“การจดั การเรยี นรแู้ บบออนไลน์ : ส่งเสรมิ ความเปน็ พลเมอื งดี”
ตามโครงการสรา้ งและสง่ เสรมิ ความเปน็ พลเมอื งดตี ามรอยพระยุคลบาทดา้ น
การศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
จดั ทาโดย : นางวชั รวลี ภบิ าล
ครปู ระจากลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
โรงเรยี นอนบุ าลเรวดี
Hello.
My Student.
เกษตรทฤษฎีใหม่
คำนำ
หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-book) กลุ่มสาระวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ไดจ้ ดั ทาข้ึนโดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อสร้างนวตั กรรมใหม่ใชแ้ กป้ ัญหาในช้นั
เรียน เน่ืองจากปัจจุบนั น้ีไดอ้ ยใู่ นช่วงสถานการณ์วกิ ฤตโรคระบาดโควดิ 19 ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอน จึงตอ้ งปรับกระบวนการเรียนการเรียนการสอนให้
น่าสนใจมากข้ึน ใหก้ ารเรียนการสอนมีความน่าสนใจมากข้ึน ควบคูไ่ ปกบั การใชแ้ ผนจดั กลุ่ม สาระการเรียนรู้สงั คม การเรียนรู้ การเกษตรทฤษฎีใหม่
(ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 4) ตามโครงการ สร้างเสริมและส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยคุ ลบาทดา้ นการศึกษา สู่การปฏิบตั ิ และส่งเสริมผเู้ รียนใน
ศตวรรษที่ ๒๑ เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั โดยการจดั การเรียนรู้ที่มุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รียนเกิดองคค์ วามรู้ไดด้ ว้ ยตนเองผา่ นส่ือ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-book) ท่ีมีรูปเล่ม –
เน้ือหา ภาพประกอบท่ีสวยงาม กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนมีความสนใจอยากเรียนมากข้ึน โดยมีครูเป็นผสู้ นบั สนุนและอานวยความสะดวก ในการจดั การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
ตามความสนใจของผเู้ รียนใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ปัจจุบนั
เน้ือหาสาระการเรียนรู้ในหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-book) เล่มน้ี ผจู้ ดั ทาไดเ้ รียบเรียงเน้ือหาตามที่กาหนดในหลกั สูตรโดย เพ่ิมเติม การจดั รูปแบบ เน้ือหา
ภาพประกอบต่างๆใหม้ ีความสวยงามน่าสนใจมากข้ึน เพ่ือกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนมีความสนใจในบทเรียนและเขา้ ใจในเน้ือหาที่เรียนมากข้ึน มีความสุขและสนุกในการ
เนียนการสอน
หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-book) กลุ่มสาระวชิ าสงั คม หน่วยน้ีสาเร็จลงไดด้ ว้ ยการสนบั สนุนจากหลายฝ่ าย ที่ใหค้ าปรึกษา จึงขอขอบคุณมา ณ ท่ีน้ี และผจู้ ดั ทา
หวงั วา่ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-book) จะเป็นประโยชนแ์ ก่ผเู้ รียนและผสู้ นใจไม่มากกน็ อ้ ย
นางวชั รวลี ภิบาล
10/10/2564
"เกษตรทฤษฎีใหม"่ แนวพระราชดารกิ ารแบง่ สดั สว่ นพืน้ ท่ีทากิน
เพ่ือการอยรู่ อดและพง่ึ ตนเอง
ปัญหาหลกั ของเกษตรกรในอดีต จนถึงปัจจุบนั ที่สาคญั ประการหน่ึง คือ การขาดแคลนน้าเพอ่ื
เกษตรกรรม โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในเขตพ้ืนที่เกษตรที่อาศยั น้าฝน ซ่ึงเป็นพ้นื ท่ีส่วนใหญข่ องประเทศที่อยใู่ นเขต ท่ีมี
ฝนค่อนขา้ งนอ้ ยและส่วนมากเป็นนาขา้ วและพชื ไร่ เกษตรกรยงั คงทาการเพาะปลูก ไดป้ ี ละคร้ังในช่วงฤดูฝนเท่าน้นั
และมีความเสี่ยงกบั ความเสียหาย อนั เน่ืองมาจากความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศและฝนทิ้งช่วง แมว้ า่ จะมีการขดุ
บ่อหรือสระเกบ็ น้าไวใ้ ชบ้ า้ งแต่กม็ ีขนาดเพยี งพอ หรือมีปัจจยั อื่น ๆ ที่เป็นปัญหาใหม้ ีน้าใชไ้ ม่เพยี งพอ รวมท้งั ระบบ
การปลูกพชื ไม่มีหลกั เกณฑใ์ ด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพชื ชนิดเดียว
ดว้ ยเหตุน้ี พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร จึงไดพ้ ระราชทาน
พระราชดาริ เพือ่ เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรท่ีประสบความยากลาบาก ใหส้ ามารถผา่ นพน้ ช่วงเวลาวกิ ฤติ
โดยเฉพาะการขาดแคลนน้าได้ โดยไม่เดือดร้อนและยากลาบากนกั พระราชดาริน้ี ทรงเรียกวา่ "ทฤษฎีใหม่" ซ่ึงเป็น
แนวทางหรือหลกั การในการบริหารการจดั การท่ีดินและน้า เพอื่ การเกษตรในท่ีพ้ืนที่ขนาดเลก็ ใหเ้ กิดประโยชน์
สูงสุด
ทฤษฎีใหม่: ทาไมใหม่? มีการบริหารและจดั แบ่งท่ีดินแปลงเลก็ ออกเป็นสัดส่วนท่ีชดั เจน
เพ่ือประโยชนส์ ูงสุดของเกษตรกร ซ่ึงไม่เคยมีใครคิดมาก่อน
มีการคานวณโดยหลกั วชิ าการ เก่ียวกบั ปริมาณ
น้าท่ีจะกกั เกบ็ ใหพ้ อเพยี งต่อการเพาะปลูกได้
ตลอดปี
มีการวางแผนท่ีสมบูรณ์แบบ สาหรับเกษตรกร
รายยอ่ ยการจดั สรรพ้นื ท่ีอยอู่ าศยั และ ที่ทากิน
ทฤษฎใี หม่ข้นั ต้น
ใหแ้ บ่งพ้นื ท่ี ออกเป็น 4 ส่วน ตามอตั ราส่วน 30: 30: 30: 10 ซ่ึงหมายถึง
พ้นื ที่ส่วนท่ีหน่ึง ประมาณ 30% ใหข้ ดุ สระเกบ็ กกั น้า เพ่ือใชเ้ กบ็ กกั น้าฝนในฤดูฝนและ ใช้
เสริมการปลูกพชื ในฤดูแลง้ ตลอดจนการเล้ียงสตั วน์ ้าและพืชน้าต่าง ๆ
พ้นื ที่ส่วนท่ีสอง ประมาณ 30% ใหป้ ลูกขา้ วในฤดูฝน เพ่อื ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั สาหรับ
ครอบครัวใหเ้ พียงพอตลอดปี เพือ่ ตดั ค่าใชจ้ ่ายและสามารถพ่ึงตนเองได้
พ้นื ท่ีส่วนท่ีสาม ประมาณ 30% ใหป้ ลูกไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ พืชผกั พชื ไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพ่อื
ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั หากเหลือบริโภคกน็ าไปจาหน่าย
พ้ืนที่ส่วนท่ีส่ี ประมาณ 10% เป็นท่ีอยอู่ าศยั เล้ียงสตั วแ์ ละโรงเรือนอื่น ๆ
หลกั การดงั กล่าวมาแลว้ เป็นทฤษฎีใหม่ข้นั ที่หน่ึง เม่ือเกษตรกรเขา้ ใจใน
หลกั การและไดล้ งมือปฏิบตั ิตามข้นั ท่ีหน่ึงในที่ดินของตนไดผ้ ลแลว้ เกษตรกรกจ็ ะ
สามารถพฒั นาตนเองไปสู่ข้นั พออยพู่ อกินและตดั ค่าใชจ้ ่ายลงเกือบหมด มีอิสระจาก
สภาพปัจจยั ภายนอก และเพอ่ื ใหม้ ีผลสมบูรณ์ยงิ่ ข้ึน จึงควรท่ีจะตอ้ งดาเนินการตามข้นั
ท่ีสอง และข้นั ที่สาม ต่อไป ตามลาดบั ดงั น้ี
ทฤษฎใี หม่ข้นั ทส่ี อง
เม่ือเกษตรกรเข้ำใจในหลกั กำรและได้ปฏิบตั ใิ นทด่ี นิ ของตนจนได้ผลแล้ว กต็ ้องเร่ิม
ข้นั ทสี่ อง คือให้เกษตรกรรวมพลงั กนั ในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกนั
ดำเนินกำรในด้ำนต่ำงๆ ดงั นี้
1.) การผลติ (พนั ธพุ์ ชื เตรยี มดนิ ชลประทาน ฯลฯ) 3.) การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครอ่ื งนุ่งหม่ ฯลฯ)
เกษตรกรจะตอ้ งรว่ มมอื ในการผลติ โดยเรม่ิ ตงั้ แตข่ นั้ เตรยี มดนิ การหาพนั ธุ์ - ในขณะเดยี วกนั เกษตรกรตอ้ งมคี วามเป็นอยทู่ ด่ี พี อสมควร โดยมี
พชื ป๋ ยุ การจดั หาน้า และอน่ื ๆ เพอ่ื การเพาะปลกู ปัจจยั พน้ื ฐานในการดารงชวี ติ เชน่ อาหารการกนิ ตา่ งๆ กะปิ น้าปลา
เสอ้ื ผา้ ทพ่ี อเพยี ง
2.) การตลาด (ลานตากขา้ ว ยงุ้ เครอ่ื งสขี า้ ว การจาหน่ายผลผลติ )
- เมอ่ื มผี ลผลติ แลว้ จะตอ้ งเตรยี มการต่างๆ เพอ่ื การขายผลผลติ ใหไ้ ด้
ประโยชน์สงู สดุ เชน่ การเตรยี มลานตากขา้ วรว่ มกนั การจดั หายงุ้ รวบรวม
ขา้ ว เตรยี มหาเครอ่ื งสขี า้ ว ตลอดจนการวมกนั ขายผลผลติ ใหไ้ ดร้ าคาดี และ
ลดคา่ ใชจ้ า่ ยลงดว้ ย
๔) สวสั ดกิ าร (สาธารณสขุ เงนิ กู)้ ๖) สงั คมและศาสนา
- แต่ละชมุ ชนควรมสี วสั ดภิ าพและบรกิ ารทจ่ี าเป็น เชน่ มี -ชมุ ชนควรเป็นทร่ี วมในการพฒั นาสงั คมและจติ ใจโดยมศี าสนา
สถานอี นามยั เมอ่ื ยามป่วยไข้ หรอื มกี องทุนไวก้ ูย้ มื เพอ่ื เป็นทย่ี ดึ เหน่ยี ว
-กจิ กรรมทงั้ หมดดงั กลา่ วขา้ งตน้ จะตอ้ งไดร้ บั ความรว่ มมอื จากทกุ
ประโยชน์ในกจิ กรรมต่างๆ ของชมุ ชน ฝ่ายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไมว่ า่ สว่ นราชการ องคก์ รเอกชน ตลอดจนสมาชกิ
ในชมุ ชนนนั้ เป็นสาคญั
๕) การศกึ ษา (โรงเรยี น ทุนการศกึ ษา)
- ชมุ ชนควรมบี ทบาทในการสง่ เสรมิ การศกึ ษา เชน่ มกี องทุนเพอ่ื การศกึ ษา
เลา่ เรยี น ใหแ้ กเ่ ยาวชนของชมุ ชนเอง
เม่ือดาเนินการผา่ นพน้ ข้นั ที่สอง เกษตรกรหรือกลุม่ เกษตรกรกค็ วร
พฒั นากา้ วหนา้ ไปสู่ข้นั ที่สามต่อไป คือ ติดตอ่ ประสานงาน เพอื่ จดั หาทุน หรือ
แหลง่ เงิน เช่น ธนาคารหรือบริษทั หา้ งร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพฒั นา
คุณภาพชีวติ ท้งั น้ี ท้งั ฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคารหรือบริษทั เอกชนจะไดร้ ับ
ประโยชนร์ ่วมกนั กล่าวคือเกษตรกรขายขา้ วไดใ้ นราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา)
ธนาคารหรือบริษทั เอกชนสามารถซ้ือขา้ วบริโภคในราคาต่า (ซ้ือขา้ วเปลือกตรง
จากเกษตรกรและมาสีเอง)ธนาคารหรือบริษทั เอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร
เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ใหเ้ กิดผลดียง่ิ ข้ึน
ประโยชน์ของเกษตรทฤษฎใี หม่
จากพระราชดารสั ของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทไ่ี ดพ้ ระราชทาน
ในโอกาสต่าง ๆ นนั้ พอจะสรุปถงึ ประโยชน์ของทฤษฎใี หมไ่ ด้ ดงั น้ี
1.ใหป้ ระชาชนพออยพู่ อกนิ สมควรแก่อตั ภาพในระดบั ทป่ี ระหยดั ไมอ่ ดอยาก และเลย้ี งตนเองได้
2.ในหน้าแลง้ มนี ้าน้อยกส็ ามารถเอาน้าทเ่ี กบ็ ไวใ้ นสระ มาปลกู พชื ผกั ตา่ ง ๆ ได้ แมแ้ ตข่ า้ วกย็ งั ปลูกได้ โดยไมต่ อ้ งเบยี ดเบยี น
ชลประทาน
3.ในปีทฝ่ี นตกตามฤดกู าลโดยมนี ้าดตี ลอดปี ทฤษฎใี หมน่ ้ีกส็ ามารถสรา้ งรายไดใ้ หร้ ่ารวยขน้ึ ได้
4.ในกรณีทเ่ี กดิ อุทกภยั กส็ ามารถทจ่ี ะฟ้ืนตวั และชว่ ยตวั เองไดใ้ นระดบั หน่ึง โดยทางราชการไมต่ อ้ งชว่ ยเหลอื มากเกนิ ไป อนั
เป็นการประหยดั งบประมาณดว้ ย
ข้อสำคัญทค่ี วรพจิ ำรณำ
1. การดาเนินการตามทฤษฎีใหม่ 2. การขดุ สระน้าน้นั จะตอ้ งสามารถเกบ็ กกั
น้าได้ เพราะสภาพดินในแต่ละทอ้ งถ่ิน
น้นั มีปัจจยั ประกอบหลาย แตกต่างกนั เช่น ดินร่วน ดินทราย ซ่ึง
ประการ ข้ึนอยกู่ บั เป็นดินท่ีไม่สามารถอมุ้ น้าได้ หรือเป็น
สภาพแวดลอ้ มในแต่ละ ดินเปร้ียว ดินเคม็ ซ่ึงอาจจะไม่เหมาะกบั
พืชท่ีปลูกได้ ฉะน้นั จะตอ้ งพิจารณาใหด้ ี
ทอ้ งถ่ิน ฉะน้นั เกษตรกรควร และควรขอรับคาแนะนาจากเจา้ หนา้ ท่ี
ขอรับคาแนะนาจากเจา้ หนา้ ท่ี
พฒั นาที่ดิน หรือเจา้ หนา้ ท่ีหน่วยงานท่ี
ดว้ ย เก่ียวขอ้ งก่อน
ข้อสำคัญทค่ี วรพจิ ำรณำ(ต่อ)
3. ขนาดของพ้ืนท่ี พระบาทสมเดจ็ พระ 4. การขดุ สระน้าน้นั จะตอ้ งสามารถเกบ็ กกั
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถ น้าได้ เพราะสภาพดินในแต่ละทอ้ งถิ่น
แตกต่างกนั เช่น ดินร่วน ดินทราย ซ่ึง
บพิตร ทรงคานวณและคานึงจากอตั รา
เป็นดินที่ไม่สามารถอมุ้ น้าได้ หรือเป็น
การถือครองท่ีดิน ถวั เฉล่ียครัวเรือนละ ดินเปร้ียว ดินเคม็ ซ่ึงอาจจะไม่เหมาะกบั
15 ไร่ แต่ใหพ้ ึงเขา้ ใจวา่ อตั ราส่วนเฉลี่ย พืชที่ปลกู ได้ ฉะน้นั จะตอ้ งพจิ ารณาใหด้ ี
ขนาดพ้ืนท่ีน้ีมิใช่หลกั ตายตวั หากพ้ืนท่ี และควรขอรับคาแนะนาจากเจา้ หนา้ ท่ี
การถือครองของเกษตรกรจะมีนอ้ ยกวา่ พฒั นาท่ีดิน หรือเจา้ หนา้ ท่ีหน่วยงานท่ี
หรือมากกวา่ น้ี กส็ ามารถนาอตั ราส่วน
น้ี (30:30:30:10) ไปปรับใชไ้ ด้ เกี่ยวขอ้ งก่อน
ข้อสำคัญทคี่ วรพจิ ำรณำ(ต่อ)
5. ความร่วมมือร่วมใจของชุมชน จะเป็น 6. ในระหวา่ งการขดุ สระน้า จะมีดินที่ถกู ขดุ
กาลงั สาคญั ในการปฏิบตั ิตามหลกั ข้ึนมาเป็นจานวนมาก หนา้ ดินซ่ึงเป็นดิน
ทฤษฎีใหม่ เช่น การลงแรงช่วยเหลือ ดีควรนาไปกองไวต้ ่างหาก เพอ่ื นามาใช้
กนั หรือท่ีเรียกวา่ การลงแขก นอกจาก
จะทาใหเ้ กิดความรักความสามคั คีใน ประโยชน์ในการปลูกพชื ต่าง ๆ ใน
ชุมชนแลว้ ยงั เป็นการลดค่าใชจ้ ่ายใน
การจา้ งแรงงานไดอ้ ีกดว้ ย ภายหลงั โดยนามาเกลี่ยคลุมดินช้นั ล่างที่
เป็นดินไม่ดี ซ่ึงอาจนามาถมทาขอบสระ
น้าหรือยกร่องสาหรับปลูกไมผ้ ล เงื่อนไข
หรือปัญหา
ข้อควรพจิ ำรณำ(ต่อ)
5. ขนาดของพ้นื ท่ี พระบาทสมเดจ็ พระ 6. การขดุ สระน้าน้นั จะตอ้ งสามารถเกบ็ กกั
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถ น้าได้ เพราะสภาพดินในแต่ละทอ้ งถ่ิน
แตกต่างกนั เช่น ดินร่วน ดินทราย ซ่ึง
บพิตร ทรงคานวณและคานึงจากอตั รา
เป็นดินท่ีไม่สามารถอมุ้ น้าได้ หรือเป็น
การถือครองท่ีดิน ถวั เฉล่ียครัวเรือนละ ดินเปร้ียว ดินเคม็ ซ่ึงอาจจะไม่เหมาะกบั
15 ไร่ แต่ใหพ้ งึ เขา้ ใจวา่ อตั ราส่วนเฉลี่ย พืชที่ปลูกได้ ฉะน้นั จะตอ้ งพจิ ารณาใหด้ ี
ขนาดพ้ืนท่ีน้ีมิใช่หลกั ตายตวั หากพ้ืนที่ และควรขอรับคาแนะนาจากเจา้ หนา้ ท่ี
การถือครองของเกษตรกรจะมีนอ้ ยกวา่ พฒั นาท่ีดิน หรือเจา้ หนา้ ท่ีหน่วยงานที่
หรือมากกวา่ น้ี กส็ ามารถนาอตั ราส่วน
น้ี (30:30:30:10) ไปปรับใชไ้ ด้ เก่ียวขอ้ งก่อน
ตวั อย่ำงพืน้ ที่ท่ีควรปลกู และสัตว์ทค่ี วรเลยี้ ง
ไม้ผลและผกั ยืนต้น : มะม่วง ผกั ล้มลกุ และดอกไม้ : มนั เทศ เห็ด : เช่น เหด็ นำงฟ้ำ เห็ดฟำง สมุนไพรและเครื่องเทศ :
มะพร้ำว มะขำม ขนุน ละมุด เผือก ถว่ั ฝักยำว มะเขือ มะลิ เห็ดเป๋ ำฮื้อ เป็ นต้น หมำก พลู พริกไทย บุก บัวบก
ส้ม กล้วย น้อยหน่ำ มะละกอ ดำวเรือง บำนไม่รู้โรย กหุ ลำบ มะเกลือ ชุมเห็ด หญ้ำแฝก และ
กะท้อน แคบ้ำน มะรุม สะเดำ รัก และซ่อนกลนิ่ เป็ นต้น พืชผกั บำงชนิด เช่น กระเพรำ
ขเี้ หลก็ กระถนิ เป็ นต้น โหระพำ สะระแหน่ แมงลกั
และตะไคร้ เป็ นต้น
ไม้ใช้สอยและเชื้อเพลงิ : ไผ่
มะพร้ำว ตำล มะขำมเทศ พืชไร่ : ข้ำวโพด ถว่ั เหลือง ถวั่ ลสิ ง ถั่วพ่มุ ถว่ั พืชบำรุงดนิ และพืชคลุมดนิ :
สะแก ทองหลำง จำมจุรี มะแฮะ อ้อย มัน สำปะหลงั ละหุ่ง นุ่น เป็ นต้น ถว่ั มะแฮะ ถวั่ ฮำมำต้ำ โสน
กระถนิ ยูคำลบิ ตสั สะเดำ พืชไร่หลำยชนิดอำจเกบ็ เกย่ี วเม่ือผลผลติ ยงั แอฟริกนั โสนพืน้ เมือง ปอ
ขเี้ หลก็ ประดู่ ชิงชัน และยำง เทือง ถว่ั พร้ำ ขเี้ หลก็ กระถนิ
สดอยู่ และจำหน่ำยเป็ นพืชประเภทผกั ได้และ รวมท้ังถว่ั เขยี ว และถวั่ พุ่ม
นำ เป็ นต้น มีรำคำดกี ว่ำเกบ็ เมื่อแก่ พืชไร่เหล่ำนี้ ได้แก่
เป็ นต้น
ข้ำวโพด ถวั่ เหลือง ถวั่ ลสิ ง ถวั่ พ่มุ ถว่ั มะแฮะ
อ้อย และมนั สำปะหลงั เป็ นต้น
หมำยเหตุ 1.สตั วน์ ้า เช่น ปลาไน ปลานิล ปลา
ตะเพียนขาว ปลาดุก เพ่ือเป็นอาหาร
พชื หลายชนิดใชท้ าประโยชนไ์ ดม้ ากกวา่ เสริมประเภทโปรตีน และยงั
หน่ึงชนิด และการเลือกปลูกพืชควรเนน้ พืช สามารถนาไปจาหน่ายเป็ นรายได้
ยนื ตน้ ดว้ ย เพราะการดูแลรักษาในระยะ เสริมไดอ้ ีกดว้ ย ในบางพ้ืนท่ี
สามารถเล้ียงกบได้
หลงั จะลดนอ้ ยลง มีผลผลิตทยอยออก
ตลอดปี หากเลือกพืชยนื ตน้ ชนิดต่าง ๆ กนั 2.สุกร หรือ ไก่ เล้ียงบนขอบสระน้า
และใหค้ วามร่มเยน็ และชุ่มช้ืนกบั ท่ีอยอู่ าศยั ท้งั น้ีมูลสุกรและไก่สามารถนามา
เป็นอาหารปลา บางแห่งอาจเล้ียง
และสิ่งแวดลอ้ ม สตั วเ์ ล้ียงอ่ืน ๆไดแ้ ก่ เป็ ดได้
เงื่อนไขหรือปัญหำในกำรดำเนินงำน
“ เม่ือวนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๓ ณ ศาลาดุสิดาลยั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดม้ ีพระราชดารัส ความตอนหน่ึงวา่
".. การทาทฤษฎีใหม่น้ีมิใช่ของง่ายๆ แลว้ แต่ที่ แลว้ แต่โอกาส และแลว้ แต่งบประมาณ เพราะวา่ เด๋ียวน้ีประชาชน
ทราบถึงทฤษฎีใหม่น้ีกวา้ งขวางและแต่ละคนกอ็ ยากได้ ใหท้ างราชการขดุ สระแลว้ ช่วย แต่มนั ไม่ใช่ส่ิงง่ายนกั บาง
แห่งขดุ แลว้ ไม่มีน้า แมจ้ ะมีฝนน้ากอ็ ยไู่ ม่ได้ เพราะวา่ มนั รั่ว หรือบางทีกเ็ ป็นท่ีท่ีรับน้าไม่ได้ ทฤษฎีใหม่น้ีจึงตอ้ งมี
พ้นื ที่ที่เหมาะสมดว้ ย... ฉะน้นั การท่ีปฏิบตั ิตามทฤษฎีใหม่หรืออีกนยั หน่ึงปฏิบตั ิเพ่อื หาน้าใหแ้ ก่ราษฎร เป็นส่ิงที่ไม่ใช่
ง่ายตอ้ งช่วยทา..."
”
สานักงานศกึ ษาธกิ าร โรงเรียนอนุบาลเรวดี
สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดพทั ลงุ
จงั หวดั พทั ลุง สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน
THANK YOU