The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

e-book การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-11 04:37:59

e-book การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

e-book การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-book)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5

การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
ตามโครงการสรา้ งและสง่ เสรมิ ความเปน็

พลเมืองดตี ามรอยพระยคุ ลบาทดา้ นการศกึ ษา
สู่การปฏิบตั ิ

โรงเรยี นอนบุ าลเรวดสี งั กดั สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พทั ลงุ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

คานา

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ ได้
จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ใช้แก้ปัญหาในช้ันเรียน
ให้การเรียนการสอนมีความน่าสนใจมากข้ึน ควบคู่ไปกับการใช้แผนจัดกลุ่ม
ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก า ร เ รี ย น รู้ ห น่ ว ย ก า ร อ นุ รั ก ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5) ตามโครงการ
สร้างเสริมและสง่ เสรมิ ความเปน็ พลเมอื งดตี ามรอยพระยคุ ลบาทดา้ นการศกึ ษา
สู่การปฏิบัติ และส่งเสริมผู้เรียนในศตวรรษที่๒๑ เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้
ความเข้าใจ เกิดความรัก ความภูมิใจและร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
สงิ่ แวดลอ้ มของท้องถน่ิ

เน้อื หาสาระการเรียนรู้ในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เล่มน้ี
ผู้จัดทาได้เรียบเรียงเน้ือหาตามท่ีกาหนดในหลักสูตรโดย เพ่ิมเติม
ภาพประกอบท่ีสวยงาม เกมต่างๆให้น่าสนใจมากข้นึ เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี น มสี มาธไิ ด้
พัฒนาและเรยี นรอู้ ย่างมีความสุข

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
หน่วยน้ีสาเร็จลงได้ด้วยการสนับสนุนของฝ่ายบริหารโรงเรียนอนุบาลเรวดี
ครแู ละบคุ ลากรโรงเรียนอนุบาลเรวดีท่ใี ห้คาปรึกษา จึงขอขอบคุณมา ณ ท่ีนี้
และผู้จัดทาหวังว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) จะเป็นประโยชน์แก่
ผู้เรยี นและผูส้ นใจไมม่ ากกน็ อ้ ย

นางสาววราพชั ร เดชหนู
10/10/2564

ทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อม

ส่ิงแวดล้อม คือ ทุกส่ิงทุก
อยา่ งท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์ท้ัง
ท่ี มี ชี วิ ต แ ล ะ ไ ม่ มี ชี วิ ต
รวมทั้งทีเ่ ป็น

ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น เ อ ง
ตามธรรมชาติ เช่น ป่าไม้
ภู เ ข า ดิ น น้ า อ า ก า ศ
ทรัพยากร

ส่ิงแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
เช่น ชุมชนเมือง ส่ิงก่อสร้าง

โ บ ร า ณ ส ถ า น ศิ ล ป ก ร ร ม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ
วฒั นธรรม

1

ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

ทรพั ยากรธรรมชาติ
เ ป็ น ส่ ว น ห น่ึ ง ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติโดยท่ี
มนุษ ย์ไม่ได้สร้างข้ึน และมี
ประโยชนต์ อ่ มนษุ ย์”

1. เปน็ แหลง่ ที่อยู่อาศัยของ
ส่งิ มีชีวิต

2. เปน็ แหลง่ อาหารใหก้ บั
ส่งิ มชี ีวิต ทง้ั พชื และสัตว์
3. เปน็ เครอ่ื งนุ่งหม่

4. เปน็ ยารักษาโรค

2

ประเภทของ
ทรพั ยากรธรรมชาติ

ใช้แล้วหมดไป ใช้แล้วไม่หมดไป ทดแทนได้

ใช้แล้วหมดไป
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วหมดไป
หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป
ไม่สามารถสร้างทดแทนได้ ทรัพยากรประเภทนี้ได้แก่
แรธ่ าตุ นา้ มนั และถา่ นหนิ

3

ประเภทของ
ทรพั ยากรธรรมชาติ

ใช้แล้วหมดไป ใช้แลว้ ไมห่ มดไป ทดแทนได้

ใชแ้ ลว้ ไมห่ มดไป
ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ใ ช้ แ ล้ ว ไ ม่ ห ม ด ไ ป
หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติท่ีเมื่อใช้แล้วมีคุณภาพ
ลดลง แลว้ สามารถปรับปรงุ ให้กลับมาอยู่ในสภาพเดมิ
ได้ ทรัพยากรธรรมชาติประเภทน้ีได้แก่ ดิน น้า และ
อากาศ แสงอาทิตย์

4

ประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติ

ใชแ้ ลว้ หมดไป ใชแ้ ลว้ ไมห่ มดไป ทดแทนได้

ทดแทนได้
ท รั พ ย า ก ร ท่ี ใ ช้ แ ล้ ว ท ด แ ท น ไ ด้ ห ม า ย ถึ ง
ทรัพยากรธรรมทใ่ี ชแ้ ลว้ สามารถสร้าง ปลูก เพาะพันธ์ุ
ทดแทนขึ้นมาใหม่ได้ ทรัพยากรธรรมชาติประเภทน้ี
ไดแ้ ก่ นา้ ดิน ป่าไม้ และสตั วป์ า่

5

ประเภทของ
ทรพั ยากรธรรมชาติ

ใช้แลว้ หมดไป ใชแ้ ลว้ ไมห่ มดไป ทดแทนได้

ทดแทนได้

น้า ท่ีอยู่ ณ ท่ีใดที่หน่ึง (water in place) หมายถึง
น้าที่อยู่ในที่เฉพาะแห่ง เช่น น้าในภาชนะ น้าในเข่ือน เมื่อใช่ไป
เร่ือย ๆ ปริมาณจะลดลง แต่จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นได้เม่ือเกิด
ฝนตกนา้ ทอี่ ยู่ ณ ท่ีใดท่ีหน่งึ เมอ่ื ใช้แล้วก็จะหมดไป แต่สามารถ
ทจ่ี ะหามาทดแทนใหม่ได้

6

ประเภทของ
ทรพั ยากรธรรมชาติ

ใชแ้ ลว้ หมดไป ใช้แลว้ ไมห่ มดไป ทดแทนได้

ทดแทนได้

ดนิ (soil) หมายถึง เนือ้ ดนิ ที่เปน็ ท่ีอยู่อาศยั ของพชื เปน็ แหล่งสะสมแร่
ธาตุอาหารที่จาเป็นสาหรับพืช เพราะเหตุที่อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย
ยารกั ษาโรค ส่วนมากมาจากพืชซึ่งเจริญเติบโตมาจากดินหรือได้จากสัตว์ซ่ึง
กนิ พืช แตด่ นิ เกดิ ทดแทนตามธรรมชาตไิ ด้ชา้ มาก อย่างไรก็ตามถึงดินจะเกิด
ไดช้ า้ แตม่ นษุ ย์กส็ ามารถดแู ลรกั ษาดินให้คงมีคุณภาพเหมือนเดิมได้โดยการ
ใส่ปุ๋ยหรือการใช้ประโยชน์จากดินอย่างถูกต้องตามหลักการอนุรักษ์
เพราะฉะน้ันลักษณะสมบัติของดินในแง่ของทรัพยากรธรรมชาติแล้วจัดเป็น
ประเภทที่สามารถรักษาให้คงอยู่ได้ (maintainable) มากกว่าการเกิดขึ้น
ทดแทน (replaceable)

7

ประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติ

ใชแ้ ลว้ หมดไป ใชแ้ ลว้ ไมห่ มดไป ทดแทนได้

ทดแทนได้

ป่าไม้ (forest) ทรัพยากรป่าไม้นับว่ามีความสาคัญมาก
ในแง่ของการอนุรักษ์ดิน น้า และสัตว์ป่า ซึ่งอานวยประโยชน์
ให้มนุษย์ท้ังทางตรงและทางอ้อม เน่ืองจากป่าไม้สามารถข้ึน
ทดแทนโดยธรรมชาติ หรือการปลูกให้เป็นป่ามาใหม่ได้ ป่าไม้
จึงถูกจัดอยู่ในทรัพยากรธรรมชาติพวกที่เกิดขึ้นทดแทนและ
รักษาให้คงอยูไ่ ด้

8

ประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติ

ใช้แลว้ หมดไป ใชแ้ ลว้ ไม่หมดไป ทดแทนได้

ทดแทนได้

สัตวป์ ่า (Wildlife) ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.
2535 ไดใ้ ห้คานิยามไว้ว่า สัตว์ทกุ ชนิดไม่ว่าสัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก แมลง
หรือแมง ซ่ึงตามสภาพธรรมชาติย่อมเกิดและดารงชีวิต อยู่ในป่าหรือในน้า
และให้หมายความรวมถึง ไข่ของสัตว์ป่าเหล่าน้ันทุกชนิดด้วย แต่ไม่
หมายความ รวมถึงสัตว์พาหนะท่ีได้จดทะเบียนทาตั๋วรูปพรรณตามกฏหมาย
ว่าด้วยสัตว์พาหนะแล้ว และสัตว์ พาหนะท่ีได้มาจากการสืบพันธ์ุของสัตว์
พาหนะดงั กล่าว

9

สตั ว์ป่าสงวน

สตั วป์ า่ สงวน เป็นสัตว์ป่าหายากหรอื กาลังจะสูญพนั ธ์ุ จึงหา้ มลา่ หรือมี
ไว้ครอบครองท้ังสัตว์ท่ียังมีชีวิตหรือซากสัตว์ เว้นแต่จะกระทาเพื่อการ
ศึกษาวิจัยทางวิชาการหรือมีไว้เพ่ือกิจการสวนสาธารณะ โดยได้รับอนุญาต
จากอธบิ ดกี รมป่าไม้เปน็ กรณพี เิ ศษ สตั วป์ ่าสงวนมี 15 ชนิด คอื

นกเจา้ ฟา้ หญงิ สริ นิ ทร แรดชวา กระซู่ กปู รี

ควายปา่ ละอง/ละมง่ั สมนั กวางผา

นกแตว้ แรว้ ทอ้ งดา นกกระเรยี นไทย แมวลายหนิ อ่อน สมเสรจ็

เก้งหมอ้ พะยูน

10

สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง

สตั ว์ป่าสงวน คอื สัตว์ปา่ ที่มีช่ืออยู่ในบัญชีแนบท้าย กฎกระทรวง กาหนดให้
เปน็ สตั ว์ป่าบางชนิดเป็นสตั ว์ป่าคุม้ ครอง พ.ศ. 2546 ตามพระราชบัญญัติสงวนและ
คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ประกอบด้วยสัตว์ป่าจาพวกสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม
201 ชนิด นก 952 ชนิด สัตว์เล้ือยคลาน 91 ชนิด สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
12 ชนิด แมลง 20 ชนิด ปลา 14 ชนิด และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอ่ืน ๆ
12 ชนิด

ขอ้ ห้ามข้อบังคับบางประการจากพระราชบัญญัติฉบบั นี้ทีค่ วรทราบมีดงั นี้
➢ สตั วป์ า่ สงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เป็นสัตว์ป่าท่ีห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนาเข้าหรือ

ส่งออก เว้นแต่จะไดร้ บั อนุญาต ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจาคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกินสี่หม่ืนบาท
หรือทัง้ จาทั้งปรับ
➢ ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าไม่ว่าชนิดใด ห้ามล่าสัตว์ เก็บรัง ครอบครองที่ดิน แผ้วถาง หรือ
เปลีย่ นแปลงแหลง่ นา้ ผฝู้ า่ ฝนื มีโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับไม่เกินหน่ึงแสนบาท หรือ
ท้งั จาทงั้ ปรบั
➢ ห้ามครอบครองสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เว้นแต่จะได้รับอนุญาต ผู้ฝ่าฝืนมีโทษ
จาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสามหม่ืนบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ ในกรณีท่ีสัตว์ที่
ครอบครองเป็นสัตว์ที่มาจากการเพาะพันธุ์ที่ไม่ถูกต้อง จะต้องโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรือปรับไมเ่ กนิ หนง่ึ หมนื่ บาท หรอื ทัง้ จาทัง้ ปรับ
➢ หา้ มเพาะพนั ธส์ุ ตั วป์ ่าสงวนและสตั วป์ า่ คมุ้ ครอง เว้นแตจ่ ะไดร้ ับอนญุ าต ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจาคุก
ไม่เกนิ สามปี หรอื ปรับไม่เกนิ สามหม่ืนบาท หรือทง้ั จาทัง้ ปรับ
➢ ในกรณที ี่การลา่ เป็นการลา่ เพ่อื ปกป้องตนเองหรือผู้อ่ืนหรือทรัพย์สิน หรือเหตุอื่นท่ีเห็นว่า
เป็นการกระทาทคี่ วรแกเ่ หตุ ไมต่ อ้ งรับโทษ
➢ การห้ามการครอบครองและห้ามค้า มผี ลไปถึงไข่และซากของสัตวเ์ หลา่ น้นั ด้วย
➢ ห้ามเก็บหรือทาอันตรายรังของสัตว์ ยกเว้นรังนกอีแอ่น (นกแอ่นกินรัง) ซึ่งต้องได้รับ
อนญุ าตเชน่ กนั

11

โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ
ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ในหลวงรัชกาลท่ี 9

ปัญหาเร่ืองสิ่งแวดล้อม เป็นปัญหาที่มีความสาคัญควบคู่กับการพัฒนาความเจริญก้าวหน้า
ซ่ึงเป็นปัญหาร่วมกันของทุกประเทศ กล่าวคือ การพัฒนาย่ิงรุดหน้าปัญหาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมและภาวะมลพิษยิ่งก่อตัวและทวีความรุนแรงมากย่ิงข้ึน ประเทศไทยนับเป็นประเทศ
หนึ่งที่กาลังประสบกับปัญหาดังกล่าว ท้ังนี้เพราะการพัฒนาเศรษฐกิจในช่วงท่ีผ่านมาให้
ความสาคัญกับอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยการนาเอาทรัพยากรมาใช้ประโยชน์
แต่ ไ ม่ ไ ด้มี ก าร ว าง แ ผ น ก าร จั ดก า รที เ หม า ะ ส ม รอ ง รับ ปั ญห า ท่ีจ ะ เ กิ ด ขึ้น ทา ใ ห้
ทรัพยากรธรรมชาติทเี่ หลอื อยู่มสี ภาพเสอื่ มโทรมลง

ดา้ นการอนรุ กั ษ์และพฒั นาทรพั ยากรดนิ

1. โครงการแกล้งดิน ท่ีได้ดาเนินการในศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอัน
เนือ่ งมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธวิ าส ได้พระราชทานแนวพระราชดารสั ไวด้ ังน้ี

...ให้มกี ารทดลองทาดินให้เปรี้ยวจัด โดยการระบายน้าให้แห้งและศึกษาวิธีแก้
ดนิ เปรย้ี ว เพือ่ นาผลไปแก้ปัญหาดินเปร้ยี วให้แก่ราษฎรท่ีมีปัญหาในเร่ืองนใี้ นเขต
จงั หวดั นราธวิ าส โดยใหท้ าโครงการศึกษาทดลองในกาหนด ๒ ปี และพชื ทาการ

ทดลองควรเปน็ ข้าว...
...ท่ที น่ี ้าทว่ มทีห่ าประโยชน์ไม่ได้ ถา้ เราจะทาให้มันโผล่พน้ น้าขึ้นมา มกี ารระบายน้า
ออกไปกจ็ ะเกดิ ประโยชนพ์ ้นนา้ ขนึ้ มา มกี ารระบายน้าออกไปกจ็ ะเกิดประโยชน์กับ

ประชาชนในเรือ่ งการทามาหากินอยา่ งมหาศาล...

12

โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ
ด้านสง่ิ แวดล้อม ในหลวงรชั กาลที่ 9

ดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรดนิ

2. การอนุรกั ษด์ ินด้วยหญ้าแฝก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทาน

พระราชดาริเกี่ยวกับการพัฒนาและรณรงค์การใช้
หญ้าแฝก ครั้งแรกเมื่อวันท่ี 22 มิถุนายน 2534
ทรงตรัสว่าหญ้าแฝกเป็นหญ้าของไทยสามารถใช้
อนุรักษ์ดินและน้าได้ดี ป้องกันการชะล้างพังทลาย
ของดิน ในขณะน้ันยังไม่มีใครรู้จักหญ้าแฝก
สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี

เป็นพระองค์แรกท่ีทาการทดลองเล้ียงและปลูกหญ้าแฝกเป็นจานวน 1 ล้านถุง
แรกที่ดอยตุง หลายหน่วยงานพยายามค้นหาหญ้าแฝกตามสถานท่ีต่างๆ แต่ก็ล้มเหลว
จนต้องเชิญ ดร.เต็ม สมิตินันท์ ปรมาจารย์ทางด้านพฤกษศาสตร์ ท่านก็ไปช่วยหา
หญ้าแฝกท่ัวประเทศ ในท่ีสุดก็เจอหญ้าแฝกที่เพชรบุรี เป็นหญ้าแฝกท่ีมีกอใหญ่มาก
จากน้ันก็เร่ิมรวบรวมหญ้าแฝก กรมพัฒนาท่ีดินเป็นหน่วยงานแรกท่ีทาการรวบรวม
หญ้าแฝก โดยรวบรวมมาจากหลายจังหวัด ขณะนี้สามารถรวบรวมสายพันธ์ุของหญ้า
แฝกได้กว่า 100 สายพันธ์ุ ถ้าพบที่สงขลาเรียกว่าสายพันธ์ุสงขลา พบท่ีกาแพงเพชร
เรียกว่าสายพันธุ์กาแพงเพชร พบท่ีอุดรก็เรียดว่าสายพันธุ์อุดร จากการสารวจพบว่ามี
กระจายอยูท่ ว่ั ประเทศ กรมพฒั นาทีด่ ินไดน้ าเอาหญ้าแฝกมาป้องกันการชะล้างพังทลาย
หน้าดินตามลาคลอง อ่างเก็บน้า หญา้ แฝกช่วยกรองทาใหน้ ้าใส

13

โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ
ดา้ นสง่ิ แวดล้อม ในหลวงรชั กาลท่ี 9

ดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรดนิ

3. การห่มดิน
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ทรงพระราชทานแนวพระราชดาริในการดูแลและรักษา

ดินอีกทางหนึ่ง น่ันคือ “การห่มดิน” เพ่ือให้ดินมีความชุ่มช้ืน จุลินทรีย์ทางานได้ดี
อันจะส่งผลให้ดินบริเวณน้ันทาการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ป้องกันการชะล้าง
พังทลายของดินและพัฒนาทรัพยากรดินให้เกิดแร่ธาตุ ทั้งนี้การห่มดินมีอยู่ด้วยกัน
หลายวิธีการ เช่น ใช้ฟางและเศษใบไม้มาห่มดินหรือวัสดุอื่นตามที่หาได้ตามสภาพ
ท่ัวไปของพ้ืนที่, การใช้พรมใยปาล์ม (wee drop) ซ่ึงทามาจากปาล์มท่ีผ่านการรีด
น้ามันแล้ว เร่ิมจากการนาทะลายปาล์มมาตะกุยให้เป็นเส้น ๆ ก่อนจะเอาไปอัดให้เป็น
แผ่นเป็นผ้าห่มดิน นอกจากประโยชน์ที่กล่าวไปแล้ว การห่มดินยังจะช่วยคลุมหน้าดิน
ไม่ให้วัชพืชขน้ึ รบกวนตน้ ไม/้ พืชหลกั อีกดว้ ย

14

โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ
ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ในหลวงรชั กาลที่ 9

ดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรดิน

4. โครงการเกษตรทฤษฎใี หม่
ในการจัดพ้ืนที่ต่าง ๆ ดังกล่าวน้ี พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวทรงมีหลักการว่า ต้องวางแผนการจัด
ให้ดีเสียตั้งแต่ต้น โดยใช้แผนท่ีและภาพถ่ายทาง
อากาศช่วยการจัดสรรพ้ืนท่ีทากินควรจัดสรรตาม
แนวพื้นท่ีรับน้าจากโครงการชลประทานเป็นหลัก
ปัญหาการขาดแคชนท่ีดินทากินของเกษตรกรเป็น
ปญั หาสาคัญย่ิงในปัจจุบัน ด้วยพระอัจฉริยะในการ
แก้ปญั หาจึงไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดาริ เกี่ยวกับ
การทาการเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ดังพระราชดารัส
ตอนหนง่ึ วา่

...ทฤษฎีใหม.่ ..เปน็ วิธีการอยา่ งหนง่ึ ทจ่ี ะทาให้ประชาชนมีกนิ แบบตามอตั ภาพ
คืออาจไม่รวยมากแตก่ พ็ อกนิ ไม่อดอยาก...

เป็นการพฒั นาพ้ืนทที่ ากนิ ทมี่ ขี นาดเลก็ ด้วยการจัดสรรที่ดินให้เหมาะสมกับการทา
การเกษตรแบบผสมผสานอย่างได้ผล โดยแบง่ พืน้ ทอ่ี อกเปน็ ๔ สว่ นคือ

1. ร้อยละ ๓๐ ทีห่ น่งึ สาหรับปลูกข้าว
2. ร้อยละ ๓๐ ทส่ี องสาหรบั ปลูกพชื ไร่ พืชสวน
3. ร้อยละ ๓๐ ที่สามสาหรับขุดสระน้าไว้ใช้ในการเกษตร รวมถึงเล้ียงปลา
ไว้บริโภค
4. ร้อยละ ๑๐ สุดท้ายเป็นที่อยู่อาศัย พร้อมกับปลูกพืชสวนครัวใน
ลักษณะแบบครบวงจร ซงึ่ จะทาใหเ้ กษตรกรมีกนิ ตลอดทงั้ ปี

15

โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ
ด้านสงิ่ แวดล้อม ในหลวงรัชกาลท่ี 9

ดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นา
ทรพั ยากรแหลง่ นา้

1. การสรา้ งฝายชะลอนา้
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ได้พระราชทานแนวพระราชดาริเกี่ยวกับการพิจารณาสร้าง
ฝายชะลอความชุ่มชน้ื เพ่อื สรา้ งระบบวงจรน้าแกป่ า่ ไม้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ คือ
...ใหด้ าเนินการสารวจหาทาเลสรา้ งฝายตน้ น้าลาธารในระดับท่ีสูง ท่ใี กล้บริเวณยอดเขา
มากทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะเป็นไปได้ ลกั ษณะของฝายดังกล่าวจาเปน็ จะต้องออกแบบใหม่ เพ่ือให้

สามารถเกบ็ กกั น้าไวไ้ ดป้ รมิ าณมากพอสมควรเป็นเวลานาน 2 เดือน...
…การเก็บรักษาน้าสารองได้นานหลังจากฤดฝู นผ่านไปแลว้ จะทาใหม้ ีปริมาณน้าหลอ่
เลยี้ ง และประคับประคองกลา้ ไมพ้ ันธุท์ ่ีแขง็ แรงจะโตเร็วทใ่ี ช้ปลูกแซมในป่าแห้งแลง้
อย่างสมา่ เสมอและตอ่ เนอื่ ง โดยการจา่ ยนา้ ออกไปรอบ ๆ ตัวฝายจนสามารถตง้ั ตัวได้...

16

โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ
ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ในหลวงรัชกาลท่ี 9

ด้านการอนรุ กั ษ์และพฒั นา
ทรัพยากรแหลง่ นา้

2. โครงการแกม้ ลงิ
โครงการแก้มลิง เป็นแนวคิดในพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพ่ือ
แก้ปัญหาอุทกภัย โดยพระองค์ทรงตระหนักถึงความรุนแรงของอุทกภัยที่เกิดข้ึนใน
กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ.2538 จึงมีพระราชดาริ "โครงการแก้มลิง" ข้ึน เม่ือ
วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๓๘ โดยให้จัดหาสถานที่เก็บกักน้าตามจุดต่างๆ ใน
กรุงเทพมหานคร เพ่ือรองรับน้าฝนไว้ช่ัวคราว เมื่อถึงเวลาที่คลองพอจะระบายน้าได้จึง
ค่อยระบายน้าจากสว่ นที่กักเกบ็ ไว้ออกไป จงึ สามารถลดปญั หาน้าท่วมได้

แนวคิดของโครงการแก้มลิง เกิดจากการท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มี
พระราชดาริถึงลิงที่อมกล้วยไว้ในกระพุ้งแก้มได้คราวละมากๆ จึงมีพระราชกระแส
อธิบายว่า "ลิงโดยทั่วไปถ้าเราส่งกล้วยให้ ลิงจะรีบปอกเปลือก เอาเข้าปากเค้ียว แล้ว
นาไปเก็บไว้ที่แก้มก่อน ลิงจะทาอย่างนี้จนกล้วยหมดหวีหรือเต็มกระพุ้งแก้ม จากนั้นจะ
ค่อยๆ นาออกมาเคี้ยวและกลืนกินภายหลัง" ด้วยแนวพระราชดารินี้ จึงเกิดเป็น
"โครงการแก้มลิง" ขึ้น เพื่อสร้างพื้นท่ีกักเก็บน้า ไว้รอการระบายเพื่อใช้ประโยชน์ใน
ภายหลัง

17

โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ
ดา้ นสง่ิ แวดล้อม ในหลวงรชั กาลที่ 9

ดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นา
ทรพั ยากรแหลง่ นา้

3. โครงการกงั หันน้าชัยพัฒนา
กังหนั นา้ ชัยพฒั นา คือสิ่งประดิษฐ์ซึง่ เกิดจากพระปรชี าสามารถและพระราชดาริ

ของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยหู่ ัว เพ่อื การแกม้ ลพษิ ทางน้าซง่ึ ทวีความรุนแรงมากขึ้นใน
หลายพ้ืนท่ี ซึ่งสร้างเคร่ืองต้นแบบได้คร้ังแรกในปี 2532 การประยุกต์ใช้งาน
สามารถใช้ประโยชน์เพ่ือเติมอากาศให้กับน้าหรือใช้เพ่ือขับ เคลื่อนน้าได้ โดยการใช้
งานทัง้ ในรูปแบบท่ีติดตัง้ อยกู่ ับที่และใช้ในรูปแบบเคลื่อนที่ เพื่อเติมอากาศให้กับแหล่ง
น้าขนาดใหญ่ หรือตามคลองส่งน้าที่มีความยาวมาก ซึ่งดัดแปลงได้ด้วยการใช้
พลงั งานจากเครื่องยนตข์ องกงั หัน

กังหัน น้าชัยพัฒนา ได้รับสิทธิบัตรจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา เม่ือวันที่
2 กุมภาพันธ์ 2536 หลังจากเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนาซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักท่ี
สนองพระราชดารใิ น การพัฒนากังหันน้าได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ย่ืน
ขอรับสิทธิบัตร เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2535 จึงนับว่าเป็นสิทธิบัตรในพระ
ปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์พระองค์แรกของไทย และคร้ังแรกของโลก และถือว่า
วนั ที่ 2 กุมภาพันธ์ของทกุ ปเี ป็น “วนั นักประดิษฐ”์ นับแตน่ น้ั เป็นตน้ มา

18

โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ
ดา้ นสงิ่ แวดล้อม ในหลวงรชั กาลที่ 9

ด้านการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรปา่ ไม้

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นว่าการจัดการทรัพยากรป่าไม้ มีความเก่ียวโยงกับ
การอนุรักษ์ทรัพยากรแหล่งน้า จึงทรงเน้นการอนุรักษ์และพัฒนาป่าต้นน้าเป็นพิเศษ จากแนว
พระราชดาริของพระองค์ก่อให้เกิดโครงการพัฒนา และบารุงป่าไม้จานวนมากมายท่ัวประเทศ
โดยเฉพาะป่าไม้ท่ีเป็นต้นน้าลาธารให้คงสภาพอยู่เดิม เพื่อป้องกันอุทกภัยต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้น ใน
ขณะเดยี วกัน ก็ถนอมนา้ ไว้ใชส้ าหรบั หลอ่ เลยี้ งแม่น้าลาธารด้วย

พระราชกรณียกิจท่ีสาคัญที่เก่ียวกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ในด้านการอนุรักษ์และ
ฟืน้ ฟสู ภาพป่าท่เี สอ่ื มโทรม มตี วั อยา่ ง คอื

1. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ อาเภอดอยสะเก็ด
จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาค้นคว้า เก่ียวกับรูปแบบที่เหมาะสมของการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นน้าลาธาร
เพื่อประโยชนท์ างเศรษฐกิจรวมท้ังรูปแบบการพัฒนาต่าง ๆ ที่ทาให้เกษตรกรพึ่งตนเองได้ โดย
ไม่ต้องทาลายสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

2. โครงการพัฒนาพื้นท่ีห้วยลานอันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอสันกาแพง จังหวัด
เชียงใหม่ เพ่ือบารุงฟื้นฟูป่าไม้ท่ีเป็นต้นน้าลาธารให้คงสภาพอยู่เดิม อันจะเป็นประโยชน์ในการ
ป้องกันอทุ กภัย และรกั ษาสภาพแหลง่ ต้นน้าลาธาร

3. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ จังหวัดเพชรบุรี ได้ประสบ
ผลสาเร็จอย่างสูงในด้านการลดปัญหาการบุกรุกทาลายป่า การป้องกันไฟป่า และการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติด้วยการแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาแหล่งน้าเพ่ือการปลูกป่าท่ีเรียบง่าย
ประหยดั เหมาะสมกบั ราษฎรท่ีสามารถนาไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยการปลูกป่าทดแทนให้ได้
ประโยชน์อเนกประสงค์

19

โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ
ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ในหลวงรัชกาลที่ 9

ดา้ นการอนรุ กั ษ์และพฒั นาทรพั ยากรปา่ ไม้

4. โครงการป่าสาธิตส่วนพระองค์ พระตาหนักสวนจิตรลดา เพื่ออนุรักษ์ รวบรวมและ
ขยายพนั ธพุ์ ฤกษชาติรวมทงั้ พืชสมุนไพร เพอ่ื รกั ษาความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรป่า
ไม้

5. โครงการชุมชนพัฒนาป่าชายเลนิ ตาบลหัวเขา อาเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา มี
วัตถุประสงค์ท่ีจะทาการพัฒนาชุมชนให้มีความสานึกในความรู้ความเข้าใจในการใช้ทรัพยากร
ชายฝ่ัง เป็นการพัฒนาและฟื้นฟูป่าชายเลนในอีกมิติหน่ึงของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่
อาศยั ความเกี่ยวพนั และเกื้อกูลซง่ึ กันและกันของมนุษย์กับธรรมชาติ

6. โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนยะหริ่ง อาเภอยะหร่ิง จังหวัด ปัตตานี มี
เป้าหมายมุ่งเน้นให้เกิดประสิทธิภาพในด้านการจัดการและสงวนรักษาทรัพยากรป่าชายเลน มี
เจตนารมณ์ที่จะให้ทุกฝ่ายมีความรู้ ความเข้าใจของสมดุลระบบนิเวศชายฝ่ัง และสร้างความ
ร่วมมือรวมพลังกันระหว่างชุมชนและนักวิชาการที่จะปกปักรักษาและพัฒนาป่าชายเลนให้สามารถ
ใชป้ ระโยชน์อย่างยั่งยืน

7. ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธริ อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัด นราธิวาส มี
วัตถุประสงค์เพื่อทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของป่าพรุ อันจะทาให้
การพัฒนาพ้ืนท่ีพรุเป็นไปอย่างสอดคล้องผสมผสานกันทั้งในเร่ืองการอนุรักษ์ และการพัฒนา
พ้ืนท่ีเขตต่าง ๆ ในป่าพรุได้ดาเนินการไปพร้อมกันอย่างได้ผลดียิ่ง ทาให้ป่าพรุได้รับการใช้
ประโยชนอ์ ยา่ งอเนกประสงค์ ควบคกู่ บั การสร้างสมดุลของระบบนิเวศ

20

โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ
ดา้ นสงิ่ แวดล้อม ในหลวงรชั กาลที่ 9

ด้านการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรปา่ ไม้

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นว่าการจัดการทรัพยากรป่าไม้ มีความเก่ียวโยงกับ
การอนุรักษ์ทรัพยากรแหล่งน้า จึงทรงเน้นการอนุรักษ์และพัฒนาป่าต้นน้าเป็นพิเศษ จากแนว
พระราชดาริของพระองค์ก่อให้เกิดโครงการพัฒนา และบารุงป่าไม้จานวนมากมายท่ัวประเทศ
โดยเฉพาะป่าไม้ท่ีเป็นต้นน้าลาธารให้คงสภาพอยู่เดิม เพื่อป้องกันอุทกภัยต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้น ใน
ขณะเดยี วกัน ก็ถนอมนา้ ไว้ใชส้ าหรบั หลอ่ เลยี้ งแม่น้าลาธารด้วย

พระราชกรณียกิจท่ีสาคัญที่เก่ียวกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ในด้านการอนุรักษ์และ
ฟืน้ ฟสู ภาพป่าท่เี สอ่ื มโทรม มตี วั อยา่ ง คอื

1. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ อาเภอดอยสะเก็ด
จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาค้นคว้า เก่ียวกับรูปแบบที่เหมาะสมของการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นน้าลาธาร
เพื่อประโยชนท์ างเศรษฐกิจรวมท้ังรูปแบบการพัฒนาต่าง ๆ ที่ทาให้เกษตรกรพึ่งตนเองได้ โดย
ไม่ต้องทาลายสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

2. โครงการพัฒนาพื้นท่ีห้วยลานอันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอสันกาแพง จังหวัด
เชียงใหม่ เพ่ือบารุงฟื้นฟูป่าไม้ท่ีเป็นต้นน้าลาธารให้คงสภาพอยู่เดิม อันจะเป็นประโยชน์ในการ
ป้องกันอทุ กภัย และรกั ษาสภาพแหลง่ ต้นน้าลาธาร

3. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ จังหวัดเพชรบุรี ได้ประสบ
ผลสาเร็จอย่างสูงในด้านการลดปัญหาการบุกรุกทาลายป่า การป้องกันไฟป่า และการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติด้วยการแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาแหล่งน้าเพ่ือการปลูกป่าท่ีเรียบง่าย
ประหยดั เหมาะสมกบั ราษฎรท่ีสามารถนาไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยการปลูกป่าทดแทนให้ได้
ประโยชน์อเนกประสงค์

21

โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ
ดา้ นสงิ่ แวดล้อม ในหลวงรัชกาลที่ 9

ด้านการอนรุ กั ษ์และพฒั นาทรพั ยากรสตั ว์ปา่

ทรพั ยากรสตั ว์ปา่ ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไปของสภาพแวดล้อม และเพราะการ
ถูกล่า จากน้ามือมนุษย์จนเกือบจะสูญพันธ์ุไปเป็นอีกปัญหาหนึ่ง ท่ีทรงพยายามแก้ไขโดยทรงทา
ควบคู่ไปกับการส่งเสริมการปลูกป่า ทั้งน้ี เพราะท้ังป่าและสัตว์ป่า ต่างพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน
จนไม่อาจแยกออกจากกันได้ “โครงการสวนสัตว์ธรรมชาติภูเขียวอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ”
เป็นตัวอย่างหนึ่ง ในจานวนหลายๆ โครงการ ท่ีแสดงให้เห็นถึงความพยายาม ของพระองค์
เกี่ยวกับการอนุรักษ์พันธ์ุสัตว์ป่า เหตุที่ทรงเลือกพ้ืนที่แห่งนี้ในการดาเนินโครงการ เพราะทรงมี
พระราชวินจิ ฉยั วา่

“บนพื้นท่ีภูเขียวเป็นที่ราบสูงกว้างขวาง มีสภาพป่า สมบูรณ์และยังมีสัตว์ป่า อยู่มากมาย
หลายชนิด เป็นจานวนมาก เหมาะท่ีจะอนุรักษ์ ให้เป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ป่า และพัฒนาให้เป็น
สวนสัตว์เปิด (Natural Zoo) ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ต่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ และ
ส่งเสริมการท่องเที่ยว ต่อไปในอนคต และการท่ีจะดาเนินการให้เป็นผลสาเร็จนั้น จะต้องยับยั้ง
ไม่ให้ราษฎรบุกรุกป่าและทาลายสัตว์ป่า โดยการพัฒนาหมู่บ้านบริเวณใกล้เคียงภูเขียวท้ังหมด
ใหม้ คี วามเจรญิ สง่ เสรมิ พัฒนาอาชพี ใหส้ ามารถดารงชีพอยไู่ ด้ มีความเปน็ อยดู่ ี”

ด้วยสายพระเนตรท่ียาวไกล และทรงเข้าพระราชหฤทัยอย่างลึกซ้ึงในการอนุรักษ์
ทรพั ยากรป่าไม้ การแกป้ ญั หาใหค้ นอยู่กบั ทกุ สิ่งอย่างท่ีเป็นธรรมชาติได้อย่างย่ังยืนโดย เกื้อกูล
ซง่ึ กนั และกัน เป็นที่มาของการอนุรกั ษ์ฟน้ื ฟทู รัพยากรธรรมชาติและพัฒนาคณุ ภาพชีวิต

22

โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ
ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม ในหลวงรัชกาลท่ี 9

ดา้ นการอนรุ กั ษ์และพฒั นาทรพั ยากร
หมุนเวียน

โครงการไบโอดเี ซล
อีกหนึ่งโครงการพระราชดาริจากรัชกาลที่ 9 ทรงได้รับประกาศนียบัตรสดุดี

เทดิ พระเกียรติ จากประเทศเบลเย่ยี ม
ในการคิดค้นนวัตกรรม เพื่อลดรายจ่ายให้กับประชาชน โดยผลิตเชื้อเพลิง

ดีเซลทางเลอื ก จากแหล่งทรพั ยากรหมุนเวียน
อาทิ น้ามันพืช ไขมันสัตว์ ซ่ึงมีคุณสมบัติการเผาไหม้ท่ีดี และไม่เป็นพิษต่อ

สิ่งแวดล้อม

23

โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ
ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ในหลวงรัชกาลที่ 10

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 10 ทรงสืบสานพระราชปณิธานของพระ
ราชบิดามอบหมายให้องคมนตรีพัฒนาต่อยอดโครงการพระราชดาริท้ังหมด
ทรงรับสั่งถ้าเราไม่ไปดูส่ิงแวดล้อมก็จะเสื่อมโทรม องคมนตรีแบ่งพ้ืนที่
รับผิดชอบ 77 จังหวัด ติดตามโครงการพระราชดาริท้ัง 4,000 กว่า
โครงการครอบคลุมทุกด้าน รวมถึงด้านส่ิงแวดล้อม สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
ทรงโปรดฯ รับโครงการด้านการพัฒนาแหล่งน้าไว้เป็นโครงการอัน
เน่ืองมาจากพระราชดาริ ประจาปี 2560 จานวน 20 โครงการ เป็น
โครงการเกิดใหม่ ทรงเตรียมรับมือธรรมชาติท่ีเปลี่ยนแปลง มอบหมายให้
องคมนตรดี แู ลการบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติ ทรงมีรับสั่งแก้ปัญหาอุทกภัย
ภาคใต้ ให้เร่งดูแลประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน ให้มีชีวิตดีข้ึนเร็วท่ีสุด
ต้องวางแผนเผชิญเหตุให้ดี อย่าให้เกิดความซ้าซ้อนในการปฏิบัติงาน และ
น้อมนาแนวพระราชดาริของในหลวง ร.9 ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ
พ้ืนท่ี นอกจากนี้ น้าท่วมภาคอีสาน ทรงมอบหมายให้องคมนตรีเดินทางลง
พื้นท่ีประสบภยั

24

ทรัพยากรธรรมชาติ

ปญั หาการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ

ปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย มีปัญหาเพ่ิมขึ้น
เน่ืองจากขาดความระมัดระวังในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงปัญหา
เหล่านั้นล้วนเกิดจากฝีมือของมนุษย์เป็นหลัก ทาให้มีผลกระทบต่อการ
ดารงชีวติ ของสง่ิ มชี วี ิตตา่ ง ๆ

วิธอี นรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ

เราควรช่วยกันดูแล รักษา และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ใช้
ทรัพยากรธรรมชาติที่จากัดอยู่อย่างคุ้มค่า คานึงถึงความประหยัด และ
ประโยชน์ใช้สอยเป็นสาคัญ เป็นการใช้ทรัพยากรท่ีก่อประโยชน์สูงและ
ประหยัดทส่ี ดุ

ทรัพยากรธรรมชาติก็จะคืนดุลให้แก่ธรรมชาติ เป็นหนทางช่วย
ทอ้ งถิน่ ประเทศชาติ และโลกทางหนง่ึ

25

เขาวงกตแสนสนกุ

คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนหาทางทใี่ กลท้ ี่สดุ ที่ให้แสงอาทิตย์เคลื่อน
ผา่ นไปถึงบ้านทมี่ แี ผงโซลาร์เซลลไ์ ด้

เกร็ดน่ารู้

พลงั งานแสงอาทิตย์ จัดเป็นพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนท่ีใช้แล้วไม่หมดไป
ความร้อนท่ีได้จากแสงแดดสามารถทาให้ผ้าแห้ง อาหารแห้ง สร้างความอบอุ่นให้แก่
ร่างกาย และเรายังใช้แสงสว่างของดวงอาทิตย์ในการดารงชีวิตประจาวัน ช่วยในการ
มองเห็น เป็นตัวบอกเวลาตามธรรมชาติ และนอกจากน้ีพลังงานจากแสงอาทิตย์ยังช่วย
ให้พืชเจริญเติบโต เป็นแหล่งอาหารของมนุษย์และสัตว์ เป็นต้น ซ่ึงการใช้พลังงาน
แบบน้ไี มจ่ าเป็นต้องอาศัยอุปกรณเ์ ลย
26

เขาวงกตแสนสนกุ

คาช้ีแจง ให้นักเรียนช่วยหาทางให้กับเด็กผู้ชายเพื่อนาขยะไป
ท้งิ ในสถานทีท่ ่เี หมาะสม

เกร็ดน่ารู้

สีของถังขยะนั้นถูกแบ่งออกเป็นสีตามการใช้งานแต่ละประเภท แบ่งได้เป็น 4 สี และ
ถังขยะแตล่ ะสี มคี วามหมาย ดงั นี้

ถงั ขยะสเี ขยี ว รองรบั ขยะยอ่ ยสลายได้เร็ว เชน่ ผกั ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้
ถังขยะสเี หลอื ง รองรับขยะที่รีไซเคลิ หรือขายได้ เชน่ แก้ว กระดาษ พลาสตกิ โลหะ
ถังขยะสีฟ้า รองรับขยะย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิล เช่น
พลาสติกห่อลกู อม ซองบะหมี่สาเรจ็ รูป ถุงพลาสติก โฟมและฟอล์ยทีเ่ ปือ้ นอาหาร
ถังขยะสีแดง หรือ ถังขยะสีเทาฝาสีส้มรองรับขยะที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และ
สิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องยาฆ่า
แมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายตา่ ง ๆ

27

เขาวงกตแสนสนกุ

คาช้ีแจง ให้นักเรียนช่วยพาสมเสร็จกลับป่าในเส้นทางที่ใกล้
ทสี่ ุด

เกรด็ นา่ รู้

สมเสร็จ (อังกฤษ: Tapir) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมกินพืชขนาดใหญ่ เป็น
สัตว์มหี นา้ ตาประหลาด มลี กั ษณะของสัตว์หลายชนิดผสมอยู่ในตัวเดียวกัน มีจมูกที่
ย่ืนยาวออกมาคล้ายงวงของช้าง ลาตัวคล้ายหมูท่ีมีขายาว หางส้ันคล้ายหมีและมี
กีบเท้าคล้ายแรด อาศัยในป่าทึบในแถบอเมริกาใต้, อเมริกากลาง, และ เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ มีท้ังหมดสี่ชนิด คือ สมเสร็จอเมริกาใต้, สมเสร็จมลายู,
สมเสรจ็ อเมรกิ ากลาง และสมเสร็จภูเขา ทั้งส่ีชนิดถูกจัดสถานะเป็นใกล้สูญพันธุ์หรือ
เสี่ยงตอ่ การสูญพันธ์ุ สมเสร็จเปน็ ญาติใกลช้ ดิ กับสตั ว์กีบค่ีอ่ืน ไดแ้ ก่ มา้ และแรด
28


Click to View FlipBook Version