

รองศาสตร์จารย์ ดร.วันชัย พลเมืองดี เธอได้เข้ามาขออนุญาต ในการนาภาษาอังกฤษใน
พจนานุกรม ไทยอังกฤษ ท่ีข้าพเจ้าได้เขียนขึ้นร่วมกับ คุณดาเนิน การเด่น เพ่ือใช้ในการตรวจสอบ และให้
ความหมาย ภาษาอังกฤษ และล้านนา(คาเมือง) ในหนังสือ พจนากรมล้านนา-ไทย ซ่ึงข้าพเจ้าดีใจที่เธอ ได้
เห็นความสาคัญในหนังสือของข้าพเจ้า จึงอนุญาต ให้เธอคัดลอก และตรวจสอบศัพท์ภาษาอังกฤษส่วนหนึ่ง
ซ่ึงข้าพเจ้าได้มองเหน็ ประโยชนจ์ ากหนงั สอื เลม่ นวี้ า่ ถ้าสาเรจ็ กจ็ ะเกิดประโยชนอ์ ยา่ งย่ิง เพราะเป็นพจนานุกรม
๓ ภาษาก็วา่ ได้ คอื ภาษาไทยล้านนา(คาเมือง) ภาษาไทยกลาง และภาษาอังกฤษ ซึ่งเท่าที่เคยเห็นพจนานุกรม
จะมีแค่ ๒ ภาษา แตน่ ีม้ ถี ึง ๓ ภาษา จงึ นบั ว่าเปน็ มติ ใิ หมท่ ี่ดี ทเี่ ธอตอ้ งการทาพจนานุกรมไทยล้านนา เผยแพร่
และอีกทั้งเป็นการอนุรักษ์ภาษาถิ่นที่เป็นประโยชน์ในวงการการศึกษาอย่างมากมาย อีกทั้งพจนานุกรม
ล้านนาฉบับนี้ เธอได้พยายมสื่อความหมาย มีท้ัง วิธีการอ่านออกเสียง อักษรล้านนา และความหมายถึง ๓
ภาษา ขา้ พเจา้ จึงมีความปิติยินดีช่ืนชมในการสร้างผลงานฉบับนี้ซ่ึงอยากให้เธอได้ทาสาเร็จลุล่วง อันจะเกิด
ประโยชน์ย่ิงใหญ่ในวงการศกึ ษาและผทู้ ่ีสนใจต่อไป

เสถียรพงษ์ วรรณปก

คำช้แี จง

๑. พจนานกุ รมไทยล้านนา ไทย ฉบับนี้ ขา้ พเจ้ามวี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ ที่จะสื่อถงึ ความหมายทางภาษาท่ี
เปน็ ภาษาถิ่นไทยลา้ นนา ตอ่ ไปจะเรียกว่าไทยล้านนา(คาเมือง คำเมงฯิอ ) ประกอบด้วย ๕ ส่วน ๑) อักษร

ภาษาไทยลา้ นนา ได้แก่ ก ข ค ง เปน็ ตน้ อักษร ไม้ หรือสระ พยัญชนะ และอักษรพิเศษ จะกลา่ ว

ต่อไป เป็นตน้ ๒) การเขยี นอักษรไทยล้านนา ได้แก่ การผสม ตวั ขม่ ตวั ซ้อน และการเขียนเปรียบเทยี บตัวนิยม
เขยี นพบบ่อยในคัมภรี ์ และหลักภาษา ๓) เสียงในการอ่านออกเสียง เป็นการแสดงให้เหน็ วธิ ีการออกเสียง
ซง่ึ ในการพมิ พ์ในพจนานุกรมไม่ไดเ้ น้นไวยกรณ์ทางภาษาไทยกลาง เชน่ ท๊าว ต๋าน มา๋ น กิน๋ ไก๊(พอง) ฅวาม
เปน็ ตน้ แต่จะเนน้ การออกเสียงตามภาษาไทยล้านนา ๔) ความหมายที่ตรงกบั ภาษาไทยกลาง คือการแสดง
ความหมายท้ังภาษาไทยกลาง และภาษาไทยล้านนาที่ตรงกันและใกล้เคียงมากท่ีสุด ซงึ่ ก็จะพบวา่ แมจ้ ะมีการ
อา่ นออกเสยี งท่ตี รงกนั แต่บางทกี ็มีความหมายทตี่ ่างกนั เชน่ ถา้ เสียงไทยลา้ นนา ออกเสยี ง ท.ทหาร ช.ช้าง พ.
พาน เปน็ ตน้ แสดงว่าคานั้น จะเปน็ คายืม หรอื ทับศทั พ์ ตามภาษาไทยกลาง ๕) ความหมายภาษาอังกฤษท่ีมี
ความหมายใกล้เคยี งมากที่สุด

๒. ภาษาไทยล้านนา เหมอื นกบั ภาษาไทยกลางตรงทีเ่ ป็นคาไทยแท้ มักจะเป็นคาโดดๆ หรอื คาเดียวที่
มคี วามหมาย ในทน่ี ้ภี าษาไทยล้านนาก็พยายามแสดงให้ครบ แตถ่ ้าคาประกอบ ก็จะเลอื กเอาเฉพาะคาทมี่ ี
ความหมายต่างไปจากคาต้น

๓. ภาษาไทยลา้ นนา บางคาออกเสยี งเหมือนคาไทยกลาง แตม่ ีความหมายต่างกันโดยสนิ้ เชงิ กจ็ ะใส่ไว้
เชน่ ขา้ ลา้ นนา หมายถงึ ฆ่าและขา้ ฯ

๔. ตวั อยา่ งประโยคการใช้คา จะไม่แสดงในส่วนของนามจะใช้ /ตวั อกั ษาเอยี ง เปน็ ตน้
๕. ช่องการอ่านหรืออกเสียงลา้ นนา พยายามแสดงการออกเสยี งให้ใกลเ้ คียงสาเนยี งเสียงลา้ นนาให้
มากท่สี ุด แม้การเขยี นแสดงคาอ่านจะไม่ถูกตอ้ งตามหลกั ไวยกรณภ์ าษาไทย เช่น เปน ฅา ฅวาม เคือ
(เครอื ) กวั (กลัว) กว้ ย(กลว้ ย) เปน็ ตน้
๖.การใช้ สระ เอือ เ-ฯอ ในพจนานกุ รม จะใช้ เอิอ เ-ิฯอ เช่น เมองฯ เปน็ เมฯิงอ เดอรฯ เป็น

เดอฯริ เพราะถือว่า ไวยากรณล์ ้านนา ไม่มี สระ เอือ เ-อฯ เหมอื นไทยกลาง ท้ังนี้เพ่ือตอ้ งการรกั ษารากคา

เดิมๆ เพ่ือเป็นอัตลักษณ์ โดยได้จัดทาเป็น
๗. ระบบเสยี งจะเขียนข้อตกลงและวธิ ีการออกเสียง ไวเ้ บ้อื งต้นดังนี้
ในพจนานุกรมลา้ นนา ไดย้ ึดเอาวทิ ีการถา่ ยทอดเสียง ตามแบบ อยู่เคียง แซโ่ ค้ว

ชนดิ หน่วยเสียง ๓ ชนิด ไดแ้ ก่
ชนดิ ของหน่วยเสยี ง

๑. หน่วยเสยี งพยัญชนะ
หน่วยเสียงพยญั ชนะตน้
๑.๑ หนว่ ยเสียงพยัญชนะต้นเดีย่ ว

๑.๒ หน่วยเสยี งพยัญชนะต้นควบกล้า
หน่วยเสียงพยญั ชนะท้าย
๒. หน่วยเสียงสระ
๒.๑ หนว่ ยเสียงสระเดย่ี ว
๒.๒ หนว่ ยเสียงสระประสม
๓. หน่วยเสียงวรรณยกุ ต์
ในลา้ นนาจะมี ๖ หน่วยเสยี ง ไดแ้ ก่ สามัญ เอก โท โทพิเศษ ตรี จัตวา

สำมญั เอก โท โทพิเศษ ตรี จตั วำ

คำ/ka:1 กา ก่ำ/ ka:2/ ก่า ค่ำ /ka:3/ก่า กำ้ /ka:6/กา้ คำ้ /ka:4/กา้ กำ/ka:5/ก๋ า

กาผะตู๋ นก่ี า่ กา่ งวด กา้ แข็ง ก้าขาย กา๋ กะบาด
ฅำ/kha:1/ฅา ข่ำ/kha:2/ข่า ฅำ่ /kha:3/ฅ่า ข้ำ/kha:6/ข้า ฅำ้ /kha:4/ฅ้า ขำ/kha:5/ข๋า

หญา้ ฅา ขา่ จักไฅ ฅา่ ฅบ ขา้ พเจา้ ,ฆ่า ฅา้ ขาย ขา๋ แฅง่

๑. หนว่ ยเสยี งพยญั ชนะต้นเดยี ว มี ๒๑ หนว่ ยเสยี ง ไดแ้ ก่
/p-/ แทนพยญั ชนะ ป เช่น /pa:5/ ป๋า(ปลา)
/ph/ แทนพยัญชนะ ผ, พ, ภ เชน่ /pha:n1/ พาน(พาน), /phi:5/ ผ๋ี(ผ)ี
/b-/ แทนพยัญชนะ บ เช่น /ba:n1/ บาน(บาน)
/t-/ แทนพยัญชนะ ต, ฏ, เช่น /ti:4/ ต๋ี(ตี)
/th-/ แทนพยญั ชนะ ถ, ท, ธ, ฐ, ฑ, ฒ เช่น /tha:1/ ทา(ทาส)ี , /tha:m5/ ถา๋ ม(ถาม)
/d-/ แทนพยญั ชนะ ด, ฎ, เช่น /da:1/ ดา(เตรียม)
/k-/ แทนพยญั ชนะ ก เชน่ /ka:5/ ก๋า(อีกา)
/kh-/ แทนพยัญชนะ ข, ค, ฆ เชน่ /kha:1/ ฅา(หญ้าคา), /kha:5/ ข๋า (ขาสองข้าง)
/?-/ แทนพยญั ชนะ อ เชน่ /?ɛ:w1/ แอว(เอว)
/c-/ แทนพยัญชนะ จ เช่น /ca:k1/ จาก(จากไป) /ca:ŋ5/ จ๋าง(จดื จาง)
/ch-/ แทนพยัญชนะ ช, ฉ เชน่ /cha:1/ ชา(โรคเหน็บชา), /cha:j5/ ฉาย(ฉายหนงั )
/f-/ แทนพยัญชนะ ฟ, ฝ เช่น /fa:4/ ฟา้ (ท้องฟ้า), /fa:5/ ฝ๋า(ฝาหมอ้ )
/s-/ แทนพยัญชนะ ซ, ส, ศ, ษ เชน่ /sa:4/ ซา้ (ตะกร้า), /sa:w1/ ซาว (ยสี่ บิ
/h/ แทนพยญั ชนะ ห, ฮ เช่น /ka:w5/ หา๋ ว(ลอ้ ห๋าว,รถหา๋ ว),/ha:w1/ ฮาว(ราวรัว้ )
/m-/ แทนพยัญชนะ ม เช่น /ma:n1/ มาน(ตงั้ ครรภ)์
/n-/ แทนพยัญชนะ ณ, น เชน่ /nuan1/ นวน(นิ่ม)
/ŋ-/ แทนพยญั ชนะ ง เชน่ /ŋa:m1/ งาม(สวย)
/ῆ / แทนพยญั ชนะ ญ, ย เชน่ /ῆa:k3/ ยาก(ยากลาบาก), /ῆaj2/ ใหย่(ใหญ่)

/w-/ แทนพยัญชนะ ว เชน่ /wɛ:n3/ แวน่ (กระจก)
/j-/ แทนพยญั ชนะ ย เช่น /j+n1/ ยืน(ยนื แถว)
/l-/ แทนพยัญชนะ ล,ฬ เชน่ /l+:n1/ ลืน(กลนื )
หนว่ ยเสียงพยัญชนะตน้ ควบกลา้ มี ๑๐ หน่วยเสยี งได้แก่
/kw-/ แทนพยญั ชนะ กว- เชน่ /kwɛ:n2/ แกว่ น(ชานาญ)
/khw-/ แทนพยัญชนะ ขว-, คว- เช่น /khwa:j5/ ขวาย(สายเวลา)
/tw-/ แทนพยญั ชนะ ตว- เชน่ /twa:j1/ ตวาย(ทานาย)
/?w-/ แทนพยัญชนะ อว- เชน่ /?wa:j1/ อั๊ว(อาเจยี น)
/cw-/ แทนพยญั ชนะ จว- เช่น cwa:3/ จวา้ (ซึม)
/sw-/ แทนพยญั ชนะ ซว, สว- เชน่ /swa:m1/ ซวาม(คลา)
/jw-/ แทนพยญั ชนะ ยว- เช่น /jwa:t2/ ยวา๊ ด(ตก)
/ŋw-/ แทนพยญั ชนะ งว- เชน่ /ŋwa:j4/ งวา๊ ย (หนั กลบั )
/ῆw-/ แทนพยัญชนะ ยว-,ญว- เชน่ /ῆwa:m3/ ยวา๊ ม (ขยุ้ม)
/lw-/ แทนพยัญชนะ ลว- เช่น /lwa:n3/ ลว๊ัน(เปื่อยยยุ้ )
หน่วยเสยี งในพยญั ชนะท้าย มี ๙ หน่วยเสยี ง ไดแ้ ก่
/-p/ แทนตัวสะกด แมก่ บ เชน่ /sap5/ สบั (สกั )
/-t/ แทนตัวสะกด แมก่ ด เช่น /sat5/ สดั (สตั ว)์
/-k/ แทนตวั สะกด แม่กบ เชน่ /sak5/ สัก(ตน้ สกั )
/-?/ แทนเสยี งพยัญชนะท้ายของคาท่ีประสมดว้ ยสระเสยี งส้ันหรือ พยางคท์ ี่ประกอบด้วยสระ
เสยี งส้นั และเน้นเสียง เชน่ /pra?4/ พะ (พระ) , /pia?5/ เปยี๊ (เปียก) /sa?4-pa?4/ สัปป๊ะ (สารพดั ) แต่
หากพยางค์ใดไม่เน้นเสยี ง เสียง /-?/ นจี้ ะไมป่ รากฏเชน่ /ju:1-sa1-la:t2/ ยูสะลาด (ไม้กวาดทางมะพร้าว)
/-m/ แทนตวั สะกด แมก่ ม เช่น /sa:m5/ สาม(สาม)
/-n/ แทนตวั สะกด แม่กม เช่น /sa:n5/ สาน(จักสาน)
/-ŋ/ แทนตวั สะกด แม่กง เชน่ /sa:ŋ5/ สาง(คดั ออก)
/-w/ แทนตวั สะกด แม่เกยว เช่น /sa:w5/ สาว(เก็บดา้ ย)
/-j/ แทนตวั สะกด แมเ่ กย เช่น /sa:j5/ สาย(เสน้ สาย)
หน่วยเสียงสระเดยี่ ว มี ๑๘ หนว่ ยเสียง ได้แก่
/i/ แทนสระ อิ เชน่ /ti5/ ต๋ิ(จับกด)
/i:/ แทนสระ อี เช่น /ti:5/ ต๋ี (ต)ี
/e/ แทนสระ เอะ เช่น /keŋ2/ เก่ง(เก่ง)
/e:/ แทนสระ เอ เชน่ /le:3/ เล้ (เข)
/ɛ/ แทนสระ แอะ เช่น /pɛ?5/ แปะ (ชอ้ื เชื่อ)
/ɛ:/ แทนสระ แอ เช่น /pɛ:4/ แป(๊ ชนะ)

/+/ แทนสระ อึ เช่น /kh+?4/ ฅึ(สง่า)
/+:/ แทนสระ อื เช่น /m+:1/ มือ(มอื )
/ə/ แทนสระ เออะ เชน่ /phə?4/ เปอะ(เปรอะ,เลอะ)
/ə:/ แทนสระ เออ เช่น /phə:2/ เผอ่ิ (ไล่จกิ )
/a/ แทนสระ อะ เช่น /wan1/ วนั (วนั )
/a:/ แทนสระ อา เช่น /wa:n2/ วาน(ไหว้วาน)
/u/ แทนสระ อุ เช่น /cu?5/ จุ (โกหก,หลอกลวง)
/u:/ แทนสระ อู เชน่ /cu:1/ จู (ไปหา,สมส่,ู อยู่ดว้ ยกนั )
/o/ แทนสระ โอะ เช่น /so?5/ โซ๊ะ(ตาคลุกเคล้า)
/o:/ แทนสระ โอ เช่น /so:6/ โซ่(โซ)่
/ᴐ/ แทนสระ เอาะ เช่น /tᴐ?4/ เต๊าะ(ปลาเทโพ, เตา๊ ะสาว)
/ᴐ:/ แทนสระ ออ เชน่ /tᴐ:5/ ตอ๋ (ตอ)
หน่วยเสียงสระประสมมี ๓ หน่วยเสียง ไดแ้ ก่
/ia/ แทนทง้ั สระ เอยี ะ และ เอีย เชน่ /pia?4/ เป๊ยี ะ(อวด) /pia5/ เปี๋ย(คว้า)
/+a/ แทนทั้งสระ เอือะ และ เอือ เชน่ /l+?4-l+?4/ เลือะๆ (ไหลเลือ่ ยๆ) /l+a5/ เหลือ(เหลือ)
/ua/ แทนท้งั สระ อัวะ และ อวั เช่น /phua?4/ ผัวะ(ผุ) /phua5/ ผั๋ว(ผวั )
หนว่ ยเสยี งวรรณยุกต์ มี ๖ หน่วยเสยี งดงั น้ี
๑. เสยี ง กลาง-ระดับ (mid-devel) (ระดบั เสยี ง 3-3) ใกลเ้ คยี งกบั วรรณยุกตเ์ สียงสามัญในภาษาไทย

กลาง หน่วยเสยี งนี้จะใช้ หมายเลข 1 เป็นสญั ญาลักษณแ์ ทน เชน่ /law1/ เลา(งาม,สวย)
๒. เสียงต่า-ตก (low-falling) (ระดบั เสยี ง 2-1) ใกลเ้ คียงกับวรรณยุกตเ์ สียงเอกในภาษาไทยกลาง

หน่วยเสยี งนจ้ี ะใชห้ มายเลข 2 เปน็ สัญญาลกั ษณ์แทน เชน่ /laj3-law2/ ไลเ่ ล้า(ขบั สตั ว์ออกจกท่ซี ่อน)
๓. เสยี งสงู -ตก (high-falling) (ระดับเสยี ง 4-2) ใกลเ้ คียงกบั วรรณยุกต์เสียงตรีในภาษาไทยกลาง

หนว่ ยเสยี งนี้จะใช้หมายเลข 3 เปน็ สญั ลักษณแ์ ทน เชน่ /law3/ เลา่ (เลา่ )
๔. เสียงสูง-ข้นึ (high-rising) (ระดบั เสยี ง 4-5) ใกล้เคยี งกับวรรณยุกต์เสยี งตรใี นภาษาไทยกลาง

หนว่ ยเสยี งน้จี ะใช้หมายเลข 4 เป็นสญั ณแ์ ทน เชน่ /law4/ เลา้ (เลา้ )
๕. เสยี งต่า-ข้นึ (low-rising) (ระดับเสยี ง 2-4 ) ใกลเ้ คยี งกับวรรณยกุ ต์เสยี งจัตวาในภาษาไทยกลาง

หนว่ ยเสียงนม้ี ีสัญญาลกั ษณ ๒ แบบ คอื
เรมิ่ ตน้ เสยี งท่รี ะดับ 2 ออกเสียงไปจนถงึ ท้ายพยางค์ เสียงจะสูงขน้ึ จนถึงระดับ 4 สัทลกั ษณะ

เช่นนี้จะปรากฏในพยางคเ์ ปน็ เชน่ /law5/ เหลา (เหลาไม้)
เรมิ่ ต้นเสยี งท่ีระดบั 2 แลว้ เสยี งขนึ้ ไปถึงระดับ 4 ทันที สัทลกั ษณะเชน่ นีจ้ ะปรากฏในพยางค์

ตาย เช่น /lap5/ หลับ(หลับ) หน่วยเสยี งน้จี ะใชห้ มายเลข 5 เปน็ สัญลกั ษณ์แทน

๖. เสยี งกลาง ค่อนขา้ งสงู -ระดบั เส้นเสียงเปิด (high-level with glottl closure) เปน็ เสยี งวรรณยุกตท์ ่ี

ไมม่ ีในภาษาไทยกลาง ระดับเสียงต้ังแต่ตน้ จนจบพยางค์จะอยูใ่ นระดับ 4 แตต่ อนทา้ ยพยางคเ์ สียงจะตกลง
เล็กน้อย และเส้นเสียงปดิ หน่วยเสียงนจ้ี ะใชห้ มายเลข 6 เป็นสัญญาลกั ษณ์แทน เช่น /law6/ เหลา้ (สรุ า),
/mᴐ:6-hᴐ:m6/ หมอ้ ห้อม(สีย้อมผา้ )

สารบญั หนา้

เรื่อง ก

คำนิยม ค
คำนำ จ
ขอ้ ตกลงเบอื้ งต้นพจนานกุ รมล้านนา
สารบญั ๑
๓๓
ก ก๋ะ ๖๓
ข ขะ๋ ๘๑
ค กะ๊ ๙๒
ฅ คะ ๙๓
ฆ ฆะ ๑๐๒
ง งะ ๑๒๓
จ จะ๋ ๑๒๕
ฉ ฉะ ๑๓๖
ช จ๊ะ ๑๔๕
ซ ซะ ๑๔๕
ฌ ฌะ ๑๔๖
ญ ญะ ๑๔๖
ฎ ฎะ ๑๔๖
ฏ ฏะ
ฐ ฐะ

สารบัญ (ตอ่ )

เร่อื ง หนา้

ฑ ฑะ ๑๔๗
ฒ ฒะ ๑๔๘
ณ ณะ ๑๔๘
ด ดะ ๑๔๙
ต ต๋ะ ๑๖๒
ถ ถะ ๑๘๓
ท ตะ๊ ๑๙๓
ธ ธะ ๒๑๐
น นะ ๒๑๔
บ บะ ๒๓๐
ป ปะ๋ ๒๕๑
ผ ผะ ๒๖๔
ฝ ฝะ ๒๗๓
พ ป๊ะ ๒๗๖
ฟ ฟะ ๒๘๕
ภ ภะ ๒๘๘
ม มะ ๒๙๑
ย ยะ ๓๐๓
ร ละ ๓๑๑

สารบัญ(ตอ่ )

เรอ่ื ง หนา้

ล ละ ๓๒๓
ว วะ ๓๓๗
ส สะ ๓๔๔
ห หะ ๓๖๘
อ อะ ๓๙๕
ฮ ฮะ ๔๐๔
๔๐๗
บรรณานกุ รม

ตวั๋ เมือง คำอา่ น ความหมาย

ก ก๋ะ/ka5 กะ๋ /ka5/ พยัญชนะในวรรค กะ ตวั ที่ ๑ เทยี บพยญั ชนะไทย
กลาง คือ ก.ไก่ กะ ก เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้นและตัวสะกด
ก กะ๋ /ka5 ในแม่ กก การออกเสียง กะ ก เมอ่ื มีการประสมด้วยคำเป็น
จะออกเสียงอยู่ในระดับเสียงวรรณยุกต์จัตวา เช่น ก๋า กี๋ กู๋
กฯก฿ กก/kok5 โก๋ ก๋ง กม๋ แกว๋ กว๋ ย เป็นต้น
ก . บ ั ง , :prevention(of) ต ร ะ ก ล ะ :greedy, glutonous,
ก้ฯก฿ ก๊ก/kok3 voracious ว . ป ร ะ ม า ณ , :to estimate , calculate: to guess,
กกฯเ฿ กฯ้ิง กกเก่ิง /kok5-ka:ŋ2 approximate; shift; with, and, to, for น.ผปี อบ :demon that
/feeds on living human entrails causing death เ ข า ต ี ๋ ม า
กกขฯ฿ า กกขา/ kok5-kha:5 เลยเอามอื กะไว้// ต๋ายกะ//พะเยาไปเจียงใหมก่ ะก่ีกโิ ล
กกฯแ฿ ขนฯ กกแขน/kok5-khɛ:n ก.สบั ,ตดั ขาด,ฟันให้ขาด, :to cut, cut off น๑.นกเงือก
กกฯฅ฿ อฯ กกฅอ/ kok5-khᴐ:1 :a kinds of horn bill (Bucerotidae) // เอามีดมากกจิ้น
กชกฯ฿ ฯนิ้ กกจ๊ิน/kok5-cin4 //กกป๋าเป็นติ่น/ก่อยเน้อมีดกกมือปุดเหยี น๒.ชื่อมาตราที่
กฯมก฿ ื กกมือ/kok5-m+:1 มีตัว ก ข ค ฆ สะกด เรียกว่า มาตรากก หรือแม่กก, /ปาก,
กหฯก฿ ู กกหู/ kok5-hu:1 สขุ ,มคั คะ,เมฆ
น.หมู่,เหลา่ ,กลมุ่ ,พรรคพวก :group, faction, clique
กฯง฿ ก๋ง/koŋ5
ก.ตัดครึ่ง :cut in half /กกแบ่งเกิ่ง//กกเกิ่งเลยเอามาแบ่ง
กั๋น//กกเกงิ่ แบ่งก๋ัน
ก.ตัดขา :to cripple /กกขากบ//กกแฅ่งกกขา

ก.ตดั แขน :to cripple /มดี กกแขนปุด//กกขากกแขน

ก.ตดั คอ :to behead /ฅนขล้ี กั เอาไปกกฅอ

ก.แหลเ่ น้ือ flesh, meat /กกจิ้นลาบ

ก.ตดั มอื :hand cut /ขีล้ ักกะกกมอื ขวา้ ง

น.บริเวณโคนหูส่วนที่ติดกับศีรษะ :the portron of the skull

umder the ear lobe

น๑.ชื่อมาตรที่มีตัว ง สะกด เรียกว่า มาตรากงหรือแม่กง
,บรรพบุรุษชายชั้นพ่อของพ่อ หรือพ่อของแม่,ภาษาไทย
ลา้ นนาและไทยกลางใช้เหมือนกัน น๒.เคร่อื งยิงชนิดหนึ่งทำ
ด้วยแถบยางผูกติดกับไม้ง่ามขนาดเล็ก ใช้ยิงลูกกระสุนทำ
ด้วยดินเหนียวปั้นเป็นลูกกลม, หนังสติ๊ก,คันธนู, bow (for
arrows) น๓. วงล้อของเกวียน :wagonwheel คนั ดีดฝา้ ย
/กง๋ ดดี ฝา้ ย//กง๋ พ่อของพอ่

๒ พจนาฯนกุ รฯ฿มลฯ าฯนนาฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ต๋วั เมือง คำอ่าน ความหมาย

ก้งฯ฿ ก่ง/koŋ2 ก.ทำให้โค้ง ว.โค้ง :to bend, flex, curve, arch; to raise; bent,
curved, arched /ก้วิ ก่งอยา่ งวงพระจันทร์
กฯง้฿ กง้ ,โก้ง/koŋ6 ว.ลาย,ดา่ ง :dots, spots, flowers /หมากง้
กกฯง฿ ยฯร ก๋งเกี๋ยร/koŋ5-kian5 น.กงเกวียน :wagonwheel
กฯงก฿ อฯร กง๋ ก๋อน/koŋ5ko:n5
กเฯง฿ กฯง กง๋ เกง/koŋ5-keŋ5 น.ธนไู มไ้ ผ่แตใ่ ช้ลูกกระสุนดิน :weapons, arms
กไฯง฿ กวฯ ก๋งไกว/koŋ5-ka.j5
กฯงค฿ ว้ฯาฯน น.ไม้สงู เครื่องเลน่ ของเด็กชาวเขาทตี่ อ่ ขาใหส้ งู :leg toy
กโฯง้฿ คะ กง๋ กวา๊ น/koŋ5-kwa:n6
กฯงท฿ ตกิฯ ก่งโกะ/koŋ2-ko5 น.เครื่องมอื เจาะไม้เปน็ สวา่ น แต่ใช้คันชักคล้ายคันธนู :local
กธฯง฿ นู กง๋ ตะตกิ๊ /
กธฯง฿ นูมื scerw driver
กปฯง฿ ีดฯฝายฯ koŋ5-tha?4-tik5
กปฯง฿ ืนฯ น.เครือ่ งมือหูกทอผา้ :loom
กพฯง฿ ดัฯ ก๋งธนู/koŋ5-ta1-nu:1
กงสฯ฿ เดฯน กง๋ ธนูมือ/ ก.โกง้ โค้ง :to bend over, stoop down /เลน่ ก่งโกะ

กงฯห฿ าฯง koŋ5-ta1-nu:1-m+?1 น.หนงั สต๊ิก :catapult /กง๋ ยงิ นก
กฏฯ฿
กง๋ ปีดฝา้ ย/ น.ธนูยนต์,ธนูกระสูนวงิ่ เอง :automatic bow
กดฯ฿
koŋ5-pi:t5-fa:j6 น.คนั กระสนุ ลกู กระสุนปนั้ ดินเหนียว :dried mud ball
กดฯข฿ ี
กง๋ ปืน/koŋ5-p+n5 น.คันดีดอย่างคันกระสุน ใช้ดีดฝ้ายให้ขึ้นปุย :cotton
กดฯฅ฿ ้ฯอ ก๋งปดั /koŋ5-pat1
ก๋งสะเดน/ springer

koŋ5-sa1-dɛn1 น. ธน,ู หนา้ ไม้ :weapons

ก๋งหาง/koŋ5-ha:ŋ1 น.ระหดั ,พดั ลม :water wtteel
ก๋ด/kot5
น.ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง เมื่อผลแก่จัดก็จะแตกออกทำให้
กด,กฎ/kot1 เมลด็ กระเด็นออก :a kind of plant
น.ซองหางสำหรบั ยึดหลงั อานมา้ :horse back holster
กดขี่/kot5-khi:2
ก๑.จดไว้เป็นหลักฐาน :to record, to write down /ก๋ดเป๋น
กดฅอ/kot5-kho:2 หมาย ก๒. กำหนดคา่ ,ราคา :to fix a prie /กด๋ เปน๋ กา่
น.๑ ข้อกำหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับที่ต้องการให้ปฏิบัติ
ตาม,ระเบียบ,ข้อบังคับน :to record, to write down ๒.ชื่อ
มาตราที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส
สะกด เรียกว่ามาตรากด หรือแม่กด,ภาษาไทยล้านนาและ
ไทยกลางใชเ้ หมอื นกนั
ก.บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ,ใช้อำนาจบังคับเอา :to oppress, be
oppressive, tyrannize, browbeat, persecute /กดขีค่ ่ำเข
สำนวน.บังคบั เอา :to force

๓ พจนาฯนกุ รฯ฿ฯลม านฯนาฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ตวั๋ เมือง คำอา่ น ความหมาย

กดฯไ฿ จ กดไจ/kot5-ca.j5 น.ปีชวด โทศก :the Year of the Rat, the second year of the

กดฯย฿ ี กดย/ี่ kot5-ñi:1 decade

กสฯด฿ งา กดสะง้า/kot5-sa1-ŋa:4 น.ปีขาล โทศก :the Year of the Tiger, the second year of

กสฯด฿ ัฯน กดสนั /kot5-san5 the decade

กดฯส฿ ี กดส/ี kot5-si:5 น.ปีมะเมีย โทศก :the Year of the Horse, the second year

กดฯเ฿ สดฯ กดเส็ด/kot5-se:t2 of the decade

กหฯด฿ ว฿ฯ กดหัว/kot5-hua5 น.ปีวอก โทศก :the Year of the Monkey, the second year
ก้นฯ฿ ก้น,โก้น/ko:n6
of the decade
ก้นฯก฿ ฿บฯ ก้นกบ/kon6-kop5
กนฯก้฿ งึฯ ก้นก่ึง/ko:n6-k+?ŋ2 น.ปีมะโรง โทศก :the Year of the Dragon , the second year
กงฯน้฿ ฯอร ก้นงอน/ko:n6-ŋᴐ:n1
กแฯน้฿ งนฯ กน้ แง้น/ko:n6-ŋɛ:ŋ4 of the decade

กแฯน้฿ งฯม ก้นแงม่ /ko:n6-ŋɛ:m2 น.ปีจอ โทศก :the Year of the Dog, the second year of the
ก้นฯจ฿ รุ กน้ จนุ้ /ko:n6-cun4
ก้นฯต฿ ังฯ กน้ ตง๋ั /ko:n6-taŋ5 decade
ก้นฯแ฿ ตบฯ ก้นแตบ็ /ko:n6-tɛp4
ก้นฯท฿ ังฯ้พดฯอ กน้ ตัง่ ป๊อด/ สำนวน,ข่มใหอ้ ยูต่ ำ่ หรอื อย่ใู ต้อำนาจไม่ให้ขึ้นมาได้ control

กฯน้ท฿ ู ko:n6-taŋ3-pᴐt5 คำนี้ภาษาไทยล้านนา กับภาษาไทยกลางใช้และมี
กทฯน้฿ ูบาฯน ความหมายเหมอื นกัน ฮูข้ี กเ็ รยี ก :a buttom
กน้ ต/ู ko:n6-tu1 น.กน้ กบ :the coccyx
ก้นฯพ฿ ดู ก้นตบู า้ น/
น.ก้นงอนแอน่ :curved bottom / น้องฝา้ ยกน้ กง่ึ ,
กมฯน้฿ ูลี ko:n6-tu1-ba:n4
ว.ก้นงอน :sticking out bottom /สาวกน้ งอน
ก้นปู๊ด/ko:n6-pu:t5
ว.ก้นงอนมากจนแอน่ ขึ้น :curved and stickwg out bottom
กน้ มลู /ี ko:n6-mu:1-li:1 /สาวกน้ แง้น
น.ชื่อแมลงตวั เล็กกน้ มสี องแฉก :a kind of insect

น.ตูดไก่ :chicken anus

สำนวน.นง่ั นานไม่ยอมลุก,คนน่งั คุยตดิ ลม :carried away

ว.กน้ แฟบ,ก้นแบน :flat bottom /ก้นแต็บ

ก.หกล้มกน้ กระแทก :fall on one’s own bottom
/โกน่ ตกก้นตงั่ ป๊อด
น.ส่วนหนึง่ ๆหลังบ้าน :the back of a house /หิงไฟอยู่ก้นตู

น.หลังบา้ น :the back of a house

น.ก้นเป็นริดสีดวง, ก้นบวม, :hemorrhoids, piles น๒. นก
กระปดู :areater coucal (Centropus sinessis) /นัง่ บ่ไดก้ น้ ปู๊ด
น.ก้นบุหรี่,ส่วนที่สูบแล้วเหลือทิ้งของบุหรี่ :cigarette butt,

cigarette stub

๔ พจนาฯนกุ รฯ฿ลฯม านฯนาฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ตัว๋ เมอื ง คำอ่าน ความหมาย

กบ฿ ฯ กบ/kop5 น๑.น.ชื่อมาตราที่มีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด เรียกว่า มาตรา
กบหรือแม่กบภาษาไทยล้านนาและไทยกลางใช้เหมือนกัน
ก฿ฯม กม๋ /kom5 น๒.ชอื่ สัตวค์ รงึ่ บกครงึ่ น้ำ :frog น๓. กบไสไม้ :plane
น๑.ชื่อมาตรที่มีตัว ม สะกด เรียกว่า มาตรกม หรือแม่กม
กวฯ฿ กว๋ั /kua5 ภาษาไทยล้านนาและไทยกลางใช้เหมือนกัน น๒.กลม
:round, spherical / กินเหลา้ หมดไปกม๋
กง กะงะ/ka1-ŋa1 ก.หวาด,คร้าม,พรั่งพรึง,หวั่นรู้สึกไม่อยากพบกับสิ่งใด :to
fear, be afraid /กัว๋ เจ็บ กั๋วไข้ กว๋ั ตา๋ ย//กัว๋ ก้นั อยาก
กงอฯก กะง็อก/ka1-ŋᴐ:k4 ว.อ้า,อ้าออก :to open, gape, opened (up, out)/ นั่งอ้ากะงะ
//แผลอ้ากะงะ
กงฯองกแงงฯ กะง็อกกะแงง้ / ก.ผงก,ผงกหัว :to look up, raise (one’s) head; to nod (at
someone), to raise; to look up /มันกะงอ็ กหัวฮ้องขา้ เขา้ ไป
ka1-ŋᴐ:k4-ka1-ŋɛ:ŋ4 ว.คดไปคดมา,กะเง้ากระงอด,ไม่ลงรอยกัน :meandering,

กงฯอบๆ กะง็อบๆ/ bent, crooked, curved, not straight; devious, deceitful,
กณ
ka1-ŋᴐ:p4-ka1-ŋᴐ:p4 crooked /ผดิ หวั กันกะงอ้ งกะแงง้
ว.ผงกหวั หลายๆ ครงั้ :to look up, raise (one’s) head
กณะ/ka1-na?4 /ไหวฮ้ บั ผดิ กะงอ็ บๆ
ก. คณนะ, คณะ :to count, to calculate /กณะสงฆ์//กณะ
กตฯนิกตฯรอ กะต่ินกะต่อน/ สทั ธา
ว.กระท่อนกระแทน่ :to be in tatters, tattered
กถาน ka1-tin2-ka1-tᴐ:n2 /ปุดกะตนิ่ กะต่อน
กาท้ฯ น.ล้านลา้ นอกั โขภนิ ี :million millions,countless
กถานะ/ka1-tha:1-na1
กทำ/ka1-tam1 ก.กระทำ,ทำ :to do, commit, act, make /กทำพลีกั๋มม์ตาน
หาคนตา๋ ย
กท้า กะต๊ำ/ka1-tam6 น.เครื่องดกั สตั ว์ :trap
กเทิยฯ กะเทย/ka1-tɛj1
น.คนที่มีจิตใจทั้งชายและหญิง และบุคลิกภาพภายใน
กบ้ี,กาบี้ กะบี้,กำ๋ บ/ี้ ka1-bi:6 ภายนอกตรงกนั ขา้ มกับเพศของตน :hermaphrodite
กเบฯ,ิ้อ กาเบิ้ฯอ น.แมลงปอ :dragonfly, daming needle
กะเบ้อ,ก๋ำเบ้อ/
กปื น.ผีเส้อื :butterfly
ka1-bə:?6
น.กระบิล,ระเบียบแบบแผน,หลักการ,วิธีการ :method, rule,
กะปือ/ka1-p+?5
regulation, procedure
กปเื มฯงิอ กะปือเมือง/
น.กฏระเบียบของบา้ นเมอื งที่ต้องปฏิบตั ิอย่างเคร่งครดั
ka1-p+?5-m+?ŋ1
:the law

๕ พจนาฯนกุ รฯ฿ฯลม านฯน าฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ตั๋วเมือง คำอา่ น ความหมาย

กยฯก เกย๋ี ก/kiak5 น.รองเท้า shoes, footwear ดู เกบิ ก.คลุก,เกลอื ก
:to wallow; to roll about /เกย๋ี กกง้ิ
กยฯง เกย๋ี ง/kiaŋ5 น.เดอื นอ้าย :first month ก.ขดี กา,ขีดไขว้ :cross: plus sing;
กยงฯ ฅา
กยงฯ ดงฯัไฅวฯ เกี๋ยงฅำ/kiaŋ-kham1 multiplication sing
เกย๋ี งดงั ไฅว่/
กยงฯ พรฯา น.ชือ่ ตน้ ไม้ ลำเจยี ก :a kind of plant
กยงฯ พรฯาชาฯง kiaŋ5-daŋ1-khwaj3 น.ชอ่ งจมูก,บรเิ วณท่รี จู้ มกู ไปบรรจบกัน :nostril

กยฯงพรฯาไย เก๋ียงผา/kiaŋ5-pha:5 น.ชอ่ื พรรณไม้พุ่มเตี้ย เรียก เฉยี งพร้ามอญ :a kind of plant
กยฯงพรฯาไหลฯ เกีย๋ งผาจา๊ ง/ น.ชื่อพรรณไมล้ ้มลกุ ชนิดหน่ึง :a kind of plant

กยฯงภา kiaŋ5-pha:1-ca:ŋ4 น.ชื่อพรรณไม้ล้มลุกชนดิ หนึง่ :a kind of plant
กยฯงหลฯวง
กยฯบ เก๋ยี งผาไย/ น.ชื่อพรรณไม้ชนดิ หนึ่ง เรียก ราชาวดีป่า :a kind of plant

กยฯว kiaŋ5-pha:5-ῆaj1 น.ตน้ กระดูกไกด่ ำ :a kind of plant
น.ชอ่ื พรรณไมพ้ มุ่ กง่ึ ยนื ตน้ ชนิดหนึ่ง : a kind of plant
กยวฯ เกี๋ยงผาไหล/ ว.จน,เกือบจะ :almost, nearly, approaching /แถมน้อย
เกยี บแผ๋วละ น.ไมส้ ำหรับคบี อาหาร
กยฯวกมฯอ kiaŋ5-pha:5-laj1 ก.ตระคริว :cramp เก็บเก่ยี ว เกี่ยวพนั :to harvest rice
กยฯวกานฯ /เลน่ น้ำเยน็ เลยเปน็ เก่ยี ว
กยวฯ ข฿บฯ เกีย๋ งภา/kiaŋ5-pha:1 ก.ล้อม,อ้อม,วกวน,คดเคี้ยว :winding, snaking, curving,
กยวฯ จอ้ฯ เกย๋ี งหลวง/kiaŋ5-luaŋ5 meandering, tortuous, sinuous /บ่แผวสักเตื่อเดินเกี้ยวไป
กยวฯ ชฯัก เกย๋ี บ/kiap5 เกี้ยวมา/อ้บู ฮ่ เู้ รอ่ื งอูเ้ กี้ยวไปเก้ยี วมา
กยฯวเลอิฯด น.กล้ามเนื้อเกรง็ เป็นตะคริว :cramp
กยฯวสท฿ฯก เกี่ยว/kiaw2 น.ชื่อโรคชนดิ หนึง่ :a kind of disease
น.ชอ่ื โรค มีอาการปวดตามมอื ตามเท้า :a kind of disease
เกี้ยว/kiaw3 น.ช่ือโรคชนิดหนึง่ :a kind of disease
น.ชือ่ โรคชนิดหนึง่ มอี าการชักกระตุก :a kind of disease
เกย่ี วก้อม/kiaw2-kᴐ:m6 น.ชอ่ื โรคชนิดหนง่ึ เลอื ดเดินไมส่ ะดวก :a kind of disease
เกี่ยวกา๋ น/kiaw2-ka:n5 น.ช่ือโรคชนิดหน่งึ มอื เท้างอ มอี าการหดตวั ของเสน้ เอน็
เกย่ี วขบ/kiaw2-khᴐ:p1
เกย่ี วจ้อ/kiaw2-cᴐ:6 : a kind of disease
เกี่ยวจั๊ก/kiaw2-cak6
เกย่ี วเลอื ด/kiaw2-l+?t1
เกี่ยวสะต๊ก/

kiaw2-sa-tᴐ:k6

๖ พจนาฯนกุ รฯ฿ลฯม าฯนนาฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ตว๋ั เมอื ง คำอ่าน ความหมาย

กรฯ1 ขะ/kha1 คำนี้จะพบมากในภาษาไทยกลาง ที่ไทยล้านนายืมมาใช้
เรียกว่า ก๋ะ ใส่ (ระ)โฮง ซึ่งจะออกลดเสียงเป็น ขะ ใน
กรฯ฿งฯ ขง/khᴐ:ŋ1 พจนานุกรมฉบับนี้ จึงไม่แสดงคำศัพท์นี้มากนักเพราะ ดังท่ี
กล่าวคือเป็นคำที่มีความหมายจะตรงภาษาไทยกลาง และ
กรฯกลู ฯ ขก๋ลู /kha1-ku:n5 ปราชญ์ภาษาไทยล้านนาได้ยืมคำมาใช้จากคำว่า กร,กระ
กรฯแจ ขะแจ๋/kha1-cɛ:5 โดยนำ กะ เข้าระโฮง ลดเสียงเป็น ขะ เช่น กราบ เป็น ขาบ
กรฯดฯอกกรฯแดกฯ็ ขะด็อกขะแดก็ /kha1 ,กระจก เป็น ขะจก, กระจาย เปน็ ขะจาย กระจบั เปน็ ขะ
จับ ฯลฯ ที่สำคัญ ก ควบกล้ำ ร ภาษาไทยล้านนาเดิมไม่
กรฯ,ฯน ข฿ฯน -dᴐ:k5-kha1-dɛ:k5 ปรากฏการใช้ แต่มีการใช้ในยุคสมัยรัตนโกสินทร์ เพื่อให้
สามารถใชก้ บั อทิ ธพิ ลของภาษาสมัยใหมไ่ ด้อยา่ งสอดคล้อง
ขน/khᴐ:n1 น๑.(กรง)สิ่งที่ทำด้วยไม้หรือเหล็กเป็นซี่ๆ ใช้สำหรับขังสัตว.์
น๒.ซุ้มจรนำ,ทต่ี ้งั พระพทุ ธรปู ในซุม้ : cage
กรฯสฯตั ขะสตั /kha1-sat1 น.ตระกลู : family, lineage, race, stock
กรฯอูบแกวฯ
ขะอบู แกว้ / น.กุญแจ : a key (for opening a lock)
กรฯะหลฯ้มอ
kha1-?ᴐ:p2-kɛ:w6 ว. กระดกขึ้นลง : to bounce up, raise up, lift up /นั่งซ่อย
ขาขะด็อกขะแด็ก//นงั่ ซ่อยขากะ๋ ด๊อกกะ๋ แด็ก
ขะหลอ่ ม/ kha1-lᴐ:m2 ก.หายใจแรงมเี สยี งดงั ในลำคอขณะนอนหลับ : to snore
/คนอว้ นหลับมันจา่ งนอนขน//หลบั ขนคอกๆ
กรฯ้า ก่า/ka:2 น.เจ้าผปู้ กครองแผน่ ดนิ ,กษตั ริย์ : king

น.พระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า หมายถงึ คาสงั ่ สอน : the

mouth of Lord Buddha, menaing his teaching

น.คนไทยวน หรอื ลา้ นนา และคนไทยลอื เรยี ก ขอมว่า
“กระหลอ่ ม” name of Khmer, cambodian called by the Tai

Yuan of Lan Naa and Tai Lue

ว.กา.กระมัง,หรือ : a particle used to express doubt or
question /ก๋นิ เขา้ ละกา// หลบั ละกาหา

1 เรยี กว่า กะเขา้ ระโฮง พยัญชนะนป้ี ราชญล์ า้ นนา นำมาใช้เปน็ การประดษิ ฐ์คำเพือ่ ใหภ้ าษา
ล้านนา สมบรู ณใ์ นรูปลกั ษณข์ องตนเอง และการยมื คำ จากภาษาอื่นๆ เชน่ บาลี สันสกฤต เขมร
และไทยกลาง ซ่ึงพบว่า การใช้ กร นม้ี ีหลกั ดงั น้ี ๑. กร ล้านนา จะแทนคำออกเสียง เปน็ ขะ
๒. กร ลา้ นนา ไดใ้ ชค้ ำหรอื ยมื จากภาษาอนื่ ทข่ี ้ึนตน้ ดว้ ย กระ+? (ถา้ อ่านในคำลา้ นนา อา่ นออก
เสียงเป็น ขะ) กรฯสตฯั (ขะสตั ) แปลวา่ กษตั ริย์ ้้กรฯหอ้มฯม้(ขะหมอ่ ม) แปลวา่ มันสมอง กรฯอบู
(ขะอบู ) ผอบ

๗ พจนาฯนกุ รฯ฿ฯมลาฯนนาฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ตัว๋ เมอื ง คำอา่ น ความหมาย

กรฯ้ฯิง ขง่ิ /kiŋ2 ก. แคลงใจ : to be suspicious of, to doubt /บค่ ด๊ึ ขงิ่ อนั ใด
กรฯ้ยี าฯ ,ขียฯา
ขยี า/khi:1-ῆa:1 ก. กริยา, อาการ : manner, actions ว.สุดท้าย,คำใกล้จะจบ
การเทศน์ธรรม : sast, final, finally, /ขียาสังวรรณาจ๋าห้อง
กรฯ้สี ะ ขสี ะ/khi:1-sa1 เหตุฯ//กรยี าสงั วัณณาจ๋าห้องเหตฯุ
กรฯ้ณฯุ า ขณุ า (ป.)/khu1-na:1 น.คถู ,อุจจาระ : feces,stool, excrement

กลอฯก กะลอ็ ก/ka5-lᴐ:k5 น.ความสงสาร คดิ ช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ ใจในอันจะปลด
เปล้อื งบาบดั ความทุกข์ยากเดือดร้อนของปวงสตั ว์ : be
กลฯกอ กลฯยอ ฯ กะลอ็ กก๋ะล่อย/
kind to
กล็กฯอ นงฯอ ka5-lᴐ:k5-ka5-lᴐ:j2
กลอฯ้ง ก.กริยาที่ใช้ของคล้องไว้ที่แขน : to go arm in arm/ใส่กำไล
กะล็อกน่อง/ กะลอ็ กแขน
ว.รู้สึกปั่นป่วนในท้อง : abdomen pain /บ่สบายต๊องเป๋น
ka5-lᴐ:k5-nᴐ:ŋ2 กะลอ็ กก๋ะล่อย
ก.ซอกขาพับด้านใน,พับใน : calf /ลักเมากะล็อกนอ่ ง
กะล้อง/ ka5-lᴐ:ŋ4
ก.คล้อง,คล้องไว,้ เกีย่ วไว้ : strai easten, bing /กะลอ้ งแขนไว้
กลบฯอ ๆ กะลอ๊ บๆ/ka5-lᴐ:p5 /เอาผา้ ตอ่ งกะล้องคอ
กลฯ2 กะละ/ ka5-la1 ก.ตกกลิง้ เสยี งดัง:fall with lovd noise/เมาหลา้ ก้ิงกะลอ๊ บๆ

กลฯองอุยฯ กอ๋ งอยุ้ /ko:5-?u.j6 เป็นคำควบกล้ำ ภาษาไทยล้านนาไม่นิยมใช้ และไม่นิยม
กลฯอม กอ๋ ม/kᴐ:m5 อ่านออกเสียง ล. กล้ำ แต่ในสมัยปัจจุบันจะใช้เขียนตาม
ภาษาไทยกลางหรือภาษาอื่นและส่วนใหญ่เป็นคำยืม ดังจะ
กลฯา้ ,กา ก้า/ka:6 ยกตัวอยา่ งในพจนานกุ รมฉบบั นบ้ี างส่วน : custered words
น.กลองชนิดหน่ึง : a kind of drum
กลฯาก,ฯ กากฯ กาก/ka:k1
กลฯางฯ,กางฯ กา๋ ง/ka:ŋ5 น.กลุ่มชาติพันธ์,ขอม : an ethnic group called Krom non-

Tai people

น.ต้นข้าวหรอื พชื ทเ่ี พาะเป็นต้นออ่ น: a rice seedling
ว.แขง็ แรงมาก,ใจนักเลง : brave, ourageous/สวกกา้
ก.มคี วามตอ้ งการทางเพศสงู /สาวกา้
น.เชื้อโรคผิวหนังอย่างนึ่งเกิดจากเชื้อรา : pityriasis

versicolor

ว.กลาง : middle, center, intemediate; central; neutral

2 คำที่ประกอบด้วย กล ทุกคำจะเป็นภาษาไทยกลางที่ชาวไทยล้านนาใช้เขียนทับศัพทภ์ าษาไทยกลาง แต่ก็ออกเสียงสำเนียงภาษาไทย
ล้านนา ดังนั้นไทยล้านนาไม่ปรากฏการออกเสียงควบกล้ำ กล แต่จะปรากฏในการเขียนที่นักปราชญ์ล้านนาได้ยืมคำจากภาษาอ่ืน
โดยเฉพาะไทยกลาง เชน่ กลาฯ งฯ (ก๋าง) แปลวา่ กลาง กลฯ฿ว (ก๋ัว) กลัว ้กลฯอง (ก๋อง) กลอง, กลอฯร(กอ๋ น) กลอน(ประตู),

๘ พจนาฯนกุ รฯ฿มลฯ านฯนาฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ตั๋วเมือง คำอา่ น ความหมาย

กลาฯ ยฯ,กายฯ กา๋ ย/ka:j5 /ก๋างบ้านก๋างเมือง
ก . เ ป ล ี ่ ย น ไ ป , แ ป ร ป ร ว น ไ ป : to change, become, be
กล้ฯงิ กลงิ่ ,ขิง่ /khiŋ2 converted(to) น.ลักษณะของบุคคล,รูปร่าง/ย่างก๋ายไปก๋าย
มา//บา่ ขามมนั ก๋าย
กลางฯ กะลา่ ง/ka5-la:ŋ2 ก.คดิ ถงึ : to think of /ขงิ่ หา//กล่ิงเติงหา

กลฯกิ กะลกิ /ka5-lik4 น.ใต้ถุนบ้าน,ข้างล่าง : under, below, undemeath, beneath;
downstairs /กิ๋นขา้ วปืน้ กะลา่ ง
กลกฯิก ลฯนิ กะลกิ กะลิ่น/ ก.คลึงไปมา : to roll into a ball with the hand; to massage
กลฯกึ /กะลิกไปมา
ka5-lik4-ka5-lin3 ก.จับ,ต้อง,นวด,จับนวดเฟ้น : to roll into a ball with the
hand; to massage /บีบกะลกิ กะลนิ่
กะลกึ /ka5-l+k4 ก.คึกคักเหมือนม้าดีดกะโหลก : spirted, high-spirited,
mettlesome /มันฮา้ ยกะลึกๆ
กลบื ฯ กะลึบ/ka5-l+:p4 ว.ลักษณะของที่วางกองกันมากมาย : to pile up; to bank up
/หนังสอื ก๋องกะลบึ
กลุม กะลมุ / ka5-lum1 ก.คลมุ : to cover, envelop /เอาผ้ากะลมุ หวั
กเล้บิ ฯ กะเลิบ/ ka5-lə:p3
กเลิ้บฯ กะเลบ้ิ /ka5-lə:p4 น.กระเป๋า : bag; pocket
กวอกฯ กแวฯก กะวอกกะแวก/ ka5
น.กระเป๋าหิว้ : portable
กวอฯมกแวฯม -wᴐ:k1- ka5-wɛ:k1
ก.สกปรก มอมแมม : dirty, unclena, soiled, filthy
กวฯง กะว่อมกะแวม่ /ka5 /เหม็นกะวอกกะแวก
กรฯว ว.จุกๆจิกๆ,กระจุกกระจิก : fusse, finicky; annoying,
-wᴐm3- ka5-wɛ:m3 bothersome, irritating /กะว่อมกะแวม่
ว.กลวง,โพรง : cavity, hole, hollow, void /ไมต้ น้ น้กี ว๋ งใน
ก๋วง/kuaŋ5
ก๋วน/kuan5 ก.รบกวน,วุ่นวาย : disorganized, to disturb, trouble
/ก๋วนใจ๋/กว๋ นมือ//กว๋ นแฅง่ ก๋วนขา
กมฯว ก๋วม/kuaj5 ก.คร่อม,ครอบ,สวม,ครอบ,สุบ,สวดก๋วม คือสวดครอบคุม
,ทบั ,ซอ้ น : to straddle, bestride, be astride, bridge
กยฯว ฯ ก๋วย/kuaj5 /บด่ ีแป๋งบา้ นกว๋ มถุขา้ ว
กยฯว ฯ กว๋ ย/โกย๋ /kua.j5 น.ตะกร้า,ไกว : basket /เก็บผกั ใสก่ ๋วย

น.ตะกร้า,เคร่อื งใส่สิ่งของ : a bamboo basket

๙ พจนาฯนกุ รฯ฿ลฯม านฯน าฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ตัว๋ เมือง คำอ่าน ความหมาย

กยวฯ้ฯ กว้ ย/kuaj6 น.กล้วย : banana คำว่ากล้วย ในภาษาล้านนาปัจจุบันจะ
พบว่ามีการเขียนตามภาษาไทยกลาง คือ กล้วย กลฯ ้วฯยฯ้
กฯยว ฯไข ก้วยไข่/ kuaj6-khaj2 สามารถเขียนได้ทั้งสอง ในส่วนตัวข้าพเจ้า คำว่ากลว้ ย เขียน
กยฯว ฅฯ าฯว ก้วยฅา้ ว/kuaj6-kha:w4 แบบเดิมเพราะง่ายต่อการออกเสียงและคนล้านนาก็เข้าใจ
กยฯว ฯตบีฯ ก้วยตีบ/ kuaj6-ti:p2 ความหมายไมม่ เี ปน็ อื่น ถ้าออกเสียง กวฯยฯ {ก้วย}
กยวฯ้เฯ ทดฯ ก้วยเต้ด/kuaj6-te:t3 น.กล้วยไข่ : kluai khai banana
กวฯยอฯ งอฯ กว้ ยอ่อง/ kuaj6-?ᴐ:ŋ2
กวฯรเกา น.กล้วยหอมใหญ่ : cultivated banana
ก๋วนเกา๋ /kuan5-kaw5
กะฯว น.กล้วยตานี : Tani banana
กา้ฯว กวัะ/kua?5
กาฯว ฯง น.มะละกอ : papaya
กาวฯ้ ฯงกิด฿งฯ กวา่ /kwa:2
กาวฯ้ งฯแซฯม กว่าง/kwa:ŋ2 น.กล้วยน้ำว้า,กล้วยใต้,กล้วยมะลิอ่องก็ว่า : a kind of
กาวฯ้ ฯงโซงฯ กว่างกดิ ง/
กา้ฯว ลฯง ง้ึฯ banana
กา้ฯว อฯง ีหลฯมุ้ kwa:ŋ2-ki?5-doŋ1
กาวฯ้ เชฯน ก.รบกวน,วุน่ วาย : disorganized, to disturb, trouble
กาวฯ้ นฯ กวา่ งแซม/ /ก๋วนเก๋าด่าชีตีพราหมณ์
น.ภาชนะไม้คน้ แบนมขี อบสำหรับหยง่ ข้าวเหนียวนึง่
กา้ฯว นฯติฯน kwa:ŋ2-sɛ:m1
: a wooden or woven-bamboo tray
กดิวฯ้ กวา่ งโซ้ง/ kwa:ŋ2-so:ŋ2
กสฯนิ กวา้ งล้ึง/kwa:ŋ6-l+:ŋ4 ก.ไป : to go /จำ๋ กว่า
กว่างอีหลมุ้ /
น.แมลงปกี แขง็ มเี ขา : rhinocerus beetle
kwa:ŋ2-?i:1-lum4
น.กว่างขนาดเล็กมเี ขานนั้ เล็ก : small beetle
กว่าเจน่ /kwa:ŋ2-cɛn2
กว๊าน/kwa:n4 น.กว่างชนขนาดกลาง : medium beetle

กวา้ นติ๋น/kwa:ŋ6-tin5 น.กวา่ งชนขนาดใหญ่เขายาว : large beetle

กวิ๋ด/kwit5 ว.กวา้ งมาก : very wide /โถงวิหารกวา้ งลง้ึ
ก๋ะสนิ / ka5-sin1
น.กว่างตวั เมีย : female beetle

ว.เกนิ ขนาด : excessive /จะเตียวไปแผวกว่าเจ่น

น๑.โรงศาล : court, joss house น๒.ชอ่ื ทะเลสาบแหง่ หน่ึงใน
จังหวัดพะเยา. ก.ควานให้กวา้ งออก/กว๊านออก//กว๊านฮู
ว.ค่าป่วยการไปรักษาคนป่วยหรือไปว่าความ : commission,
service charge /กา่ กวา้ นต๋ิน
น. มะขวิด : elephant apple

น.เครื่องหมายสำหรับเพ่งอารมณ์กัมมัฏฐาน : signs of

concentration

๑๐ พจนาฯนกุ รฯ฿ฯลม านฯน าฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ต๋ัวเมือง คำอา่ น ความหมาย

กสินฯ กะ๋ สิน (ป.)/ ka5-sin1 [กสิณ] น.วัตถุอันจูงใจ, วัตถุสำหรับเพ่งเพื่อจูงจิตให้เป็น
สมาธิ : object of concentration
กเสมฯ ก๋ะเสม/ ka5-sɛm1 น.ยนิ ด,ี เกษม,เบกิ บาน,เปน็ สุข : happiness, felicity, happy
กห฿ลฯก ก๋ะหลก/ ka5-lok5
น.เครื่องเคาะตีสัญญา,เกราะ : clapboard, to strike the
กหงฯะ กะ๋ หงะ/ ka5-ŋa5
clapboard to call(villagers) to meeting
กหรฯ้ยงฯ ก๋ะเหรย่ี ง/ ka5-liaŋ2
กหรฯ้ฯี ก๋ะหร่ี/ ka5-li:2 ว.แยก,หา่ ง : divided, disunite broken apart
/ไม้แตกอา้ กะหงะ
กห็ลฯกกฯ็อก้ กะ๋ หลอ็ กก็อกแกง้ /ka5 น.ชือ่ ชาวเขาเผา่ หนึ่ง : a tribe (karen)
แกฯง้
กหลฯ้อกฅฯอ้ -lᴐ:k6-kᴐ:k6-kɛ:ŋ3 น๑.หญิงโสเภณี : prostitute น๒.ชื่ออาหารเครื่องแกง

กหลฯ้อกนฯอง ก๋ะหลอ็ กฅอ/ name a curry

กหล้ฯอก ka5-lᴐ:k6-khᴐ:1 น.เล่นหมอข้าวหม้อแกงของเด็ก, เสียงดังก้องแก้ง : name a
กหลฯ้ัด
ก๋ะหล็อกน่อง/ playing

ka5-lᴐ:k6-nᴐ:ŋ2 น.ซอกคอ : neck corner

กะ๋ หล็อก/ ka5-lᴐ:k6 น.ซอกขาพบั ,ซอกดา้ นหลังของเข่า : back calf
ก๋ะหลดั /ka5-lat5
น.ภาชนะใสน่ ำ้ เลก็ : dipping bowl
กหลฯา กะ๋ หลา/ka5-la:5
ก.ปดิ ,ขัดขวาง,เสยี บขัดไวใ้ หอ้ ยู่ : interrupt, break in /เอาไม้
กหลฯ้ดิ กะ๋ หลิด/ka5-lit5 กะหลดั ฮว้ั
น.เข้าเทียบคู่กัน,ถ่วงดุล : to pair off, to find a mate, to
กหลฯ้ิ้ง กะ๋ หลิ้ง/ka5-liŋ6 balance; to offset /เฮือท้ายจะจมเอาถุงทรายใส่กะหลา
กหวะฯ กะ๋ หวะ/ka5-wa5 หวั เฮือ
กแหลง้ฯ กะ๋ แหลง้ /ka5-lɛŋ6 น.เสียบกลัด/เย็บกลัด/ไม้กะหลิด/เข็มกะหลิด : safety pin;

กแหลง้ฯ กฯน฿้ ก๋ะแหลง้ กน้ / brooch, pin
กโหลฯก
ka5-lɛŋ6-kon6 ก.จ๊ักจ๋ี : to feel funny, be sort embarrassing /จ๋กกะหลิ้ง

ก๋ะโหลก/ ka5-lo:k6 ว.แยก,ห่าง : decisive thoroughly /แผลอ้ากะหวะ

กโหลฯ้ง ก๋ะโหล้ง/ka5-lo:ŋ6 ก.ไขว้กนั ,ขดั กนั : to be in conflict (with), to interrupt
/ไม้กะแหลง้ //มอื กะแหล้งก้น
ก.เอามือไขว้ไว้ข้างหลับปิดก้น : to be in conflict (with), to
interrupt /เอามอื กะแหล้งก้น
น.กะโหลก : skull, cramium ว.หยาบ,ไมเ่ รยี กร้อย
/กะโหลกโกกกาก
น.กะลา,ส่วนทีแ่ ข็งทีห่ ุม้ เนอ้ื : coconut shell

๑๑ พจนาฯนกุ รฯ฿ฯลม านนฯ าฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ตั๋วเมือง คำอ่าน ความหมาย

กโหลฯ้งบานาฯ้้ฯ ก๋ะโหล้งบ่านำ้ / น.กะโหลกนำ้ เตา้ : bottlegourd shell
ka5-lo:ŋ6-ba:2-nam6
น.กระโหลกมะพรา้ ว : coconut shell
กโหลงฯ้ บา กะ๋ โหล้งบ่าป๊าว/
พรฯา้ วฯ ka5-lo:ŋ6-ba:2-pa:w6 น.กะโหลกศีรษะ : cranium, skull

กโหลฯ้งหวฯ฿ กะ๋ โหลง้ หวั / น.จอก,ขันน้ำขนาดเล็ก : a small bowl
กฯกอ ว.โผล่ออกมาสนั้ ๆ : to emerge, crop up /หำสดมากอ็ กด็อก
ka5-lo:ŋ6-hau5 น.นกพิราบ : pigeon
น.หมู่,พวก,เหล่า : group, party, band, company, gang, กอง
ก็อก/kᴐ:k5 (รวมกนั ) : to heap, pile(up) ,กลอง(ต)ี : drum
ก๑.ดึงลง,โน้มลง : hunchback, hump-back /จักก่องกิ่งสะ
กอฯกดฯอก กอ็ กด็อก/kᴐ:k5-dᴐ:k5 เลียม ก๒. โก่ง,โค้ง : arched (eyebrow) ว.หลังโก่ง :
hunchback, hump-back / เดนิ หลงั ก่องคอยอ
กฯแอ ก กอ๋ แก/๋ kᴐ:5-kɛ:5 น.ท่อ,หลอด : a long hallow tube /กอ้ งเป่าไฟ/กอ้ งดูด
น.กลองตอ๊ บ : a name drum
กงอฯ ก๋อง/kᴐ:ŋ5 น.ไม้ไผ่ ๒ อันผูกติดปลายคันยอไว้เสียบขายอ : wood leg a

กองฯ กอ่ ง/ kᴐ:ŋ2 dip net(for fishing), bamboo lift net

กงอฯ กอ้ ง/kᴐ:ŋ6 น.เถาวลั ย์ชนิดหน่ึงใช้ทำยา : a kind of vine
กงฯอ ก฿บฯ กอ๋ งกบ/kᴐ:ŋ5-kᴐ:p1 ว.กองพะเนิน : pile(of) /ตานข้าวนักกอ๋ งโก้ก๋องโกด
กงฯอ แกงฯ ก้องแกง้ /kᴐ:ŋ3-kɛ:ŋ3
ก.เดินหลังโก่ง : to bend, flex, humpback /คนเถ้าเวลาเดิน
กง้ฯอ แกบฯ กอ้ งแกบ/kᴐ:ŋ3-kɛ:p5 ก่องเกาะ
กงฯอ โกกฯองโกดฯ น.ภาชนะสำหรับใส่ข้าวเหนียว : woven bamboo contaitne
ก๋องโก้ก๋องโกด/
กงฯอ โกอฯะ for steamed glutinous rice
kᴐ:ŋ5-ko3- kᴐ:ŋ5-kot5
ว.มากมาย. จำนวนมาก : many, much /นอนเหยี่ ก๋องฅะลบึ
กอ่ งเกาะ/kᴐ:ŋ2-kᴐ?5
น. กำหนดยามเท่ากบั เวลา ๐๗.๒๐-๐๙.๓๐ น. : moming
กอฯงเขา้ั กอ่ งเขา้ /kᴐ:ŋ2-khaw6 น.หีบเสียง : gramophone, phonograph, record player
น.นอนราบ : to lie flat /ตาย ว่า เสรจ็ ก่องด่อง
กอฯงฅลบึ ฯ ก๋องฅะลึบ/ น.กลองขนาดเล็กตีให้จงั หวะกลองใหญ่ กอ๋ งตงเตงก็วา่
กอฯงงายฯ
kᴐ:ŋ5-kha5-l+p5 : Snare drum

กอ๋ งงาย/kᴐ:ŋ5-ŋa:j1 น.กองโต,กองสงู ใหญ่ : to heap, pile(up)/คำมีก๋องต้านง่าน

กฯองซ้อฯ ก้องซอ/kᴐ:ŋ3

กอฯงดฯอง ก่องด่อง/kᴐ:ŋ2-dᴐ:ŋ2

กงฯอ ตะหลฯ฿ดปฯด฿ กอ๋ งตะหลดปด,
กอ๋ งตงเตง/
,กองฯ ต฿งฯเตฯง
kᴐ:ŋ5-ta1-lᴐ:t1-pᴐt5

กอฯงทาฯนงานฯ ก๋องต้านง่าน/

๑๒ พจนาฯนกุ รฯ฿ฯลม าฯนนาฯ-ไทยฯ พจนานุกรมลา้ นนา - ไทย

ตั๋วเมอื ง คำอ่าน ความหมาย

กงฯอ ปชู า kᴐ:ŋ5-tan2-ŋa:n2 น.กลองบูชา ใช้ตีเมื่อมีงานฉลองหรือวันโกน : a drum
กงฯอ ฟอฯร
ก๋องปูจา/ usually worship

kᴐ:ŋ5-pu:5-ca:1 น.กองฟนื ใชส้ ำหรบั เผาศพ กองหลัวก็ว่า,เชิงตระกอน

กอ๋ งฟอน/kᴐ:ŋ5-fᴐ:n1 : ashes remaining after cremation; funeral pyre

กงฯอ มฯงอ เชฯิง กอ๋ งมองเจิง/ น.กลองที่พวกเงี้ยวตีและฟ้อน,กลองชิงมองก็ว่า : a kind of

กงอฯ มอู ยฯา kᴐ:ŋ5-mᴐ:ŋ1-cə:ŋ1 drum

กงฯอ ลกู ตุบ กอ้ งมูยา/ น.กล้องยาสูบ, ก้องปูยาก็วา่ : pipe

กงฯอ แลงฯ kᴐ:ŋ3-mu:1-ῆa:4 น.กลองประกอบกลองบูชา : a kind of drum
กอฯงสบัไฯด ชยฯ
กอ๋ งลูกตุบ/ น.กำหนดยามเทา่ กบั ๑๖.๐๐-๐๗.๐๐ น. : Late aftemoon
กอฯงแอวฯ
กดฯอ kᴐ:ŋ5-lu:k1-tup1 น.กลองตีเอาฤกษ์เอาชัย : double-headed long drum use

ก๋องแลง/kᴐ:ŋ5-lɛ:ŋ1 in victory processions

ก๋องสบดั ไจย/ น.กลองขนาดยาวมแี อวคอด : a kind of drum

kᴐ:ŋ5-sa1-bat1-caj1 ก.ขาดไป : constricted, narrow/ดอยแก่นนี้กับแก่นนี้มันก็
อด
กอ๋ งแอว/kᴐ:ŋ5-?ɛ:w1 ก.ตอนกิ่ง,เข้าเฝือก,แถมให้,เพิ่มให้,สองเท่า : to castrate
/ก๋อบขา//กอ๋ บแผล
ก็อด/kᴐ:t6 น.มาตราตวง ๒ กำ เป็น ๑ กอบ : unit of volume; amount

กบฯอ กอ๋ บ/kᴐ:p5 held by two bhands together

กอฯบ กอบ/kᴐ:p2 ล๑.ท่อน : a collective noun for various things a piece
กฯอม กอ้ ม/kᴐ:m6 /ตัดไม้เปนก้อมๆ ล๒.ท่อน,สั้น, ท่อนสั้นๆ : section,
segment, length /อ้กู อ้ ม//สวกก้อม
กมฯอ ค่ฯอ กอมกอ้ /kᴐ:m5-kᴐ:4 น.กะเพรา : holy basil
กอฯยฯ ก๋อย/kᴐ:j5
กอฯยฯ กอ้ ย/kᴐ:j6 น.ไม้เถามีหนามชนดิ หนึ่งมหี วั ในดนิ ,กลอย : wild yam

กอฯยฯกุง ก้อยกุ้ง/kᴐ:j6-kuŋ4 น๑.น้วิ สดุ ท้ายท่เี ล็กท่สี ุด : little finger, pinkie น๒.ชอ่ื อาหาร
กอฯยปฯ ลฯา กอ้ ยป๋า/kᴐ:j6-pa:5 ชนดิ หนง่ึ คลา้ ยยำ ก้อยปลา, ก้อยกุ้ง : a raw-shrimp dish
กอฯร กอ๋ น/kᴐ:n5 น.อาหารใช้กุ้งดิบยำ : a raw-shrimp dish
กอฯร กอ่ น/kᴐ:n2
น.อาหารใชเ้ นอื้ ปลาดบิ ยำ : a raw-fish dish
กอฯรแแลฯ ก่อนแล/kᴐ:n2-lɛ:1
น.บทประพันธ์ : poem, verse, poetry, rhyme

น.ชื่อหญ้าชนิดหนึ่ง หญ้าก่อน : golden beardgrass, lesser

tassel grass ช่วงเวลา first, before, prior(to)

คำลงท้าย,มักใช้เมื่อจบการแต่งคำประพันธ์ล้านนา : the

postscript is, often use when, end writing words writes
Lan Na
















































Click to View FlipBook Version