The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ap., 2024-01-17 10:39:00

ชาวกะเหรี่ยง

ชาวกะเหรี่ยง

ชาว กะเหรี่รี่ย รี่รี่ ง


หนังสื่อเล่มนี้จัดทำ ขึ้นมาเพื่อให้ผู้อ่าน ได้รับรู้ถึงความเป็นมาชาวไทยเชื่อสากะเหรี่ยง ศิลปะวัฒนธรรมของชาวกะเหรี่ยงบ้านหินสี เพื่อที่จะอนุรักษ์ไม่ให้ชาวไทยเชื่อสายกเหรี่ยง นั้นหายและถูกลืมไปจากสังคมไทย หวังว่าจะเกิดประโยชน์กับผู้อ่านและผู้ที่ สนใจเรื่องราวเกี่ยวกับกะเหรียงเป็นแนวทาง ในการหาข้อมูลของเรื่องนี้หาก มีข้อผิดพลาด ประการใดผู้วิจัยต้องขออภัยไว้มามา ณ ที่นี้ ด้วย คำ นำ ผู้จัดทำ นางสาวน้ำ ทิพย์ ไพรวัลย์คีรี เลขที่36 ชั้นม.6/9


01-03 -ความเป็นมาของชาวกะเหรี่ยรี่ง -กล่าวถึงตำ นาน -การย้ายถิ่นฐาน สารบัญ 04-07 -การตั้งถิ่นฐานของประชากรกะเหรี่ยรี่งใน ประเทศไทย -ลักษณะครอบครัว -การแต่งงาน -ลักษณะการสร้างบ้าน 08-10 -การแต่งกาย ชาย/หญิง 11-15 -อาหารชาวกะเหรี่ยรี่งในอดีต -ความหมายและความสำ คัญ -โอกาสและระยะเวลาในการทำ -เมนูอาหารของชาวกะเหรี่ยรี่ง 16 -การเกษตร


01 ความเป็นมา กะเหรี่ยรี่งเป็นชนเผ่าที่จัดได้ว่ามีหลายเผ่าพันธุ์ หลายภาษา มีการนับถือศาสนาที่ต่างกัน แต่กะเหรี่ยรี่งดั้งเดิมจะนับถือผี เชื่อเรื่อรื่งต้นไม้ป่าใหญ่ ภายหลังหันมานับถือพุทธ คริสริต์ เป็นต้น กะเหรี่ยรี่ง มีถิ่นฐานตั้งอยู่ที่ประเทศพม่า แต่หลังจาก ถูกรุกรานจากสงคราม จึงมีกะเหรี่ยรี่งที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ ประเทศไทย กะเหรี่ยรี่งที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย แบ่งออกได้ เป็น 4 ประเภท แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อย กะเหรี่ยรี่งสะกอ หรือรื ที่เรียรีกนามตัวเองว่า ปากะญอ หมายถึงคน หรือรืมนุษย์นั้น เอง กะเหรี่ยรี่งสะกอเป็นกลุ่มที่มีจำ นวนมากที่สุด มีภาษาเขียน เป็นของตนเอง โดยมีมิชชันนารีเรีป็นผู้คิดค้นดัดแปลงมาจาก ตัวหนังสือพม่า ผสมภาษาโรมัน กลุ่มนี้หันมานับถือศาสนา คริสริต์เป็นส่วนใหญ่ กะเหรี่ยรี่งโปร์นั้นเป็นกลุ่มที่ค่อนข้าง เคร่งครัดในประเพณี พบมากที่ อำ เภอ แม่สะเรียรีง จังหวัด แม่ฮ่องสอน อำ เภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และแถบตะวัน ตกของประเทศไทย คือ กะเหรี่ยรี่งบเว พบที่ อำ เภอขุนยวม แม่ฮ่องสอน ส่วนปะโอ หรือรืตองสูก็มีอยู่บ้าง แต่พบน้อยมาก ในประเทศไทย ชนเผ่า "ปกากะญอ" เป็นชนเผ่าที่บอกกล่าว ถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมานับร้อยนับพันเรื่อรื่ง เรียรีงร้อย เก็บไว้ในเเนวของนิทาน


ก ที่ตั้งของชนเผ่ากะเหรี่ยรี่ง ตั้งอยู่ที่ภูเขา "ทอทีปล่อก่อ" มีผู้เฒ่า "เทาะแมป่า" เป็นหัวหน้า หมู่บ้านสืบเชื่อสายมาจนลูกเต็มบ้านหลาน เต็มเมือง เมื่อที่ทำ กินไม่พอเทาะแมป่าจึงพาลูกหลานอพยพย้ายถิ่นฐาน ระหว่าว่งการเดินทางว่าว่กันว่าว่เทาะแมป่าเดินเร็วมากลูกหลานพากันหยุด พัก เทาะแมป่าไม่สนใจลูกหลาน พยายามที่จะเดินไปข้างหน้าเรื่อรื่ยๆ จนมาหยุดตามที่ต่างๆ แถบแถวลุ่มน้ำ สาละวินวิบ้าง กลุ่มน้ำ อิระวดีบ้าง กระทั้งสืบเชื้อสายเผ่าพันธุ์ จนมาถึงทุกวันวันี้มีกะเหรี่ยรี่ง อาศัยอยู่ กระจัดกระจาย ทั่วไปในเขตพม่า ตลอดจนในเขตภาคเหนือ และตะวันวั ออกของประเทศไทย เอกสารบางชนิดระบุว่าว่คนกระเหรี่ยรี่งอาศัยอยู่ใน ตะวันวัออกเฉียงไต้ของประเทศจีน เมื่อถูกขับไล่หนี ลงมาตั้งหลักในระ ว่าว่งกลางเขตพม่ากับมอญ ตอนหลังถูกพม่าบีบ ต้องอพยพอยู่บนภูเขา เอกสารบางชิ้นระบุว่าว่คนกะเหรี่ยรี่งที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ใน ประเทศไทยล้วนมาจากพม่าทั้งสิ้น เพียงแต่ ไม่มีเอกสารยืนยันว่าว่เข้ามา อยู่เมื่อใด แต่สันนิษฐานว่าว่เข้ามาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอรียุธยาตอนปลาย บ้างก็ว่าว่ ในดินแดนล้านนา หรือรืก่อนโยนกด้วยซ้ำ นั้นหมายถึงการ กำ เนิดเมืองเชียงใหม่ 02 ล่าวถึงตำ นาน


ก จากคำ บอกกล่าวของ "พือ มูล บุญเป็ง" คนเฒ่า คนแก่ ได้กล่าว เล่าความเป็นมาของกะเหรี่ยรี่งในประเทศไทย พื้นที่หลักที่กะเหรี่ยรี่ง (ปกากะญอ) อาศัยอยู่ครั้งเเรกคือ อำ เภอสะเมิง จังหวัดวัเชียงใหม่ โดย ยึดอาชีพเกษตรกรรม ในการหาเลี้ยงชีพ ต่อมาในสมัยก่อน สงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลไทยได้เปิดโอกาสให้บริษัริษัทต่างชาติ ประมูล โครงการทำ ป่าสัมปทาน ณ.ตำ บลแม่ยาว จังหวัดวัเชียงราย โดยบริษัริษัทที่ชนะการประมูล จะได้กรรมสิทธิ์การทำ ธุรกิจขนส่งไม้ จาก ตำ บล แม่ยาว ออกไปยังต่างประเทศ ซึ่งในขณะนั้น บริษัริษัทจาก ประเทศฝรั่งเศส หรือรืที่ชาวกระเหรี่ยรี่งเรียรีกกันว่าว่บริษัริษัท "ห้าง โบ๋ เบ๋" ได้กรรมสิทธิ์ในการทำ ธุรกิจสัมปทานในครั้งนั้นไป "พือ มูล บุญเป็ง" เล่าต่อว่าว่หลังจากที่ "ห้างโบ๋ เบ๋" เข้ามาทำ ธุรกิจในเมืองไทย ปัญหา แรกที่พบคือการสื่อสาร และการทำ สัมปทานไม้ในสมัยนั้น จำ เป็นต้องมี ช้างควานช้างในการลากไม้ซุง หลังจากเสร็จสัมปทาน กะเหรี่ยรี่ง (ปกา กะญอ) ส่วนหนึ่งได้ตั้งหลักปักฐานอยู่บ้านน้ำ ลัด อำ เภอเมือง จังหวัดวั เชียงราย โดยเห็นว่าว่เป็นที่เหมาะแก่การทำ การเกษตร ได้ใช้ชีวิตวิมาจน กระทั่งสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ช่วงทำ สงครามกะเหรี่ยรี่งได้ร่วมมือกับ ทหารไทย โดยใช้ช้างเป็นพาหนะ ในการลำ เลียง สิ่งของ เสบียง อาหาร ให้กับทหารไทยในการรบครั้งนั้น หลังสงครามมีชนพื้นเมือง ย้ายถิ่นฐานกลับมามากขึ้น ทำ ให้ที่คับแคบแออัดขัดแย้งที่ทำ มาหากิน กะเหรี่ยรี่งส่วนหนึ่งจึงตัดสินใจออกเดินทางอีกครั้ง 03 ารย้ายถิ่นฐาน


04 การตั้งถิ่นฐานของประชากรกะเหรี่ยรี่งใน ประเทศไทย ชุมชนกะเหรี่ยรี่ง กระจายตัวตั้งอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ (ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นเขตป่าในความหมายของรัฐ) ของ ๑๕ จังหวัดวัคือ ในภาค เหนือมี ๙ จังหวัดวั ได้แก่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำ พูน ลำ ปาง ตาก กำ แพงเพชร แพร่ และสุโขทัย ในภาค กลางทางด้านตะวันวัตกมี ๖ จังหวัดวั ได้แก่อุทัยธานี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขัรีขันธ์


ครอบครัวถือว่าว่เป็นสถาบันพื้น ฐานของคนทุกกลุ่มในสังคม เพราะชีวิตวิเริ่มริ่จากครอบครัว โดยที่ครอบครัวทำ หน้าที่อบรม สั่งสอนสมาชิกใหม่ของ ครอบครัวเพื่อให้สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้ เช่นเดียวกับ ครอบครัวทั่วๆไป ครอบครัว ปกาเกอะญออยู่ด้วยกันแบบ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันทั้งในบ้าน และนอกบ้าน มีการแบ่ง บทบาทหน้าที่ของหญิงชาย 05 ลักษณะครอบครัว ผู้หญิงทำ งานบ้าน หุงข้าว ตำ ข้าว ตักน้ำ ทำ อาหาร เลี้ยง หมู ไก่ และ เก็บผักหักฟืน ส่วนผู้ชายส่วนใหญ่จะเป็นงาน นอกบ้านซึ่งเป็นงานที่ต้องใช้กำ ลัง เช่น ไปไร่ไปนา ไถนา ล้อมรั้ว ต้อนวัววัควายกลับบ้าน ตัดไม้ สร้างบ้าน เป็นต้น ส่วนงานอื่นๆ ที่สามารถช่วยกันได้ก็จะช่วยกันไป เนื่องจาก ชาวปกาเกอะญอจะนับถือวิญวิญาณบรรพบุรุษทางฝ่าย หญิง ครอบครัวจึงถือวิญวิญาณบรรพบุรุษทางฝ่ายหญิง หรือรืฝ่ายแม่ด้วย แม้ว่าว่การสร้างบ้านเป็นหน้าที่ของผู้ชาย แต่จะถือว่าว่บ้านจะเป็นของฝ่ายหญิง หากสามีตายไม่ต้อง รื้อรื้บ้านทิ้ง แต่ถ้าภรรยาตายจะต้องมีการรื้อรื้บ้านทิ้ง


ก ชนเผ่าปกาเกอะญอถือ การแต่งงานแบบผัวเดียวเมียเดียวเป็นความ ถูกต้อง และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด หนุ่มสาวที่มาจากเครือรืญาติ เดียวกันไม่สามารถแต่งงานกันได้ พิธีแต่งงาน จะเป็นจุดเริ่มริ่ต้นของ พิธีบก๊ะ (พิธีเครือรืญาติ) ถ้ามีการทำ ผิดขนบธรรมเนียมถือเป็นการผิด กฎวิญวิญาณบรรพบุรุษ ทำ ให้กลายเป็นผีก๊ะหรือรืผีปอบเข้าสิงใน วิญวิญาณของผู้กระทำ ผิดพิธีกรรมนั้นๆ แล้วไปสิงร่างคนอื่นอีก คนที่ เป็นผีก๊ะจะเป็นที่น่ารังเกียจของสังคมปกาเกอะญออย่างยิ่ง สิ่งที่น่า กลัวสูงสุดของคนปกาเกอะญอคือการผิด “บก๊ะ”แล้วกลายเป็นผีก๊ะ มองในเชิงวิทวิยาศาสตร์ ความเชื่อเรื่อรื่งการไม่แต่งงานในเครือรืญาติ เดียวกัน เป็นการคัดเลือกพันธุ์ที่ทำ ให้ผู้ที่เกิดมาใหม่มีความแข็งแกร่ง และอยู่รอดได้ มองในเชิงสังคม การแต่งงานระหว่าว่งสายเครือรืญาติ ทำ ให้เกิดการสมัครสมานสามัคคีในหมู่ชนเผ่า เพราะจะกลายเป็นระบบ ดองที่ขยายตัวต่อไปอย่างไม่สิ้นสุด 06 ารแต่งงาน


ลักษณะการสร้างบ้าน ลักษณะบ้านของปกาเกอะญอจะสร้างแบบมีการยกพื้นสูงมีใต้ถุน บ้าน บ้านจะสร้างด้วยวัสวัดุที่เป็นไม้ไผ่ จะกั้นด้วยฟาก จะมีมุงหลังคา ด้วยใบจากใบตองตึง หญ้าคา ใบหวาย บนบ้านจะมีชานซึ่งเป็นที่วาก ระบอกไม้ไผ่สำ หรับดื่มน้ำ อีกส่วนหนึ่งเป็นที่ทำ งาน เช่น การทอผ้า เข้าไปข้างในบ้านจะมีเตาไฟอยู่ตรงกลาง มีแคร่แขวนอยู่เหนือเตาไฟ เพื่อวางเครื่อรื่งครัวและตากแห้งอาหารบางอย่าง พร้อมทั้งเป็นที่เก็บ พันธุ์พืช รอบๆ บริเริวณเตาไฟจะเป็นที่นอนและที่เก็บของประจำ บ้าน 07


ก การแต่งกายหญิง 08 ารแต่งกาย 1) เด็กหญิงและหญิงสาวพรหมจรรย์จะแต่งกายเป็นชุดทรงกระบอกสี ขาว เป็นสัญลักษณ์แห่งความบริสุริสุทธิ์สาวโสดยังไม่ได้แต่งงาน ตาม จารีตรีของปกาเกอะญอผู้ที่ยังมิได้แต่งงานจะสวมชุดขาวและไม่สามารถ ที่จะไปแต่งชุดสตรีที่รีที่แต่งงานแล้วได้เด็ดขาด หากมีหนุ่ม-สาวประพฤติ ผิดประเวณีก่อนแต่งงาน ผู้อาวุโวุสจะรีบรีจัดการให้มีการทำ พิธีขอขมา เทพเจ้าศักดิ์สิทธิ์ หรือรืเรียรีกกันว่าว่ “ต่าทีต่าเต๊าะ” แล้วจัดการให้ แต่งงานโดยเร็วที่สุดมิเช่นนั้นคนในชุมชนจะเกิดล้มป่วยไม่สบาย หรือรื ทำ มาหากินไม่ขึ้น ไม่ได้ผล สัตว์เว์ลี้ยงจะล้มตาย เป็นต้น 2) การแต่งกายด้วยชุดขาวจะสิ้นสุดลงเมื่อแต่งงาน หญิงอยู่ใน สถานภาพแต่งงานแล้ว จะแต่งตัวแบ่งออกเป็น 2 ท่อน ท่อนบนจะ เป็นเสื้อดำ ประดับด้วยลูกเดือย นุ่งซิ่นสีแดงมีลวดลายที่ทำ มาจากสี ธรรมชาติเรียรีกว่าว่ “หนี่คิ” ผู้ที่มีสถานภาพเป็นแม่บ้านแล้ว ห้ามมิให้ กลับไปแต่งชุดสีขาวเป็นอันขาด แม้ว่าว่สามีจะเสียชีวิตวิหรือรืหย่าร้างกัน ไปแล้วก็ตาม แม้แต่จะลองแต่งชุดสาวโสดก็ไม่ได้เพราะชุดขาวจะใส่ได้ เฉพาะผู้ที่เป็นสาวโสดเท่านั้น


3) ผ้าโพกศีรษะของผู้หญิงปกาเกอะญอในสมัยก่อนจะทอด้วยผ้า ฝ้ายพื้นสีขาวเดินด้วยลายสีแดง มีปล่อยชายผ้าทั้งสองข้างยาว ประมาณ 1 คืบ หรือรืจะเป็นผ้าฝ้าย ทั้งสาวโสดและหญิงที่แต่งงานแล้ว จะโพกหัวเหมือนกัน แต่ปัจจุบันมักใช้ผ้าโพกหัวกันหลากหลาย ทั้งผ้า ทอและหาซื้อจากตลาด บางครั้งเป็นผ้าขนหนูก็มี หญิงในอดีตจะใส่ ตุ้มหูขนาดใหญ่ที่เรียรีกว่าว่ “หน่าดิ” มีการใส่สร้อยคอลูกปัดสีต่างๆที่คอ มีการคลุมแขนและขาด้วยที่เรียรีกว่าว่ “จึ๊พล่อ ข่อพล่อ” 09


ก การแต่งกาชาย 10 ารแต่งกาย 1)การแต่งกายของชายสมัยก่อนจะ สวมเสื้อทรงกระบอกยาวเหมือน หญิงสาว แต่จะเป็นสีขาวปนแดงซึ่ง ทำ มาจากสีธรรมชาติ ภายหลังการ แต่งกายของชายจะมีอยู่ 2 ท่อน ท่อนบนจะเป็นเสื้อทอสีแดง ท่อน ล่างจะเป็นกางเกงสีดำ หรือรืกางเกง สะดอ คาดศีรษะด้วยผ้าสีแดงหรือรืสี ขาว


อาหารชาวกะเหรี่ยงในอดีต ในชีวิตวิประจำ วันวัของชาวกะเหรี่ยรี่งในอดีตคือข้าวกับพริกริและเกลือ ชาว กะเหรี่ยรี่งนิยมบริโริภคอาหารที่มีรสเผ็ดจัด เช่น น้ำ พริกริแกงเผ็ด แกงส้ม ชาวกะเหรี่ยรี่งจะปลูกพริกริไว้ตว้ามไร่สำ หรับไว้กิว้ กินเอง และพริกริ ของชาวกะเหรี่ยรี่ง จะขึ้นชื่อในความเผ็ดร้อนกว่าว่พริกริไหนๆ เครื่อรื่งแกง หลักประกอบด้วย พริกริข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด กะปิ (ปลาร้า) ตำ ให้เข้า กัน แต่ถ้าเป็นแกงเผ็ดจะใช้เนื้อสัตว์กัว์ กับมะเขือเป็นส่วนประกอบ เนื้อ สัตว์ที่ว์ ที่ใช้ในการปรุงอาหารจะเป็นจำ พวกสัตว์ที่ว์ ที่ล่าได้จากป่า เช่น เก้ง กวาง ค่าง กระต่าย แย้ ฯลฯ ถ้าเป็นแกงส้มก็ใช้เครื่อรื่งแกงเดียวกัน แต่ไม่นิยมใส่เนื้อสัตว์ แต่ใช้ผักที่มีรสเปรี้ยรี้ว ได้แก่ ใบกระเจี๊ยบป่า มะเขือส้ม ฯลฯ เพื่อช่วยในการปรุงรสอาหาร ส่วนน้ำ พริกริของคน กะเหรี่ยรี่งมีปลาร้าหรือรืคนกะเหรี่ยรี่งเรียรีกว่าว่กะปิ เป็นเครื่อรื่งปรุงสำ คัญ นำ มาตำ กับพริกริปรุงรสด้วยเกลือ กินกับผักสด ผักต้ม หรือรืผักเสี้ยน ดอง อาหารของชาวกะเหรี่ยรี่งจะไม่ปรุงรสหวาน เพราะไม่มีน้ำ ตาลใช้ ชาวกะเหรี่ยรี่งจะกินผลไม้ที่ปลูกอยู่ในสวนภายในบ้านหรือรืที่มีอยู่ตามไร่ เช่น กล้วย อ้อย ส้มโอ ฯลฯ ส่วนขนมหวานของชาวกะเหรี่ยรี่งจะมีเพียง ข้าวห่อที่กินเฉพาะในงานพิธีเรียรีกขวัญวัของชาวกะเหรี่ยรี่ง หรือรืที่เรียรีกว่าว่ ประเพณีกินข้าวห่อ เท่านั้น ข้าวห่อของชาวกะเหรี่ยรี่งจะเป็นข้าวเหนียว นำ มาห่อด้วยใบตองหรือรืใบไผ่ให้เป็นรูปสามเหลี่ยมทรงกรวย นำ ไปต้ม ให้สุก เวลากินจะจิ้มกินกับน้ำ ผึ้งเท่านั้น แต่ในปัจจุบันจะประยุกต์กิน จิ้มกับมะพร้าวเคี่ยวกับน้ำ ตาลคล้ายหน้ากะฉีกของคนไทยแทน 11


อาหารชาวกะเหรี่ยงในอดีต อาหารประจำ วันวัของชาวกะเหรี่ยรี่งเป็นอาหารที่ปรุงรสเผ็ด เช่น ลาบ พริกริสมุนไพร หลามปลา โดยใส่ปลาในกระบอกไม้ไผ่แล้วมาเผา และยำ ปลา และเมนูที่เป็นอาหารทางวัฒวันธรรมที่สำ คัญคือ แกงข้าวเบ้อะ นิยมทำ รับประทานในช่วงเทศกาลปีใหม่ คริตริส์มาส ดยแกงข้าวเบ๊อะ หรือรื “ต่าพอเผาะ” เป็นอาหารที่มีประวัติวั ติเล่ากันว่าว่วันวัหนึ่งมีข้าวสาร เหลืออยู่น้อยมาก เกรงว่าว่จะไม่พอกินกันจนครบคน จึงใช้วิธีวิธีการไปเก็บ เอาผักสารพัดชนิดที่มีอยู่ในสวนมาปรุงรวมกับข้าวที่ เหลือน้อยนิดนั้น ผลปรากฏว่าว่อาหารมื้อนั้นทำ ให้อิ่มกันทุกคนจึงเป็นที่มาของคำ ว่าว่ “ต่า พอเผาะ” (ข้าวเบ๊อะ) ซึ่งมีความสำ คัญต่อจิตใจในทุกครั้งที่มีงาน สำ คัญ เช่น ปีใหม่ พิธีเรียรีกขวัญวัทำ บุญต่างๆ ของชาวกะเหรี่ยรี่งที่มัก จะมี “ต่าพอเผาะ” (ข้าวเบ๊อะ) เป็นองค์ประกอบของอาหารมื้อดังกล่าว เสมอ ทั้งนี้ “ต่าพอเผาะ” (ข้าวเบ๊อะ) นิยมทานเป็นอาหารเช้ามากกว่าว่ อาหารมื้ออื่นๆ ส่วนประกอบของ “ต่าพอเผาะ” (ข้าวเบ๊อะ) นั้นขึ้นกับ วัสวัดุที่มีอยู่กล่าวโดยสรุปคือ มีข้าว ผักต่างๆ และเนื้อสัตว์ มาต้มจนให้ เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน วัสวัดุในนการประกอบและปรุงข้าวเบ๊อะนั้นจะเตรียรีมนำ เอาข้าวสาร ประมาณ 1 กำ มือ เนื้อหรือรืกระดูกหมู ผักชนิดต่างๆ เช่น ยอดฝักทอง และอื่นๆ เครื่อรื่งปรุงต่างๆ เช่น เกลือ พริกริต้นหอม ผักชี เส่อหลื่อ ส่า(ผลตะไคร้ต้น) และอื่นๆ ตามที่ชอบ จากนั้นนำ มาปรุง 12


วามหมายและความสำ คัญ แกงข้าวเบ๊อะ หรือรื “ต่าพอเผาะ” เป็นอาหารที่มีประวัติวั ติเล่ากันว่าว่วันวั หนึ่งมีข้าวสารเหลืออยู่น้อยมาก เกรงว่าว่จะไม่พอกินกันจนครบคน จึง ใช้วิธีวิธีการไปเก็บเอาผักสารพัดชนิดที่มีอยู่ในสวนมาปรุงรวมกับข้าวที่ เหลือน้อยนิดนั้น ผลปรากฏว่าว่อาหารมื้อนั้นทำ ให้อิ่มกันทุกคน จึงเป็น ที่มาของคำ ว่าว่ “ต่าพอเผาะ” (ข้าวเบ๊อะ) ซึ่งมีความสำ คัญต่อจิตใจใน ทุกครั้งที่มีงานสำ คัญ เช่น ปีใหม่ พิธีเรียรีกขวัญวัทำ บุญต่าง ๆ ของ ชาวกะเหรี่ยรี่ง ที่มักจะมี “ต่าพอเผาะ” (ข้าวเบ๊อะ) เป็นองค์ประกอบ ของอาหารมื้อดังกล่าวเสมอ ทั้งนี้ “ต่าพอเผาะ” (ข้าวเบ๊อะ) นิยมทาน เป็นอาหารเช้ามากกว่าว่อาหารมื้ออื่น ๆ ส่วนประกอบของ “ต่าพอเผาะ” (ข้าวเบ๊อะ) นั้นขึ้นกับวัสวัดุที่มีอยู่ กล่าวโดยสรุปคือ มีข้าว ผักต่าง ๆ และเนื้อสัตว์ มาต้มจนให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน ข้าวเบอะหรือรืตะพอเพาะ เป็นอาหารกะเหรี่ยรี่งที่มีชื่อเสียง นิยมทำ เพื่อต้อนรับแขกผู้มาเยือน เป็น ข้าวที่ต้มสุกเละ ใส่น้ำ พริกริแกง เนื้อสัตว์แว์ละผัก น้ำ พริกริแกงประกอบ ด้วยกะปิกระเทียม เกลือ พริกริกะเหรี่ยรี่งแห้ง มะแขว่นว่แห้ง กลิ่นหอมที่ เป็นเอกลักษณ์ของข้าวเบอะเกิดจากการต้มใบพอวอและมะแขว่นว่ชาว กะเหรี่ยรี่งรับประทานอาหารชนิดนี้เป็นกับข้าว 13 ค


อกาสและระยะเวลาใน การทำ การทำ ข้าวเบ๊อะหรือรื “ต่าพอเผาะ” สามารถ ทำ เมื่อใดก็ได้ แต่ชาว กะเหรี่ยรี่งส่วนใหญ่จะนิยมทำ ตอนที่มีพิธีกรรมในชุมชนหรือรืใน ครอบครัว กับทำ เมื่อมีแขกมาเยี่ยมบ้าน เพื่อเลี้ยงสู่แขก อย่างไรก็ตาม “ต่าพอเผาะ” นิยมทานตอนเช้าเพราะเป็นช่วงที่มีเวลาทำ กับข้าวมาก 14 โ


เมนูอาหารของชาวกะเหรี่ยง แกงข้าวเบ๊อะ 15 ข้าวสาร(ข้าวจ้าว) ซี่โครงหมูหั่นชิ้น ผัดกาดเขียว ตะไคร้ หอมแดง กระเทียม พริกริแห้ง ขมิ้น เกลือ วิธีวิธีทำ 1.ต้มน้ำ ให้เดือด ใส่ข้าวสารลงไป พอน้ำ เดือดอีกครั้งใส่ตะไคร้และซี่โครงหมูลง ไป 2.โขลกพริกริแห้ง ระเทียม ขมิ้น หอมแดง ใส่เกบือเล็กน้อย แล้วนำ ใส่ในหม้อที่ ต้มข้าวกับหมูไว้ 3.ใส่ผักกาดเขียวลงไป เคี่ยวไปสักพักจนข้าวเละขึ้น หมูเปื่อย ชิมรสชาติและเติมรสชาติได้ตามชอบ ตักขึ้นเสิร์ฟได้ เคล็ดลับ: คอยคนเรื่อรื่ยๆ ระวังวัหม้อไหม้ ส่วนผม


คึ-ฉื่ย (ไร่หมุนเวียวีน) คืออะไร ไร่หมุนเวียวีนเป็นระบบเกษตรที่เก่าแก่ที่มีอายุนานหมื่นปีก่อน คริสริตกาล ปัจจุบันมีผู้ทำ เกษตรระบบนี้ ไม่น้อยกว่าว่ ๕๐๐ ล้านคนทั่ว โลก เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ไม่น้อยกว่าว่๓,๐๐๐ กลุ่มและพื้นที่คิดเป็น ๓๐ % ของพื้นที่เกษตรทั่วโลก การทำ ความเข้าใจกับวิถีวิถีชีวิตวิกะเหรี่ยรี่ง นั้น จำ เป็นต้องทำ ความเข้าใจเรื่อรื่งการเพาะปลูก คึ-ฉื่ย (แบบไร่ หมุนเวียวีน) ของชาวกะเหรี่ยรี่ง อย่างไรก็ตามการทำ คึ-ฉื่ย นี้ได้ข้อถก เถียงระหว่าว่งรัฐกับชาวกะเหรี่ยรี่งเพราะรัฐมองว่าว่การทำ คึ-ฉื่ย เป็นการ ทำ ลายป่า แต่คนกะเหรี่ยรี่งอธิบายว่าว่การทำ คึ-ฉื่ย เป็นการ เกษตรกรรมที่สอดคล้องกับการดำ รงอยู่ของป่า ทำ ให้ป่ากลับฟื้นคืน มาได้และเป็นระบบเกษตรกรรมที่ทำ ให้ชุมชนพึ่งตนเอง เพราะในการ ผลิตเน้นการบริโริภคเป็นหลักแบบเศรษฐกิจพอเพียง มีความหลาก หลายทางชีวภาพสูง ซึ่งในปัจจุบันนักวิชวิาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง เช่น เกษตรศาสตร์ วนศาสตร์ นิเวศวิทวิยาและมานุษยวิทวิยานิเวศ ต่างก็ ยอมรับในความสำ คัญ ในเชิงนิเวศของระบบ คึ-ฉื่ย หรือรืการทำ เกษตร แบบไร่หมุนเวียวีน การเกษตร 16


Click to View FlipBook Version