ความเป็ นมา
นิทานเวตาล ฉบบั นิพนธ์ พระราชวงศเ์ ธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีท่ีมาจาก
วรรณกรรมสนั สกฤตของอินเดีย โดยมีช่ือเดิมวา่ “เวตาลปัญจวงิ ศติ” ศิวทาสไดแ้ ต่งไวใ้ น
สมยั โบราณ
ต่อมาไดม้ ีผนู้ านิทานเวตาลท้งั ฉบบั ภาษาสนั สกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็น
ภาษาองั กฤษ โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตนั กไ็ ดน้ ามาแปลและเรียบเรียงแต่ง
แปลงเป็นสานวนภาษาของตนเองใหค้ นองั กฤษอ่าน แต่ไม่ครบท้งั 25 เรื่อง กรมหม่ืน
พิทยาลงกรณ ไดท้ รงแปลนิทานเวตาลจากฉบบั ของเบอร์ตนั จานวน 9 เรื่อง และจากฉบบั
แปลสานวนของ ซี. เอช. ทอวน์ ีย์ อีก 1 เรื่อง รวมเป็นฉบบั ภาษาไทยของกรมหมื่นพิทยา
ลงกรณ 10 เร่ือง เม่ือ พ.ศ. 2461
นิทานเวตาลเป็นนิทานท่ีมีลกั ษณะเป็นนิทานซบั ซอ้ นนิทาน คือ มีนิทานเรื่อง
ยอ่ ยซอ้ นอยใู่ นนิทานเรื่องใหญ่
ประวตั ิผแู้ ต่ง
พระราชวงศเ์ ธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ทรงชานาญดา้ นภาษาและวรรณคดีเป็น
พิเศษ ไดท้ รงนิพนธ์หนงั สือไวม้ ากมายโดยใชน้ ามแฝงวา่ “น.ม.ส.” ซ่ึงทรงเลือกจาก
ตวั อกั ษรตวั หลงั พยางคข์ องพระนาม (พระองคเ์ จา้ ) “รชั นีแจ่มจรัส”
ลกั ษณะคาประพนั ธ์
นิทานเวตาล แต่งเป็นร้อยแกว้ โดยนาทานองเขียนร้อยแกว้ ของฝรั่งมาปรับเขา้ กบั
สานวนไทยไดอ้ ยา่ งกลมกลืน และไม่ทาใหเ้ สียอรรถรส แต่กลบั ทาใหภ้ าษาไทยมีชีวิตชีวา
จึงไดร้ ับยกยอ่ งเป็นสานวนร้อยแกว้ ที่ใหม่ที่สุดในยคุ น้นั เรียกวา่ “สานวน น.ม.ส.”
เร่ืองยอ่
ในโบราณกาล มีเมืองท่ีใหญ่เมืองหน่ึงช่ือ กรุงธรรมปุระ พระราชาทรงพระ
นามวา่ ทา้ วมหาพล มีพระมเหสีที่ทรงสิริโฉมงดงามแมม้ ีพระราชธิดาที่ทรงเจริญวยั แลว้
ต่อมาไดเ้ กิดศึกสงครามทหารของทา้ วเอาใจออกห่าง ทาใหท้ รงพ่ายแพ้ พระองคจ์ ึงทรงพา
พระมเหสีและพระราชธิดาหลบหนีออกจากเมืองเพอ่ื ไปเมืองเดิมของพระมเหสี ใน
ระหวา่ งทางทา้ วมหาพลไดถ้ ูกโจรรุมทาร้ายเพ่ือชิงทรัพยแ์ ละสิ่งของมีค่า จนพระองค์
สิ้นพระชนม์ จนพระราชธิดาและพระมเหสีเสดจ็ หนีเขา้ ไปในป่ าลึก
ในเวลาน้นั มีพระราชาทรงพระนามวา่ ทา้ วจนั ทรเสน กบั พระราชบตุ ร ไดเ้ สดจ็ มา
ประพาสป่ าและพบรอยเทา้ ของสตรีซ่ึงเม่ือพบสตรีท้งั สองจะใหร้ อยเทา้ ที่ใหญ่เป็นพระ
มเหสีของทา้ วจนั ทรเสน และรอยเทา้ ที่เลก็ เป็นพระชายาของพระราชบุตร แต่เม่ือพบนาง
ท้งั กป็ รากฏวา่ รอยเทา้ ท่ีใหญ่คือพระราชธิดา และรอยเทา้ ท่ีเลก็ น้นั คือ พระราชมารดา
ดงั น้นั พระราชธิดาจึงเป็นพระมเหสีของทา้ วจนั ทรเสน และพระมารดาไดเ้ ป็นพระชายา
ของพระราชบตุ ร
เน้ือเร่ือง
เวตาลกล่าววา่ คร้ังน้ีขา้ พเจา้ เขม่นตาซา้ ยหวั ใจเตน้ แรง แลตากม็ ืดมวั เหมือนลางไม่ดี
เสียแลว้ แต่ขา้ พเจา้ จะเล่าเร่ืองจริงถวาย แลเหตุท่ีขา้ พเจา้ เบ่ือหน่ายที่ตอ้ งถูกแบกหามไป
หามมา
ในโบราณกาล มีเมืองท่ีใหญ่เมืองหน่ึงช่ือ กรุงธรรมปุระ พระราชาทรงพระนามวา่
ทา้ วมหาพล มีพระมเหสีที่ทรงสิริโฉมงดงามแมม้ ีพระราชธิดาท่ีทรงเจริญวยั แลว้ ต่อมาได้
เกิดศึกสงครามทหารของทา้ วเอาใจออกห่าง ทาใหท้ รงพ่ายแพ้ พระองคจ์ ึงทรงพาพระ
มเหสีและพระราชธิดาหลบหนีออกจากเมืองเพื่อไปเมืองเดิมของพระมเหสี ในระหวา่ ง
ทางทา้ วมหาพลไดถ้ ูกโจรรุมทาร้ายเพ่ือชิงทรัพยแ์ ละส่ิงของมีค่า จนพระองคส์ ิ้นพระชนม์
จนพระราชธิดาและพระมเหสีเสดจ็ หนีเขา้ ไปในป่ าลึก
ในเวลาน้นั มีพระราชาทรงพระนามวา่ ทา้ วจนั ทรเสน กบั พระราชบุตร ไดเ้ สดจ็ มา
ประพาสป่ าและพบรอยเทา้ ของสตรีซ่ึงเมื่อพบสตรีท้งั สองจะใหร้ อยเทา้ ท่ีใหญ่เป็นพระ
มเหสีของทา้ วจนั ทรเสน และรอยเทา้ ท่ีเลก็ เป็นพระชายาของพระราชบุตร แต่เมื่อพบนาง
ท้งั กป็ รากฏวา่ รอยเทา้ ท่ีใหญ่คือพระราชธิดา และรอยเทา้ ท่ีเลก็ น้นั คือ พระราชมารดา
ดงั น้นั พระราชธิดาจึงเป็นพระมเหสีของทา้ วจนั ทรเสน และพระมารดาไดเ้ ป็นพระชายา
ของพระราชบตุ ร
คร้ันกษตั ริยท์ ้งั สององคท์ รงกระทาสญั ญาแบ่งนางกนั ดงั น้ีแลว้ กช็ กั มา้ ตามรอยเทา้
นางเขา้ ไปในป่ า
พระราชากบั พระราชบุตรกเ็ ชิญนางท้งั สองข้ึนบนหลงั มา้ องคล์ ะองค์ นางพระบาท
เข่ืองคือพระราชธิดาข้ึนทรงมา้ กบั ทา้ วจนั ทรเสน นางพระบาทเลก็ คอื พระมเหสีข้ึนทรง
ชา้ งกบั พระราชบุตร สี่องคก์ เ็ สดจ็ เขา้ กรุง
กล่าวส้นั ๆ ทา้ วจนั ทรเสน แลพระราชบตุ รกท็ าวิวาหะท้งั สองพระองค์ แต่กลบั คู่กนั
ไป คือพระราชบิดาวิวาหะกบั พระราชบตุ รี พระราชบตุ รววิ าหะกบั พระมเหสี แลเพราะ
เหตุท่ีคาดขนาดเทา้ ผดิ ลูกกลบั เป็นเมียพ่อ แม่กลบั เป็นเมียลูก ลูกกลบั เป็นแม่เล้ียงของผวั
ตวั เอง แลแม่กลบั เป็นลูกสะใภข้ องผวั แห่งลูกตน
แลต่อมาบุตรแลธิดากเ็ กิดจากนางท้งั สอง แลบุตรแลธิดาของนางท้งั สองกม็ ีบุตรแล
ธิดาต่อๆกนั ไป
เวตาลเลา่ มาเพียงครู่หน่ึง แลว้ กล่าวต่อไปวา่
“บดั น้ีขา้ พเจา้ จะต้งั ปัญหาทูลถามพระองคว์ า่ ลูกทา้ วจนั ทรเสนที่เกิดจากธิดาทา้ วมหา
พลลูกพระมเหสีทา้ วมหาพลที่เกิดกบั พระราชบุตรทา้ วจนั ทรเสนน้นั จะนบั ญาติกนั
อยา่ งไร”
พระวิกรมาทิตยไ์ ดท้ รงฟังปัญหากท็ รงตรึกตรองเอาเร่ืองของพ่อกบั ลูก แม่กบั ลูก แล
กบั นอ้ งมาปนกนั ยงุ่ แลมิหนาซ้ามาเร่ืองแม่เล้ียงกบั แม่ตวั แลลูกสะใภก้ บั ลูกตวั อีกเล่า
พระราชาทรงตีปัญหายงั ไม่ทนั แตก พอนึกข้ึนไดว้ า่ การพาเวตาลไปส่งคืนโยคีน้นั
จะสาเร็จกด็ ว้ ยไม่ทรงตอบปัญหา จึงเป็นอนั ทรงน่ิงเพราะจาเป็นแลเพราะสะดวก กร็ ีบ
สาวกา้ วดาเนินเร็วข้ึน
คร้ันเวตาลทูลเยา้ ใหต้ อบปัญหาดว้ ยวิธีกล่าววา่ โง่ จะรับสง่ั อะไรไม่ได้ กท็ รง
กระแอม
เวตาลทูลถามวา่
“รับสงั่ ตอบปัญหาแลว้ ไม่ใช่หรือ”
พระราชาไม่ทรงตอบวา่ กระไร เวตาลกน็ ่ิงครู่หน่ึงแลว้ ทูลถามวา่
“บางมีพระองคจ์ ะโปรดฟังเรื่องส้นั ๆ อีกสกั เร่ืองหน่ึงกระมงั ”
คร้ังน้ีแมแ้ ต่กระแอม พระวิกรมาทิตยก์ ไ็ ม่ทรงกระแอม เวตาลจ่ึงกล่าวอีกคร้ังหน่ึง
วา่
“เม่ือพระองคท์ รงจนปัญญาถึงเพียงน้ี บางทีพระราชบุตรซ่ึงทรงปัญญาเฉลียวฉลาด
จะทรงแกป้ ัญหาไดบ้ า้ งกระมงั ”
แต่พระธรรมวชั พระราชบุตรน่ิงสนิททีเดียว
จดั ทาโดย นางสาว ธญั ญภรณ์ เลยเมือง ช้นั ม.4/3 เลขท่ี 31
ท่ีมาของขอ้ มูล : สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 22 กนั ยายน 2564 จาก
https://sites.google.com/site/phasathiym4/raywicha-phasa-thiy-chan-mathymsuksa-pi-thi4/bth-thi3-reuxng-
nithan-wetal-reuxng-thi10 และ https://sites.google.com/site/mosphitthawas/phasa-thiy/nithan-wetal-reuxng-
thi10