The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nammol.sexy, 2022-04-12 02:59:07

คู่มือ 2565

คู่มือ 2565

หนา้ 1
Rev.: 003/2565

หนา้ 2
Rev.: 003/2565

สารบัญ หนา้ 3
อปุ กรณ์ความปลอดภยั บนสถานรี ถไฟฟ้ า
การใช้เครื่องตรวจโลหะ หน้า
เหตกุ ารณ์ 5 กรณี ท่ี รปภ.สามารถกดป่ มุ หยดุ รถไฟฟ้ าฉกุ เฉินได้ทนั ที 4
กลอ่ งสญั ญาณเตอื นเหตเุ พลงิ ไหม้ MCP (กลอ่ งกรอบสแี ดง) 5
การใช้ถงั ดบั เพลงิ 9
การใช้สายฉีดนา้ ดบั เพลงิ 11
วตั ถตุ ้องสงสยั รหสั เหลอื งและรหสั แดง 13
วิธีการจดจาคนร้ายและรปปพรรณสณั าาน 15
การช่วยเหลอื ผ้โป ดยสารนง่ั วีลแชร์ขนึ ้ /ลงบนั ไดเลอื่ น 18
การกดป่ มุ ฉกุ เฉินเพือ่ หยดุ บนั ไดเลอื่ นชนิดต่างๆ 20
การปฏิบตั ิหน้าที่เม่อื เกิดเหตกุ ารณ์ ในขบวนรถและไม่ต้องการให้รถไฟฟ้ าเคลอ่ื นออกไป 21
การใช้อปุ กรณ์ระบบตรวจการณ์ 25
เคร่ืองแบบ การแต่งกายและอปุ กรณ์ประจาตวั 27
เส้นทางการเดินรถไฟฟ้ าบที ีเอส 28
ความร้ปพนื ้ าานเกี่ยวกบั ระบบการเดินรถไฟฟ้ าบที เี อส 31
หน้าที่ของพนกั งานรักษาความปลอดภยั ประจาสถานีรถไฟฟ้ าบที ีเอส 34
1. การปฏิบตั ิหน้าท่ที ว่ั ไป 36
2. การปฏบิ ตั หิ น้าท่ี บริเวณชนั ้ จาหนา่ ยตว๋ั 37
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ บริเวณชนั ้ ชานชาลา
4. การปฏบิ ตั ิหน้าท่ี บริเวณ Walk Way 45
5. การปฏบิ ตั ิหน้าทใ่ี นชว่ งเวลาปิดให้บริการ 48
หน้าทข่ี องพนกั งานรักษาความปลอดภยั ประจาโรงจอดและซ่อมบารุงบางหว้า 49
หวั ข้ออบรมประจาวนั ของพนกั งานรักษาความปลอดภยั 53
หน้าท่ีของพนกั งานรักษาความปลอดภยั ประจาศนป ย์บริหารและควบคมุ การเดนิ รถไฟฟ้ าบที ีเอส 54
ประกาศกรุงเทพมหานคร 55
กฎข้อห้ามของบริษัทระบบขนสง่ มวลชนกรุงเทพจากดั (มหาชน) 56
บคุ คล 5 ประเภท ทีห่ ้ามใช้บริการรถไฟฟ้ าบที ีเอส 58
รหสั วิทยสุ อ่ื สาร 60
พนื ้ ท่รี ับผดิ ชอบของสถานตี ารวจในระบบรถไฟฟ้ าบที ีเอส

ความรับผดิ ชอบด้านความปลอดภยั สาหรับพนกั งานรักษาความปลอดภยั

Rev.: 003/2565

หนา้ 4

อุปกรณ์ความปลอดภัยบนสถานีรถไฟฟ้ า

1. เครื่องตรวจโลหะ ใช้ตรวจสมั ภาระของผ้โป ดยสารหรือใช้ตรวจวตั ถตุ ้องสงสยั
2. กล่องกรอบสีเหลือง(EMP) ใช้เพื่อหยดุ รถไฟฟ้ าในกรณีฉกุ เฉิน
3. กล่องกรอบสแี ดง(MCP) ใช้สง่ สญั ญานแจ้งเหตกุ รณีเกดิ เพลงิ ไหม้
4. ถังดบั เพลิง ใช้ระงบั เหตเุ พลงิ ไหม้ขนั้ ต้น
5. ตู้ดับเพลงิ ใช้เก็บอปุ กรณ์ระงบั เหตเุ พลงิ ไหม้
6. กระสอบทรายและยางรถยนต์ ใช้ในกรณีรหสั เหลือง/แดง เพ่ือบรรเทาความรุนแรงที่อาจ

เกดิ ขึน้ จากการระเบดิ

ทุกปัญหา ทุกเหตุการณ์ ทกุ ความสงสัย
1.แจ้งนายสถานีทนั ที
2.แจ้ง ซุปฯในพืน้ ท่ีรับทราบทนั ที
3.ควบคมุ สถานการณ์ และมสี ติ

Rev.: 003/2565

หนา้ 5

1. เครื่องตรวจโลหะ ใช้ตรวจสมั ภาระของผู้โดยสารหรือใช้ตรวจวัตถุต้องสงสยั

แบบท่ี 1

Rev.: 003/2565

หนา้ 6

แบบท่ี 2

Rev.: 003/2565

หนา้ 7

วัตถุประสงค์

เพ่ือเพิ่มมาตรการการรกั ษาความปลอดภยั ความเข้มงวดในการนาสงิ่ ของ เข้าเพื่อเดินทางในระบบ
และ เพื่อตรวจสอบบคุ คลที่จะโดยสาร ท่ีจะเข้ามาใช้บริการรถไฟฟ้ า บีทีเอส

การตรวจสอบความพร้ อมของอุปกรณ์

ตรวจสอบความพร้อมใช้งานอปุ กรณ์ ดงั นี ้

1. ทาการตรวจสอบกระแสไฟของแบตเตอร่ี

2. ทดลองเปิดเคร่ืองเพื่อสารวจวา่ เครื่องแสดงสถานะไฟเขียวหรือไม่ หากแสดงสถานะไฟเขียว
แสดงวา่ เครื่องสามารถใช้งานได้ตามปกติหากพบวา่ ไมป่ กติ ให้รีบแจ้งนายสถานีเพื่อ
ดาเนนิ การแก้ไขต่อไป

3. ห้าม ทาการปรับเปลีย่ นความไว / ระดบั เสียง ของอปุ กรณ์ที่ได้กาหนดไว้จากผ้ผป ลติ โดย
เด็ดขาด

การแจ้งซ่อม

1. กรณีเคร่ืองตรวจวตั ถโุ ลหะขดั ข้องไมส่ ามารถใช้การได้ ให้พนกั งานรักษาความปลอดภยั รายงานให้นาย
สถานที ราบทนั ทีและให้นายสถานีดาเนนิ การแจ้งซอ่ มโดยการกรอกแบบฟอร์มใบแจ้งซอ่ มอปุ กรณ์ พร้อม
อุปกรณ์ทข่ี ดั ข้องสง่ มายงั ฝ่ ายรักษาความปลอดภยั

2. กรณีเครื่องตรวจวตั ถโุ ลหะชารุด ให้เขียนรายงานสภาพอุปกรณ์ท่ชี ารุดพร้อมสาเหตุ เชน่ ไฟไมต่ ิด
ไมม่ ีเสยี ง เปิ ดแล้วเคร่ืองไมท่ างาน เป็ นต้น พร้อมอุปกรณ์ทช่ี ารุด สง่ มายงั ฝ่ ายรักษาความปลอดภยั

Rev.: 003/2565

หนา้ 8

ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ

1. ตรวจตราผ้โป ดยสารทกุ คน
2. การตรวจให้ใช้ตรวจสอบวตั ถตุ ้องสงสยั ในกระเป๋ า หรือสมั ภาระขนาดใหญ่ กลอ่ ง หรือวตั ถทุ ่ีสงสยั จะไม่

ใช้ตรวจตวั บคุ คลตรวจทกุ คนท่ีตรวจได้
3. หากกลอ่ งพสั ดุ ที่ปิ ดผนกึ มิดชิด ไมส่ ามารถเปิ ดให้ตรวจสอบได้ ให้พนกั งาน รปภ. ตรวจสอบด้วยอุปกรณ์

ตรวจวตั ถุโลหะ กลา่ วด้วยข้อความ ดงั นี ้ “ขออนุญาตครับ รบกวนขอตรวจสอบพสั ดุ ครับ” นาอุปกรณ์
ตรวจรอบๆ พสั ดดุ งั กลา่ ว

. กรณีไม่มีเสียงสัญญาณเตือน หรือไม่พบวัตถุโลหะ แจ้งขอบคุณ และขออภัยด้วยข้อความดังนี ้

“ขอบคณุ ครับ และขออภยั ในความไมส่ ะดวกครับ”

. กรณีมีเสยี งสญั ญาณเตือน และพบวตั ถทุ ี่ต้องสงสยั หรือท่ีเป็ นโลหะคล้ายอาวุธ ต้องแจ้งให้นายสถานี

ทราบทนั ที

4. เมื่อมีผ้โป ดยสาร ถือกระเป๋ า หรือกลอ่ งพสั ดุ ท่ีปิ ดผนึกมิดชิด ไม่สามารถมองเห็นภายในได้ ให้ พนกั งาน
รปภ. ขอให้ผ้โป ดยสาร เปิ ดกระเป๋ า หรือกลอ่ งพสั ดใุ ห้ตรวจ ห้ามพนกั งาน รปภ. เปิ ดเองโดยเด็ดขาด

Rev.: 003/2565

หนา้ 9

2. กล่องกรอบสเี หลอื ง(EMP) ใช้เพอ่ื หยดุ รถไฟฟ้ าในกรณีฉกุ เฉิน

Rev.: 003/2565

หนา้ 10

ทุกเหตุการณ์ท่เี กดิ ขึน้ ในเขตพกิ ดั ความไม่ปลอดภยั เชน่
คนลงราง,ตกราง,คนตกบริเวณข้อตอ่ ต้รป ถไฟฟ้ า,ขาตกชอ่ งวา่ งระหวา่ งขบวนรถกบั
ชานชาลา,มีคนล้มทล่ี า้ เข้าไปในเส้นเหลอื ง,มีส่งิ ของขนาดใหญ่ตกลงบริเวณรางรถไฟฟ้ า
หรือเหตอุ ่นื ๆทีอ่ นั จะก่อให้เกิดอนั ตรายตอ่ ชวี ติ และทรัพยส์ ิน

หมายเหตุ: ใช้นวิ้ กดป่ มุ สีดาให้ยุบลง

Rev.: 003/2565

หนา้ 11

3. กล่องกรอบสีแดง (MCP) ใช้สง่ สญั ญาณแจ้งเหตกุ รณีเกิดเพลงิ ไหม้

N8-N1,E1-E9 ,W1,CEN เดป็ โป้ BTS

S1-S6,ตึกอานวยการ,เด็ปโป้

S7-S8 S9 – เดป็ โป้ บางหวา้

E10 - E14 E15

Rev.: 003/2565

หนา้ 12

วธิ ีใช้ กล่องแดง ( MCP ) แจ้งเหตเุ พลงิ ไหม้

แบบกด

แบบดึง

แบบดึง

Rev.: 003/2565

4. ถังดับเพลงิ ใช้ระงบั เหตุเพลิงไหม้ขัน้ ต้น หนา้ 13
Rev.: 003/2565
1

2

3
4

หนา้ 14

การใช้ถงั ดบั เพลิง

ข้อควรปฏิบตั ใิ นการใช้ถงั ดบั เพลงิ ในสถานทีป่ ฏิบตั งิ าน เนือ่ งจากถงั ดบั เพลงิ ถกป ออกแบบมาใช้สาหรับดบั ไฟที่
เกิดขนึ ้ ขนาดเลก็ หรือเพลงิ เพิง่ ลกุ ไหม้ผ้ใป ช้ต้องเข้าใกล้สง่ิ ท่ีกาลงั ลกุ ไหม้ เพอื่ ทาการดบั ไฟจงึ มีข้อควรปฏบิ ตั ิ
ดงั ตอ่ ไปนี ้
- กอ่ นอื่นต้องร้ปวา่ มีถงั ดบั เพลงิ วางประจาอยทป่ ่ีใด ในบริเวณทีป่ ฏบิ ตั ิงาน
- จะต้องร้ปและเข้าใจเก่ียวกบั วธิ ีใช้ถงั ดบั เพลงิ
- จะต้องร้ปวา่ ถงั ดบั เพลงิ แตล่ ะประเภท จะใช้ดบั ไฟทล่ี กุ ไหม้วสั ดอุ ปุ กรณ์นนั้ ได้หรือไม่
- อยา่ ใช้ถงั ดบั เพลงิ ขนาดเลก็ ไปดบั เพลงิ ไหม้ใหญ่ ๆ โดยปราศจากกาลงั สนบั สนนุ
- กอ่ นเข้าทาการดบั ไฟจะต้องร้องขอความช่วยเหลอื หรือแจ้งเหตฉุ กุ เฉินกอ่ นเสมอ

ขัน้ ตอนการใช้ถังดับเพลงิ
ดงึ คือ เม่ือยกถงั ดบั เพลงิ ออกมาตงั้ แล้ว สงั เกตบนถงั จะมีสลกั เสยี บขวางก้านบบี ไว้คอ่ ย ๆ ดงึ ออก
ปลด คอื ปลดสายหวั ฉีดออกมาและถือให้มนั่ คง
กด คือ เลง็ หวั ฉีดไปท่ีาานของไฟ จากนนั้ กดคนั บงั คบั เปิ ดนา้ ยา
ส่าย คอื สา่ ยสายฉีดไปให้ทวั่ าานของไฟจนไฟดบั (พยายามเข้าใกล้ประมาณ 2-4 เมตรเป็ นระยะหวงั ผลได้ดี)

Rev.: 003/2565

หนา้ 15

5. ต้ดู ับเพลงิ ใช้เกบ็ อุปกรณ์ระงบั เหตุเพลงิ ไหม้

Rev.: 003/2565

หนา้ 16

การใช้สายฉีดนา้ ดบั เพลิง

สายฉีดนา้ ดบั เพลงิ ทใี่ ช้อยมป่ ี 2 แบบ คือแบบหบี เพลง (สายแบน) และแบบวงล้อ (สายกลม)

การใช้สายฉีดนา้ ดับเพลงิ แบบหบี เพลง (สายแบน)

1. ลากสายฉีดนา้ ไปให้สุดสาย อยา่ ให้สายฉีดพบั งอ
2. ใช้ประแจตวั เอฟ F เปิ ดวาล์วนา้ ให้หมนุ ทวนเขม็ นาฬิกา
3. ใช้มือ 2 ข้างจบั หวั ฉีดนา้ ให้แนน่
4. หมนุ ปรับหวั ฉีดให้นา้ เป็ นลาหรือฝอย เลง็ ไปยงั เป้ าหมายที่ต้องการ (ระวงั แรงดนั นา้ สงป )

Rev.: 003/2565

หนา้ 17

ห้ามฉีดนา้ ใส่อุปกรณ์ไฟฟ้ าทยี่ ังทางานอยู่

การใช้สายฉีดนา้ ดับเพลงิ แบบวงล้อ (สายกลม)

1. ใช้ประแจตวั เอฟ F เปิ ดวาลว์ นา้ จนสดุ ให้หมนุ ทวนเข็มนาฬกิ า
2. ดงึ สายฉีดนา้ ออกจากม้วนท่ีเก็บ ความยาวตามต้องการ
3. เปิ ดหวั ฉีดนา้ โดยหมนุ ทวนเขม็ นาฬกิ า
4. หมนุ ปรับหวั ฉีดให้นา้ เป็ นลาหรือฝอย เลง็ ไปยงั เป้ าหมายทต่ี ้องการ (ระวงั แรงดนั นา้ สงป )

ห้ามฉีดน้าใส่อุปกรณ์ไฟฟ้ าทย่ี ังทางานอยู่

Rev.: 003/2565

หนา้ 18

กระสอบทรายและยางรถยนต์

ใช้ในกรณีรหสั เหลือง/แดง เพ่ือบรรเทาความรุนแรงท่ีอาจเกดิ ขึน้ จากการระเบดิ

Rev.: 003/2565

หนา้ 19

วตั ถุต้องสงสัย รหสั เหลอื งและรหสั แดง
1. ไมเ่ คยเห็น

2. ไมเ่ ป็ นของใคร

3. ไมใ่ ชท่ ่ีอย่ป

4. ดไป มเ่ รียบร้อย

ส่งิ ท่คี วรปฏิบัติเม่อื พบวตั ถุต้องสงสยั

1. ห้าม (แตะ จบั ขยบั เคลือ่ น)

2. ถาม (หาเจ้าของ)

3. จดจา (รปปร่าง ลกั ษณะตา่ งๆ)

4. นารายงาน (แจ้งเจ้าหน้าท่ที ่ีเกี่ยวข้อง)

5. กาหนดเขตปลอดภยั (ตามขนาดของ)

6. ให้คนออก (อยใ่ป นระยะท่ปี ลอดภยั )

หมายเหตุ
การใช้เรียกขานทางวิทยสุ อ่ื สารนนั้ ให้เรียกแทนวตั ถตุ ้องสงสยั วา่ “รหัสเหลือง” และถ้าเป็ นวตั ถรุ ะเบิด ให้ใช้การ
เรียกขานแทนวา่ “รหสั แดง”
นายสถานีเทา่ นนั้ ทีเ่ ป็ นผ้พป ิจารณาวตั ถตุ ้องสงสยั นนั้ ๆ วา่ จะระบใุ ห้เป็ น “รหัสเหลือง” หรือ “รหัสแดง”

Rev.: 003/2565

หนา้ 20

วธิ ีจดจาคนร้ายและรูปพรรณสัณฐาน

Rev.: 003/2565

หนา้ 21

การช่วยเหลอื ผู้โดยสารน่ังวีลแชร์ขึน้ /ลงบันไดเล่อื น

1. ติดตอ่ นายสถานีวา่ มผี ้โป ดยสารนง่ั วลี แชร์มาใช้บริการบนั ไดเลอื่ นตวั ใด
2. การอานวยความสะดวกจะต้องใช้ รปภ.2 นาย จากนนั้ ให้นาป้ าย แจ้งเตือน ปิ ดใช้

บริการชว่ั คราวทอี่ ยใ่ป นห้อง SCR มาปิดแจ้งให้ผ้โป ดยสารทราบ
3. นายสถานีเป็ นคนควบคมุ บนั ไดเลอื่ นทงั้ ขาขนึ ้ และขาลง โดยขาขนึ ้ นายสถานีจะอย่ป

ด้านบน ขาลงนายสถานีจะอยด่ป ้านลา่ ง โดยมีขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ ดงั นี ้

3.1.เม่ือนายสถานีทดสอบบนั ไดเลื่อนพร้อมแล้วให้สง่ สญั ญาณมอื เพือ่ ให้ รปภ.ทราบ

Rev.: 003/2565

หนา้ 22

4.2. รปภ.เข็นรถเข็นเข้าไปให้สดุ ทงั้ ขาขนึ ้ และขาลง โดยให้ รปภ.อยด่ป ้านหลงั ของ
รถเข็นทงั้ 2 คน และจดั ระเบยี บล้อรถเข็นให้อยก่ป ่งึ กลางลกป ขนั้ บนั ได

Rev.: 003/2565

หนา้ 23

3.3. เมือ่ จดั ระเบียบได้ทแี่ ล้ว รปภ.ต้องแจ้งให้ผ้โป ดยสารลอ็ กล้อรถเข็นทกุ ครัง้ โดยพดป
วา่ “ผ้โป ดยสารกรุณาลอ็ กล้อด้วยครับ/คะ่ ” จากนนั้ แจ้งให้ผ้โป ดยสารจบั ราวบนั ไดเลอื่ นโดย
พดป วา่ “กรุณาจบั ราวบนั ไดเลื่อนด้วยครับ/คะ่ ”

3.4. สง่ สญั ญาณมอื ให้นายสถานีทราบ เพอื่ ปรับสมดลุ คอื เปิ ดให้บนั ไดเลื่อน เล่ือน
ขนึ ้ หรือลง ประมาณ 3 ขนั้ แล้วกดหยดุ เพ่ือให้ รปภ.ได้ปรับความสมดลุ ของคนยืนและล้อ
รถเข็นเมือ่ พร้อมแล้ว รปภ.ทอี่ ยด่ป ้านขวามือให้สง่ สญั ญาณมอื อีกครัง้

Rev.: 003/2565

หนา้ 24

3.5. ก่อนท่รี ถเข็นจะถึงในแนบราบของขนั้ บนั ไดนายสถานีจะกดหยดุ บนั ไดเลอ่ื น
เพื่อให้ผ้โป ดยสารได้ปลดล็อกล้อ และเข็นออกจากบนั ไดเล่อื น

Rev.: 003/2565

หนา้ 25

ขัน้ ตอนและวธิ ีการช่วยเหลือรถเขน็ ขนึ้ ลงทางลาดชัน

กรณีทเ่ี ส้นทางผา่ นมีความลาดชนั ให้ผ้ทป เี่ ข้าช่วยเหลอื ทาการหนั หลงั กลบั และถอยหลงั ก้าวเดนิ ลงอยา่ งช้าช้า
พร้อมทงั้ ประคองรถวลี แชร์ให้อยใป่ นตาแหนง่ ท่มี น่ั คง และปลอดภยั จนสามรถนารถวีลแชร์ ลงมาอยใ่ป นทางปกติ
แล้ว จงึ คอ่ ยหมนุ ตวั กลบั แล้วทาการเขน็ แบบดนั รถไปข้างหน้าตามปกตทิ ว่ั ไป

Rev.: 003/2565

หนา้ 26

ป่ มุ หยุดบันไดเล่ือนชนดิ ต่างๆท่มี ใี นระบบ
เม่อื ทราบหรือพบเหน็ เหตุให้รีบทาการกดป่ มุ หยุดในทนั ที แล้วรีบแจ้งนายสถานีทราบ

Rev.: 003/2565

หนา้ 27

ในกรณีฉุกเฉิน ท่ีมีเหตใุ นขบวนรถไฟฟ้ า

ท่ีไมต่ ้องการให้รถไฟฟ้ าเคลอื่ นทอ่ี อกจากชานชาลา และไมส่ ามารถสง่ สญั ญาณให้กบั พนกั งานขบั รถไฟฟ้ าได้
ให้ยนื ขวางประตรู ถไฟฟ้ าโดยต้องหันหน้าไปหาพนักงานขับรถไฟฟ้ า เพ่ือมิให้ประตสู ามารถปิ ดได้
ทงั้ นี ้โดยการหนั หน้าไปหาพนกั งานขบั รถไฟฟ้ านนั้ เพื่อให้พนกั งานขบั รถไฟฟ้ าสงั เกตเหน็ พร้อมสามารถสอื่ สาร
กนั ได้ และรีบแจ้งนายสถานี

Rev.: 003/2565

หนา้ 28

การใช้อุปกรณ์ระบบตรวจการณ์

 พนกั งานรักษาความปลอดภยั ในผลดั กลางคืน หลงั จากท่ปี ิ ดสถานแี ล้ว ให้รับมอบอปุ กรณ์แทง่ ตรวจ
การณ์ และใบกาหนดจุดและเวลาสาหรับการตรวจ จากนายสถานี ของแตล่ ะสถานที ปี่ ระจาอย่ป

 พนกั งานรักษาความปลอดภยั ให้ปฏบิ ตั ิตามใบกาหนดจุดและเวลาในการตรวจการณ์อยา่ งเคร่งครัด
 หลงั จากเสร็จสนิ ้ ภารกิจทีก่ าหนดไว้ ให้นา อปุ กรณ์ตรวจการณ์สง่ คนื นายสถานีเพอ่ื บนั ทกึ ข้อมลป ตอ่ ไป

เม่ือนาสง่ คืนแล้วให้กลบั ไปปฏิบตั ิหน้าที่เตรียมพร้อมสาหรับการเปิ ดสถานีตามปกติ

ข้ันตอนการใช้แท่งตรวจการณ์

1. ภาพแทง่ ตรวจการณ์ และซองหนงั สาหรับใสแ่ ท่งตรวจการณ์ (ดภป าพที่ 1)

2. กอ่ นเริ่มใช้งาน แทง่ ตรวจการณ์ จะไมม่ ีผลแสดงที่หน้าจอ ซง่ึ ถอื วา่ ปกติ เพราะอยใป่ น Save Mode เพื่อ
ประหยดั พลงั งาน (ดภป าพท่ี 2)

Rev.: 003/2565

หนา้ 29

3. เม่ือถึงเวลาที่กาหนดไว้ ให้เดนิ ไปทีจ่ ุดตรวจการณ์นนั้ ๆ และทาการกดป่ มุ ตรงกลาง 1 ครัง้ เพื่อให้เวลาแสดง

ขนึ ้ ที่หน้าจอ (ดภป าพที่ 3)

กดป่ มุ กลาง 1 ครัง้ เพื่อให้แสดงเวลา

4.ให้กดอีก 1 ครัง้ ทนั ที ทีจ่ ุดตรวจการณ์ เพื่อให้แทง่ ตรวจการณ์อ่านคา่ จากจุดตรวจมาเก็บไว้ (ดภป าพที่ 4)

ขณะกดให้จ่อหวั แท่งตรวจการณ์ไปตดิ ท่จี ดุ ตรวจการณ์ จากนนั้ จะมสี ัญญาณไฟสีแดงตดิ ขึน้ พร้อมมี
เสียง “ป๊ิ บ” แสดงว่า แท่งตรวจการณ์ได้อ่านค่าจากจุดตรวจการณ์นัน้ ๆ เรียบร้อยแล้ว
ก่อนกดครัง้ ท่ี 2 ต้องแน่ใจว่าหน้าจอยังคงแสดงเวลาอยู่ หากหน้าจอดับไป ต้องทาการกด 1 ครัง้ เพ่อื ให้
หน้าจอแสดงเวลา ตดิ ขึน้ อีกครัง้ แล้วจงึ ทาการจ่อหัวแท่งตรวจการณ์ไปตดิ ท่จี ดุ ตรวจการณ์ใหม่
การแจ้งซ่อม

3. กรณีเคร่ืองตรวจการณ์ขดั ข้องไมส่ ามารถใช้การได้ ให้พนกั งานรักษาความปลอดภยั รายงานให้นายสถานี
ทราบทนั ทีและให้นายสถานดี าเนนิ การแจ้งซอ่ มโดยการกรอกแบบฟอร์มใบแจ้งซอ่ มอปุ กรณ์ พร้อม
อุปกรณ์ท่ขี ดั ข้องสม่ ายงั ฝ่ ายรักษาความปลอดภยั

Rev.: 003/2565

หนา้ 30

4. กรณีเคร่ืองตรวจการณ์ชารุด ให้เขียนรายงานสภาพอุปกรณ์ท่ชี ารุดพร้อมสาเหตุ เชน่ หน้าจอด้านใน
แตกเพราะอะไร เป็ นต้น พร้อมอุปกรณ์ทชี่ ารุด สง่ มายงั ฝ่ ายรักษาความปลอดภยั

5.หลงั จากท่แี ทง่ ตรวจการณ์บนั ทกึ ข้อมลป จากจุดตรวจการณ์แล้ว ทงิ ้ ไว้ประมาณ 3-5 วนิ าที หน้าจอจะดบั เอง
เพ่ือเข้าสโป่ หมดประหยดั พลงั งาน (ดภป าพที่ 5)

6.เม่อื เสร็จสนิ ้ จงึ เก็บแทง่ ตรวจการณ์ไว้ในซองหนงั เพ่ือเตรียมไปทจ่ี ุดตรวจการณ์ตอ่ ไป (ดภป าพที่ 6)

7.เม่ือไปถงึ จุดตรวจการณ์ตอ่ ไป ก็ให้นาแทง่ ตรวจการณ์มาเริ่มขนั้ ตอนทีห่ วั ข้อ 3 – 5 ทาเรื่อยไปจนกวา่ จะครบ
ตาม ใบแสดงจุดตรวจการณ์ และเวลาท่ีกาหนด ท่ีได้รับมอบหมาย

Rev.: 003/2565

หนา้ 31

เคร่ืองแบบและการแต่งกาย สาหรับพนักงานรักษาความปลอดภัย

พนกั งานรักษาความปลอดภยั ที่ปฏิบตั หิ น้าทใี่ นสถานีรถไฟฟ้ าและศนป ย์บริหารและควบคมุ การเดนิ
รถไฟฟ้ า ต้องปฏบิ ตั ดิ งั นี ้

พนักงานรักษาความปลอดภยั ชาย

ตดั ผมสนั้ ไมไ่ ว้หนวดเครา ดแป ลเลบ็ มือให้สะอาดเรียบร้อย และรักษาอนามยั ของกลนิ่ ปากอยเ่ป สมอ
สวมเครื่องแบบตามที่ BTSC กาหนด โดยต้องสวมเครื่องแบบครบตลอดเวลาขณะปฏิบตั ิหน้าที่ รวมถงึ การ
โดยสารรถไฟฟ้ าเพือ่ เดินทางไปทางานหรือเดินทางกลบั บ้านหลงั จากเลกิ งาน

พนักงานรักษาความปลอดภยั หญงิ

ตดั ผมทรงสภุ าพ หากไว้ผมยาวให้รวบและใสท่ ค่ี ลมุ ผมให้เรียบร้อย
แตง่ หน้าได้ตามสมควร ดแป ลเลบ็ มือให้สะอาดเรียบร้อยอยเ่ป สมอ
สวมเครื่องแบบตามท่ี BTSC กาหนด โดยต้องสวมเคร่ืองแบบครบตลอดเวลาขณะปฏิบตั ิหน้าที่ รวมถงึ การ
โดยสารรถไฟฟ้ าเพอื่ เดินทางไปทางานหรือเดินทางกลบั บ้านหลงั จากเลกิ งาน

Rev.: 003/2565

หนา้ 32

อุปกรณ์ประจาตวั สาหรับพนักงานรักษาความปลอดภัย

นกหวีดพร้อมสาย ใช้สง่ สญั ญาณ
กระบอง ใช้ป้ องกนั และระงบั เหตุ
กุญแจมอื ใช้จบั กมุ และพนั ธนาการผ้กป ระทาความผิดชนิดร้ายแรงเช่น ฆา่ ผ้อป ่ืน
ห้ามใช้กุญแจมือกับบคุ คล 4 ประเภท ดังนี้

สภุ าพสตรี
เด็กอายตุ ่ากวา่ 18 ปี
นกั บวช
ข้าราชการในเครื่องแบบ

ไฟฉาย ใช้สอ่ งสวา่ งในท่มี ืด
วิทยุส่ือสาร ใช้ติดตอ่ สอื่ สาร การใช้วทิ ยสุ อื่ สารให้ถกป ต้อง ใช้เทา่ ทจี่ าเป็ นและใช้ให้ถกป วธิ ีปฏิบตั ติ ามกฏและ

มารยาทในการใช้วทิ ยสุ อื่ สารโดยเคร่งครัด

คู่มอื การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ใช้ทบทวนกฏระเบยี บข้อบงั คบั ตา่ งๆ ของหนว่ ยงาน

ทรงผมพนักงานชาย

Rev.: 003/2565

นกหวดี พร้อมสาย หนา้ 33
วิทยุส่อื สาร
กระบอง


ไฟฉาย

คู่มือ รปภ. กุญแจมือ

Rev.: 003/2565

หนา้ 34

เส้นทางการเดนิ รถไฟฟ้ าบีทเี อส

Rev.: 003/2565

หนา้ 35

ช่ือสถานีในสายทางรถไฟฟ้ าบีทเี อส

สายสุขุมวทิ สายสีลม

CEN สยาม (สถานีร่วม)

สายเหนือ สายตะวันออก สายตะวนั ตก สายใต้

N1 ราชเทวี E1 ชดิ ลม W1 สนามกีฬาแห่งชาติ S1 ราชดาริ
N2 พญาไท เชื่อมตอ่ ARL E2 เพลินจติ
N3 อนุสาวรีย์ชยั สมรภูมิ E3 นานา S2 ศาลาแดง เช่ือมตอ่ MRT
N4 สนามเป้ า E4 อโศก เชื่อมตอ่ MRT S3 ช่องนนทรี เช่ือมตอ่ BRT
N5 อารีย์ E5 พร้อมพงษ์
S4 เซนตห์ ลุยซ์
N6 เสนาร่วม(สถานีในอนาคต) E6 ทองหล่อ S5 สุรศักด์ิ
รถไฟฟ้ าสายสีทอง S6 สะพานตากสิน

N7 สะพานควาย E7 เอกมัย G1 กรุงธนบุรี S7 กรุงธนบรุ ี
เจริญนคร S8 วงเวยี นใหญ่
N8 หมอชติ เช่ือมตอ่ MRT E8 พระโขนง G2 คลองสาน S9 โพธ์ินิมติ ร
S10 ตลาดพลู เช่ือมตอ่ BRT
N9 ห้าแยกลาดพร้าว E9 อ่อนนุช G3 S11 วุฒากาศ
S12 บางหว้า เช่ือมตอ่ MRT
N10 พหลโยธิน 24 E10 บางจาก
โรงจอดและซ่อมบารุงบางหว้า
N11 รัชโยธิน E11 ปณุ ณวถิ ี

N12 เสนานิคม E12 อุดมสุข

N13 มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ E13 บางนา

N14 กรมป่ าไม้ E14 แบร่ิง

N15 บางบวั E15 สาโรง

N16 กรมทหาราบท่ี 11 E16 ป่ ูเจ้า

N17 วดั พระศรีมหาธาตุ E17 พพิ ธิ ภัณฑ์ช้างเอราวัณ

N18 พหลโยธนิ 59 E18 โรงเรียนนายเรือ

N19 สายหยดุ E19 สมุทรปราการ

N20 สะพานใหม่ E20 ศรีนครินทร์

N21 รพ.ภูมิพลอดลุ ยเดช E21 แพรกษา

N22 พพิ ธิ ภัณฑ์กองทับอากาศ E22 สายลวด

N23 แยก คปอ. E23 เคหะสมุทรปราการ

N24 คูคต โรงจอดและซอ่ มบารุง

โรงจอดและซ่อมบารุงคูคต สมทุ รปราการ

Rev.: 003/2565

หนา้ 36

ความรู้พืน้ ฐานเก่ยี วกบั ระบบการเดนิ รถไฟฟ้ าบที เี อส

เส้นทางเดินรถของระบบรถไฟฟ้ า BTS ประกอบด้วยสถานีทงั้ หมด 60 สถานี ตามเส้นทางตา่ งๆ 2
เส้นทาง คือ สายสขุ มุ วทิ และ สายสีลม

• สายสขุ มุ วทิ หรือ เฉลมิ พระเกียรติพระชนม์พรรษาครบ 6 รอบ สายท่ี 1 มี 47 สถานี ระยะทางรวม
54.95กม. จากสถานีคคป ต – เคหะ รวม สถานีร่วมสยาม

• สายสลี ม หรือ เฉลมิ พระเกียรตพิ ระชนม์พรรษาครบ 6 รอบ สายที่ 2 มี 13 สถานี ระยะทางรวม 13.80
กม. จากสถานสี นามกีฬาแหง่ ชาติ – สถานบี างหว้า

ลกั ษณะของสถานีรถไฟฟ้ า

สถานีรถไฟฟ้ าโดยทวั่ ไปจะมี 3 ชนั้ คือ
1. ชนั้ พนื ้ ถนน (Street Level)
2. ชนั้ จาหนา่ ยตว๋ั (Concourse Level)
3. ชนั้ ชานชาลา (Platform Level)

ยกเว้นสถานสี ยามมีชานชาลา 2 ชนั้ คือ Upper Platform และ Lower Platform

Rev.: 003/2565

หนา้ 37

หน้าท่ขี องพนักงานรักษาความปลอดภยั ประจาสถานีรถไฟฟ้ าบที เี อส

1. การปฏบิ ตั ิหน้าท่ที ่วั ไป
• พนกั งานรักษาความปลอดภยั ต้องเข้ารายงานตวั ตามจุดที่จัดไว้ตามตารางการปฏิบัติงาน โดยหวั หน้า

งานพนกั งานรักษาความปลอดภยั ของแต่ละสายจะเป็ นผ้รป ับผิดชอบ ซ่ึงพนกั งานรักษาความปลอดภัย
ต้องแตง่ เครื่องแบบให้ครบตามระเบยี บ กอ่ นท่จี ะเข้าระบบเพ่ือรายงานตวั
• ต้องลงช่ือในสมุดลงเวลาก่อนเวลา 06.30 น. สาหรับผลดั กลางวนั และเวลา 18.30 น. สาหรับผลดั
กลางคืน โดยให้ลงชื่อตามสถานีท่ีได้รับมอบหมาย สาหรับกาลงั พลสารองให้ลงชื่อในช่องของกาลงั พล
สารอง และพนกั งานรักษาความปลอดภยั ทกุ นายจะต้องมารายงานตวั ไม่เกินเวลา 06.30 น. และ 18.30
น. ของทกุ วนั พร้อมเข้าแถวให้เป็ นระเบยี บเรียบร้อยตามสถานีที่ได้รับมอบหมาย เพ่ือรอฟังคาอบรมและ
ชีแ้ จงข่าวสารต่างๆ สาหรับพนกั งานท่ีมาหลงั เวลารวมแถวอาจจะไม่สามารถเข้าปฏิบตั ิหน้าที่ได้ตาม
สถานเี ดิม ทงั้ นขี ้ นึ ้ อยก่ป บั คาสง่ั ของผ้บป งั คบั บญั ชา และหลงั จากการอบรมแถวประจาวนั แล้วให้พนกั งานทุก
นายรีบไปรายงานตัวต่อนายสถานี ตามสถานีที่ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบตั ิหน้าที่ เพ่ือรับทราบข้อมปล
ขา่ วสาร หรือคาสง่ั จากนายสถานี

1. สายสขุ มุ วทิ ด้านเหนือ หรือสาย N โรงจอดและซ่อมบารุงคคป ต ให้รายงานตวั ที่ โรงจอดและซ่อมบารุงคคป ต
2. สายสุขมุ วทิ ด้านเหนือ หรือสาย N ตงั้ แต่สถานีวดั พระศรีมหาธาตุ – สถานีคคป ต (N17-N24) รวมโรงจ่าย

ไฟฟ้ าย่อย ให้รายงานตวั ทีส่ ถานีสายหยดุ
3. สายสขุ มุ วทิ ด้านเหนือ หรือสาย N ตงั้ แตส่ ถานีห้าแยกลาดพร้าว – สถานีกรมทหารราบท่ี11 (N9-N16) ให้

รายงานตวั ทส่ี ถานีเสนานคิ ม
4. สายสขุ มุ วทิ ด้านเหนือ หรือสาย N ตงั้ แตส่ ถานีราชเทวี – สถานีหมอชิต (N1-N8) ให้รายงานตวั ท่ีสถานี

อารีย์
5. สายสขุ มุ วทิ ด้านตะวนั ออกตอนต้นหรือสาย E ตงั้ แตส่ ถานีชดิ ลม – สถานีอ่อนนชุ (E1-E9) ให้รายงานตวั ที่

สถานที องหลอ่
6. สายสขุ มุ วทิ ด้านตะวนั ออกตอนปลายหรือสาย E ตงั้ แตส่ ถานบี างจาก – สถานีโรงเรียนนายเรือ (E10-E18)

ให้รายงานตวั ทสี่ ถานีแบร่ิง
7. สายสขุ มุ วทิ ด้านตะวนั ออกตอนปลายหรือสาย E ตงั้ แตส่ ถานีปากนา้ – สถานีเคหะ (E19-E23) ให้รายงาน

ตวั ที่สถานีปากนา้
8. สายสขุ มุ วทิ ด้านตะวนั ออกตอนปลายหรือสาย E โรงจอดและซอ่ มบารุงสมทุ รปราการ ให้รายงานตวั ที่ โรง

จอดและซ่อมบารุงสมทุ รปราการ

Rev.: 003/2565

หนา้ 38

9. สายสลี มด้านใต้ตอนต้นหรือสาย S ตงั้ แตส่ ถานีสนามกีฬาแห่งชาติ – สถานีสะพานตากสิน (W1-S6) ให้
รายงานตวั ที่สถานีสรุ ศกั ด์ิ

10. สายสีลมด้านใต้ตอนปลายหรือสาย S ตงั้ แตส่ ถานีกรุงธนบรุ ี– สถานี อ่จป อดรถบางหว้า (S7-S12) และ
รถไฟฟ้ าสายสที อง G1-G3 ให้รายงานตวั ทส่ี ถานีตลาดพลป

เมื่อไปถึงสถานีที่ได้รับมอบหมาย ให้พนกั งานลงช่ือตวั บรรจง และลงเวลาตามเวลาจริง โดยเรียงลาดบั เวลาให้
ถปกต้องตามจริง ในใบลงเวลาของแต่ละสถานี ทงั้ ผลดั กลางวนั และกลางคืน (ห้ามลงเวลาเข้าและออกพร้อม
กัน) ต้องลงเวลาเข้าเมื่อเริ่มเข้าปฏิบตั ิหน้าท่ี และลงเวลาออกเม่ือเสร็จภารกิจหน้าท่ีแล้วเทา่ นนั้ และห้ามลงช่ือ
แทนกนั ถือวา่ เป็ นความผดิ ร้ายแรง ในสว่ นของผ้บป งั คบั บญั ชาตามลาดบั ชนั้ จะต้องตรวจสอบความถกป ต้อง หากมี
การแก้ไขต้องได้รับความเหน็ ชอบจากตวั แทน สว่ นรักษาความปลอดภยั

• สารวจอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องใช้ในการปฏิบตั ิหน้าท่ี เช่น วิทยุสื่อสาร แท่นชาร์ต แบตเตอรี่สารอง เครื่อง
ตรวจจับวัตถุโลหะ บัตรสมาร์ทพาส กุญแจห้องพัก ว่ามีอย่ปครบและมีสภาพพร้ อมใช้งาน ในกรณีที่
อุปกรณ์ประจาตวั ชารุดเสยี หาย ให้รีบรายงานต่อผ้บป งั คบั บญั ชาและเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องทนั ที ก่อนที่จะ
รับมอบเวรตอ่ จากผลดั อ่ืน

• สารวจสถานท่ีรอบๆ บริเวณรับผิดชอบ ในแต่ละสถานีในกรณีที่พบส่ิงผิดปกติให้แจ้งตอ่ นายสถานีทนั ที
และรายงานตอ่ ผ้บป งั คบั บญั ชาตามลาดบั

• ตรวจสอบอปุ กรณ์ประจาสถานี ดงั นี ้ถ้าพบสง่ิ ผดิ ปกติให้รายงานตอ่ นายสถานีทนั ที และลงบนั ทึกในสมดุ
รายงาน

1. อุปกรณ์ไฟฟ้ าทกุ ชนดิ เชน่ หลอดไฟ เครื่องทาความเย็น ฯลฯ
2. บนั ไดเลอ่ื น ลฟิ ท์โดยสาร อปุ กรณ์ควบคมุ การเข้าออก
3. อุปกรณ์ดับเพลิง ต้ปดบั เพลิง ถังดับเพลิง ตรวจดปว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่โดยการตรวจสอบจาก

มาตราวดั
4. กลอ่ งสญั ญาณเตือนภยั เหตเุ พลงิ ไหม้ MCP (กลอ่ งกรอบสแี ดง)
5. กลอ่ งหยดุ รถไฟฟ้ าฉกุ เฉิน EMP (กลอ่ งกรอบสเี หลอื ง)
6. สารวจห้องตา่ งๆ รวมทงั้ ร้านค้าท่ีอยใ่ป นพนื ้ ทรี่ ับผดิ ชอบ
• ปฏบิ ตั ิหน้าที่ตามจดุ ท่ไี ด้รับมอบหมาย เมื่อมีความจาเป็ นต้องละทงิ ้ จดุ ให้ทาการแจ้งให้พนกั งานท่ีปฏิบตั ิ

หน้าท่ีทส่ี ถานเี ดยี วกนั รับทราบ และแจ้งตอ่ นายสถานีเพ่ือรอให้เพอื่ นพนกั งานมาเปลย่ี นจุดก่อน
ห้ามละทงิ้ จดุ โดยไม่ได้รับอนุญาต

Rev.: 003/2565

หนา้ 39

• แนะนาเส้นทางและสถานที่ใกล้เคยี งสถานี แนะนาผ้โป ดยสาร ให้สอบถามข้อมลป ต่างๆ ได้จากพนกั งานSP
หรือนายสถานี หรือวธิ ีการใช้อุปกรณ์จาหนา่ ยบตั รโดยสารอตั โนมตั ิ และประตอป ตั โนมตั ิ ด้วยความสภุ าพ

หลงั จากลงช่ือแล้วให้ทาการสารวจรายงานเหตกุ ารณ์ที่เกิดขนึ ้ ของผลดั ก่อนทกุ ครัง้ โดยการสอบถามจากพนกั งาน
ท่ีปฏิบตั ิหน้าที่ผลดั กอ่ น และอ่านจากสมดุ รายงานประจาวนั ของแต่ละสถานี ในกรณีท่ีมีเหตกุ ารณ์เร่งดว่ นให้รีบ
ดาเนินการแจ้งให้นายสถานีทราบทนั ที และสรุปรายงานสง่ ซุปเปอร์ไวเซอร์ หรือพนกั งานรักษาความปลอดภัย
อาวโุ ส

• ห้ามไม่ให้พนกั งานรับเงินจากผ้โป ดยสารเพื่อไปแลกเหรียญ ถ้ามปี ัญหาเกี่ยวกับระบบ อย่าตดั สินใจแก้ไขปัญหาด้วย
ตนเอง ให้ทาการแจ้งนายสถานที นั ที

• อานวยความสะดวกให้พนกั งานบีทีเอส อานวยความสะดวกเป็ นพเิ ศษให้ผ้สป งป อายุ ผ้พป ิการ เด็กเล็ก และผ้โป ดยสารท่ี
ตงั้ ครรภ์ โดยให้แนะนาผ้โป ดยสารตดิ ตอ่ กบั แจ้งความประสงค์กบั พนกั งานสถานีหรือนายสถานีก่อนทุกครัง้ ที่ขอผ่าน
ใช้ประตพป ิเศษ ( Flush Gate) แทน โดยให้ผ้ปโดยสารทาการสอดบัตรด้วยตนเอง พร้อมเช็คมปลค่าและเที่ยวการ
เดนิ ทางให้เรียบร้อย แล้วให้กลบั มาออกตรงประตพป เิ ศษแทน

• เอาใจใสต่ อ่ ผ้โป ดยสาร และห้ามปฏเิ สธผ้โป ดยสารเมื่อผ้โป ดยสารร้องขอความช่วยเหลอื และได้รับอนญุ าตจากพนักงาน
สถานหี รือนายสถานแี ล้วโดยเดด็ ขาด ถ้าตดิ ภารกิจอ่ืนให้ทาการขอโทษผ้โป ดยสารก่อน และกล่าวขอให้ผ้โป ดยสารรอ
สกั ครป่ และรีบเรียกพนกั งานทีว่ า่ งมาชว่ ย หรือรีบปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ท่ีปฏิบตั อิ ยใ่ป ห้เสร็จโดยเร็ว เพ่อื จะได้บริการผ้โป ดยสาร
ท่ีรออย่ป

• ถ้าผ้โป ดยสารทาผดิ กฎระเบียบ ให้แนะนาผ้โป ดยสาร “กรุณารอสกั คร่ป แล้วรีบแจ้งนายสถานี”
• ป้ องปรามเหตรุ ้ ายท่ีอาจเกิดขึน้ ต่อพนักงาน พนักงานร้ านค้าบนสถานี และผ้โป ดยสาร รวมถึงทรัพย์สินในพืน้ ท่ีๆ

รับผิดชอบบริเวณสถานี
• หมน่ั เดนิ ตรวจตรารอบบริเวณทีร่ ับผิดชอบ ถ้าพบสง่ิ ผิดปกตใิ ห้รีบรายงานนายสถานี และผ้บป งั คบั บญั ชาทราบทนั ที
• ต้องคอยอานวยความสะดวกพนกั งานบที ีเอสหลงั เลิกงาน ถ้าโดยสารรถประจาทางให้รอส่งจนกว่ารถประจาทางจะ

มา และถ้าโดยสารรถรับจ้างให้ทาการจดชอื่ พนกั งานขบั รถ พร้อมหมายเลขทะเบียนด้วย ทงั้ นเี ้พ่อื ป้ องปรามเหตรุ ้าย
ท่อี าจเกดิ ขนึ ้ ได้ และให้ความชว่ ยเหลอื ประชาชนทีม่ าขอความช่วยเหลอื เม่อื มเี หตุ ทงั้ นตี ้ ้องรายงานนายสถานีก่อน
ทกุ ครัง้ เพอ่ื นายสถานีจะได้รับทราบข้อมลป
• ทกุ ครัง้ ท่ีพนกั งานต้องตดิ ต่อกบั ผ้โป ดยสาร ให้พนกั งานทาความเคารพผู้โดยสารก่อนทกุ ครัง้ และใช้วาจาท่ีสภุ าพ
กบั ผ้โป ดยสารในทกุ กรณี ห้ามใช้วาจาทอ่ี าจทาให้ผ้โป ดยสารไมพ่ อใจ
• ใช้วทิ ยสุ อ่ื สารเทา่ ท่ีจาเป็ น และใช้ให้ถกป วธิ ี ปฏิบตั ติ ามกฎและมารยาทในการใช้วทิ ยสุ ือ่ สารโดยเคร่งครัด
• สารวจดอป ปุ กรณ์ทตี่ นเองรับผิดชอบ ก่อนทาการส่งมอบให้ผลดั ตอ่ ไปว่ามีสิ่งใดชารุดเสียหายหรือไม่ และลงบนั ทึก
ในสมดุ รายงานประจาวนั

Rev.: 003/2565

หนา้ 40

• สารวจความเรียบร้อยของสมดุ รายงานวา่ มกี ารลงรายละเอียดครบถ้วนหรือไม่ ก่อนสง่ มอบงานให้ผลดั ตอ่ ไป
• ปฏิบตั ติ ามคาสง่ั ของผ้บป งั คบั บญั ชาอย่างเคร่งครัด เม่อื ผ้บป งั คบั บญั ชาได้รับข้อมลป ใหมๆ่ มาจากบีทเี อส โดยพนกั งาน

ต้องเอาใจใส่ตอ่ ข้อมลป ขา่ วสารใหม่ๆ ของบีทีเอสตลอดเวลา ทงั้ นเี ้พอ่ื จะแนะนาผ้โป ดยสารได้ถกป ต้องตรงกนั
• หมนั่ ทบทวนคาสง่ั ข้อมลป ขา่ วสารตา่ ง ๆ ทไี่ ด้จากนายสถานี และผ้บป งั คบั บญั ชา ทงั้ นเี ้พอ่ื การปฏบิ ตั หิ น้าท่ีทถี่ กป ต้อง

และเกดิ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั งิ านสงป สดุ
ห้ามสบป บหุ รี่และดมื่ สรุ า นอนหลบั หรือเสพสง่ิ มนึ เมาตา่ งๆ และรักษาภาพลกั ษณ์ทดี่ ใี นระหวา่ งการปฏิบตั ิหน้ าท่ี รวมทงั้ ห้าม
เล่นการพนนั อย่างเดด็ ขาด

2. การปฏบิ ตั หิ น้าท่ี บริเวณชัน้ จาหน่ายต๋วั รถไฟฟ้ าบีทเี อส ในช่วงเวลาให้บริการ

• ตรวจสอบการเข้าออกของผ้ปท่ีจะเข้ามาบริเวณสถานี ว่ามีการติดบัตรถปกต้องหรือไม่ มีบัตร
โดยสารหรือไม่ โดยให้ปฏิบัติด้วย ความสุภาพ และเม่ือพบสิ่งผิดปกติให้แจ้งนายสถานี และ
บนั ทกึ ในสมดุ รายงาน

• ตรวจดสป ง่ิ ผดิ ปกตติ า่ งๆ บริเวณที่รับผดิ ชอบ เช่น สงิ่ ของทว่ี างไว้ กลอ่ งทวี่ างไว้ และไมส่ ามารถหา
เจ้าของได้ เหตุการณ์การโจรกรรม เหตุการณ์ทาร้ ายร่างกายและอ่ืนๆ ที่ผิดปกติ ท่ีก่อให้เกิด
อนั ตรายตอ่ ชีวิตและทรัพย์สนิ แล้วรีบดาเนนิ การแจ้งให้นายสถานี และผ้บป งั คบั บญั ชาทราบทนั ที
และลงบนั ทกึ ในสมดุ รายงาน

• ตรวจตราดปว่าผ้ทป ่ีเข้ามาบริเวณสถานีให้ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของ BTSC ให้ปฏิบตั ิด้วยความ
สภุ าพ

• การใช้อุปกรณ์ตา่ ง ๆ เชน่ เครื่องจาหนา่ ยตว๋ั (Ticket Issuing Machine) เคร่ืองสอดตวั๋ อตั โนมัติ
(Automatic Gate) วา่ มีวธิ ีการใช้อยา่ งไร ให้ผ้โป ดยสารตดิ ตอ่ พนกั งานBTSCหรือนายสถานี

• ศกึ ษาวิธีการใช้อปุ กรณ์ตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั ความปลอดภยั บนชนั้ จาหน่ายตว๋ั เพื่อให้สามารถใช้
อุปกรณ์ตา่ งๆ เหลา่ นนั้ กรณีจาเป็ น และต้องทราบถึงผลกระทบท่ีจะเกิดขนึ ้ จากการใช้อุปกรณ์
นนั้ ๆ

• ศกึ ษาข้อมปลข่าวสาร และข้อมปลเส้นทางการเดินรถไฟฟ้ า เวลาในการให้บริการ และราคาค่า
โดยสาร ทงั้ นีเ้ พื่อเป็ นข้อมปลพืน้ าานท่ีถปกต้องตรงกันกับบริษัท BTSC ในการปฏิบัติงานไปใน
ทศิ ทางเดียวกนั

• ปฏิบตั ิหน้าท่ีด้วยความกระตือรือร้ นและให้ความช่วยเหลือแก่ลปกค้าและพนักงาน BTSC ด้วย
ความสภุ าพและเต็มใจ

• ให้ความปลอดภยั กบั เจ้าหน้าที่ BTSC ในขณะขนย้ายเงนิ ไปยงั จุดตา่ งๆ ทีก่ าหนด

Rev.: 003/2565

หนา้ 41

• ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบของบริษัท BTSC อยา่ งเคร่งครัด
• ปฏิบตั ิหน้าที่โดยยดึ มน่ั ในเร่ืองของความปลอดภยั ของผ้มป าใช้บริการพนกั งานของบริษทั ฯ และตอ่

ตนเองโดยการตรวจสมั ภาระให้ถกป ต้องและครบถ้วนตามขนั้ ตอน
อื่นๆ เมื่อได้รับการร้องขอจากผ้วป า่ จ้างในกรณีพิเศษ และ ได้รับการมอบหมายงานจากผ้บป งั คบั บญั ชา

3. การปฏบิ ตั หิ น้าท่ี บริเวณชัน้ ชานชาลา รถไฟฟ้ าบีทเี อส ในช่วงเวลาให้บริการ

• ตรวจตราไม่ให้ผ้โป ดยสารยืนลา้ เส้นเหลอื ง หากพบผ้โป ดยสารยนื ลา้ เส้นเหลอื ง ให้ทาการร้องขอด้วย
ความสภุ าพ และชีแ้ จงแนะนาถึงอนั ตรายทเ่ี กิดขนึ ้ ได้ หากอยไ่ป กลจากตาแหนง่ ของผ้โป ดยสารที่ยืน
ลา้ เส้นเหลอื ง ให้ใช้นกหวีดเพ่อื สง่ สญั ญาณเตอื นให้ผ้โป ดยสารดงั กลา่ วทราบ ทงั้ นีใ้ ห้ปฏิบตั ิหน้าที่
ด้วยความสภุ าพ

• ตรวจตราและคอยระวงั ไม่ให้ผ้โป ดยสารลงไปในรางรถไฟฟ้ าโดยตงั้ ใจ หรือไม่ตงั้ ใจ
• หมนั่ ตรวจตราดสป ง่ิ ผดิ ปกติ เชน่ ผ้ทป ่ีพยายามฆ่าตวั ตาย โดยการกระโดดลงรางรถไฟฟ้ า และให้

รีบเข้าไปห้ามปราม จากนนั้ จึงดาเนินการแจ้งนายสถานี และผ้บป ังคบั บญั ชาทราบพร้อมทงั้ ลง
บนั ทกึ ในสมดุ รายงาน
• ตรวจดสป งิ่ ผดิ ปกติ เช่น สงิ่ ของทว่ี างไว้ กลอ่ งที่วางไว้ท่ไี มส่ ามารถหาเจ้าของได้ เหตโุ จรกรรม เหตุ
ทาร้ายร่างกาย และอื่นๆ ทอ่ี าจกอ่ ให้เกิดอันตรายตอ่ ชีวิตและทรัพย์สนิ จากนนั้ รีบทาการแจ้งให้
นายสถานี และผ้บป งั คบั บญั ชาทราบพร้อมทงั้ ลงบนั ทกึ ในสมดุ รายงาน
• ตรวจตราความเรียบร้อยบริเวณพนื ้ ที่รับผดิ ชอบ ตรวจดวป า่ มีสิ่งของอย่ปบริเวณรางรถไฟฟ้ าหรือไม่
ถ้ามีให้รีบดาเนินการแจ้งนายสถานี และผ้บป งั คบั บญั ชาทราบพร้อมทงั้ ลงบนั ทกึ ในสมดุ รายงาน
• ตรวจพบสงิ่ ผิดสงั เกตท่ีเกิดขนึ ้ กบั ขบวนรถไฟฟ้ า เช่นกลมุ่ ควนั จากหลงั คา หรือจากสว่ นใดๆ ของ
ตวั รถไฟฟ้ า ให้รีบแจ้งพนกั งานขบั รถไฟฟ้ า หรือนายสถานี โดยทนั ที
• ศกึ ษาวิธีการใช้อุปกรณ์ตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องกบั ความปลอดภยั บนชนั้ ชานชาลา เพื่อให้สามารถใช้
อุปกรณ์ต่างๆ เหลา่ นนั้ กรณีจาเป็ น และต้องทราบถึงผลกระทบที่จะเกิดขนึ ้ จากการใช้อุปกรณ์
นนั้ ๆ
• ปฏิบตั ิหน้าที่ด้วยความกระตือรือร้น พร้อมที่จะให้บริการลกป ค้าที่เข้ามาใช้บริการ และพนกั งาน
BTSC ด้วยความสภุ าพ และเตม็ ใจ
• ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บของบริษทั BTSC อยา่ งเคร่งครัด

Rev.: 003/2565

หนา้ 42

• ปฏิบตั ิหน้าทโ่ี ดยยึดมนั่ ในเรื่องของความปลอดภยั ของผ้มป าใช้บริการ พนกั งานของบริษัทฯ และ
ตอ่ ตนเอง

อื่นๆ เม่ือได้รับการร้องขอจากผ้วป า่ จ้างในกรณีพิเศษและได้รับการมอบหมายงานจากผ้บป งั คบั บญั ชา

4. การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี บริเวณ Walk Way รถไฟฟ้ าบีทเี อส ในช่วงเวลาให้บริการ

• หมนั่ ไปเดนิ สารวจตรวจตราความเรียบร้อย โดยให้ทาการสารวจพนื ้ ทต่ี า่ งๆ เพ่ือป้ องกันการโจรกรรม
กลุ่มเร่ร่อน กลุ่มขอทาน กลุ่มยาเสพตดิ กลุ่มวยั รุ่นเล่นสเกตบอร์ด ฯลฯ ท่ีก่อให้เกิดความราคาญ
หรืออนั ตรายกบั ผ้โป ดยสาร ทงั้ นหี ้ ากพบเห็นให้รีบรายงานผ้บป งั คบั บญั ชา และรีบระงบั เหตทุ นั ที และคอย
ฟังคาสงั่ ผ้บป งั คบั บญั ชาอยา่ งเคร่งครัด

• ให้พนกั งานรักษาความปลอดภยั ยดึ ถือปฏิบตั ิตามข้อปฏบิ ตั ินอี ้ ยา่ งเคร่งครัดแตอ่ าจมีการเปลยี่ นแปลงได้
ต้องเป็ นไปตามคาสงั่ ของนายสถานีทพี่ นกั งานไปปฏิบตั หิ น้าที่ และ/หรือคาสง่ั ของผ้บป งั คบั บญั ชา

• อื่นๆ เมื่อได้รับการร้องขอจากผ้วป า่ จ้างในกรณีพิเศษ เช่น มีจดั กิจกรรม เทศกาลตา่ งๆ

5. การปฏบิ ัตหิ น้าท่บี นสถานีรถไฟฟ้ าบที เี อส ในช่วงเวลาปิ ดให้บริการ

• หลงั จากรถไฟฟ้ าหยดุ ให้บริการและปิ ดสถานีในเวลากลางคนื จนถึงเวลาเปิ ดให้บริการอีกครัง้ ในช่วงเช้า
ของวนั ถดั ไป ให้พนกั งานรักษาความปลอดภยั ใช้อปุ กรณ์ระบบตรวจการณ์ โดยให้ครอบคลมุ การปฏิบตั ิ
ดงั นี ้

สถานีทมี่ พี นักงานรักษาความปลอดภยั ตงั้ แต่ 4 - 12นาย
• ตรวจตราบริเวณด้านลา่ งสถานี และคอยตรวจตราบนั ไดทางขนึ ้ -ลง 1-2 และ 3-4 ทงั้ สองด้าน สารวจ
ความเรียบร้อยด้านลา่ งสถานีทงั้ หมด รวมถงึ ห้อง Pump Room
• คอยตรวจตราความเรียบร้อย บริเวณชนั้ จาหนา่ ยตวั๋ หน้าเครื่องจาหนา่ ยตวั๋ อตั โนมตั ิ (Ticket Issuing
Machine) หรือ ต้ป TIM ด้านทางเข้าออก 1-2 และ 3-4
• คอยตรวจตราความเรียบร้อย บริเวณชนั้ จาหนา่ ยตวั๋ หน้าเคร่ืองจาหนา่ ยตว๋ั อตั โนมตั ิ (Ticket Issuing
Machine) หรือ ต้ป TIM ด้านทางเข้าออก 5-6
• คอยตรวจตราความเรียบร้อย บริเวณชนั้ ชานชาลา 1-3 และ 2-4 (Platform Level)
• ตรวจตราความเรียบร้อยพนื ้ ท่ีภายในบริเวณสถานีทงั้ หมด
• ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บของบริษัท BTSC อยา่ งเคร่งครัด โดยยดึ มน่ั ในเรื่องของความปลอดภยั

อื่นๆ เม่ือได้รับการร้องขอจากผ้วป า่ จ้างในกรณีพเิ ศษ และ/หรือ ได้รับการมอบหมายงานจากผ้บป งั คบั บญั ชา

Rev.: 003/2565

หนา้ 43

หน้าท่ขี องพนักงานรักษาความปลอดภัย

ประจาโรงจอดและซ่อมบารุง บางหว้า

การปฏิบตั หิ น้าท่ที ่วั ไปของพนักงานรักษาความปลอดภยั
1. พนกั งานรักษาความปลอดภยั ต้องเข้ารายงานตวั ตามจุดท่ีกาหนดไว้ ซงึ่ พนกั งานรักษาความปลอดภยั
ต้องแตง่ เคร่ืองแบบให้ครบ และถกป ต้องตามระเบยี บ
2. ลงช่ือในสมุดลงเวลาก่อนเวลา 06.30 น. สาหรับผลดั กลางวัน และก่อนเวลา 18.30 น. สาหรับผลัด
กลางคืน ห้ามลงชื่อแทนกันหากตรวจพบถือว่า เป็ นความผิดร้ายแรง ผ้บป งั คบั บญั ชาตามลาดบั ชัน้ ต้อง
ตรวจสอบความถปกต้อง หากมีการแก้ไขต้องได้รับความเห็นชอบจากตวั แทนฝ่ ายรักษาความปลอดภัย
หลงั จากนนั้ เข้ารวมแถวให้เป็ นระเบยี บ เพ่ือรอรับฟังคาสงั่ ใหม่ๆ, หวั ข้ออบรม และขา่ วสารประจาวนั
3. เมื่อเข้ารับเวรในพนื ้ ที่ให้ลงเวลาเข้าทางานในใบลงเวลา และทาการสารวจรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขนึ ้ ของ
ผลดั ก่อนหน้านที ้ กุ ครัง้ โดยการดจป ากรายงานและสอบถามจากพนกั งานท่ีปฏิบตั ิหน้าท่ีผลดั ก่อน สารวจ
อปุ กรณ์ตา่ งๆ ที่ต้องใช้ในการปฏิบตั หิ น้าท่ี เชน่ วทิ ยสุ อื่ สาร แทน่ ชาร์ต แบตเตอรี่สารอง วา่ มีอยค่ป รบและมี
สภาพพร้ อมใช้งาน ในกรณีที่อุปกรณ์ประจาตัวชารุดเสียหาย ให้รีบรายงานต่อผ้ปบังคับบัญชาและ
เจ้าหน้าท่ี ท่เี กี่ยวข้องทนั ที ก่อนทจ่ี ะรับมอบเวรตอ่
4. สารวจบริเวณพนื ้ ที่รับผดิ ชอบ ในกรณีท่พี บสง่ิ ผิดปกตใิ ห้แจ้งตอ่ ผ้บป งั คบั บญั ชาตามลาดบั
5. ตรวจสอบอปุ กรณ์ประจาพืน้ ที่ ดงั นี ้
5.1 อุปกรณ์ดับเพลิง, ต้ปดับเพลิง และถังดับเพลิง ตรวจดปว่ามีสภาพพร้ อมใช้งานหรือไม่ โดยการ
ตรวจสอบจากมาตราวดั
5.2 กลอ่ งสญั ญาณเตือนภยั เหตเุ กิดเพลงิ ไหม้ (กลอ่ งกรอบสแี ดง)
6. เม่ือเข้าปฏิบตั ิหน้าทีต่ ามจดุ ทกี่ าหนด ห้ามละทงิ ้ จดุ โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต หากมีความจาเป็ นต้องออกจาก
พนื ้ ท่ใี ห้แจ้งเจ้าของพนื ้ ที่ทราบ และรอคาอนญุ าต
7. ให้ความชว่ ยเหลอื และบริการพนกั งานทกุ คน ด้วยความเต็มใจ
8. หากพบพนกั งาน หรือผ้มป าติดตอ่ กระทาไมถ่ กป ต้องตามระเบยี บทีก่ าหนดไว้ ให้แนะนาด้วยความสภุ าพ
9. ตรวจตราบริเวณพืน้ ที่ ที่รับผิดชอบ เพื่อป้ องปรามเหตุร้ายที่อาจเกิดขนึ ้ ตอ่ พนกั งาน รวมถึงทรัพย์สินใน
พืน้ ที่ๆรับผิดชอบถ้ าพบส่ิงผิดปกติให้ รีบรายงานเจ้ าของพืน้ ที่ทราบทันที พร้ อมทัง้ รายงานให้
ผ้บป งั คบั บญั ชาทราบ
10. ทกุ ครัง้ ที่มีการติดตอ่ สอ่ื สารกบั ผ้อป ่ืน ให้ใช้วาจาทีส่ ภุ าพ พนกั งานรักษาความปลอดภยั ควรทาความเคารพ
กอ่ นทกุ ครัง้
11. วทิ ยสุ อื่ สารให้ใช้เทา่ ที่จาเป็ น, ถกป วิธี และปฏิบตั ิตามกฎกติกามารยาทในการใช้วทิ ยสุ อื่ สารโดยเคร่งครัด
12. ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของผ้ปบงั คับบัญชาอย่างเคร่งครัด หมั่นทบทวนคาสง่ั ข้อมปลข่าวสารต่างๆ ที่ได้จาก
ผ้บป งั คบั บญั ชา ทงั้ นเี ้พือ่ การปฏิบตั ิหน้าทีท่ ่ถี กป ต้อง และเกิดประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิงานสงป สดุ

Rev.: 003/2565

หนา้ 44

13. ห้ามด่ืมสรุ า, เสพของมึนเมา, เสพสิ่งเสพติด หรือนอนหลบั ในระหว่างปฏิบตั ิหน้าที่ รวมทงั้ ห้ามเลน่ การ
พนนั หรือกระทาการใดๆ ทผี่ ดิ ตอ่ กฎหมายบ้านเมืองอยา่ งเด็ดขาด

14. ปฏบิ ตั ติ ามคาสงั่ ของฝ่ ายรักษาความปลอดภยั และปฏบิ ตั ิตามกฎความปลอดภยั อยา่ งเคร่งครัด
15. ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีอ่ืนๆ ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย
16. พนกั งานรักษาความปลอดภยั มีหน้าท่ีปฏิบตั ิตามนโยบายด้านคุณภาพ ความปลอดภยั การรักษาความ

ปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อมของบริษทั ฯ
17. บนพนื ้ ที่โรงจอด และซอ่ มบารุงบางหว้า เป็ นพนื ้ ทห่ี ้ามสบป บหุ รี่

การปฏบิ ัตหิ น้าท่สี าหรับพนักงานรักษาความปลอดภยั ประจาห้องคอนโทรล
พนกั งานรักษาความปลอดภยั 1 คน พร้อมวทิ ยสุ อ่ื สาร
การปฏิบตั ิหน้าที่ :
1. เฝ้ าระวงั ระบบป้ องกันอคั คีภัย (เมื่อเกิดสญั ญาณเตือนท่ีต้ป FCP รปภ.ที่ประจาในห้องคอนโทรลจะทา
หน้าท่ีกดป่ มุ รับทราบท่ีต้ป FCP และแจ้งให้ รปภ.เดินตรวจไปตรวจสอบเบือ้ งต้น พร้อมทงั้ แจ้งเจ้าหน้าที่
ของพนื ้ ทท่ี ราบ เพอ่ื ดาเนนิ การรีเซ็ตสญั ญาณทีต่ ้ป FCP ให้เข้าสสป่ ภาวะปกติ
2. หากมีเหตเุ พลงิ ไหม้พนกั งานรักษาความปลอดภยั ประจาห้องคอนโทรล มีหน้าทแี่ จ้งให้เจ้าของพืน้ ที่ทราบ
ทนั ที
ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติหากเกิดสัญญาณแจ้งเหตเุ พลิงไหม้
2.1 เม่ือพนกั งานรักษาความปลอดภยั ที่ประจาอยป่ในห้องคอนโทรล ได้รับทราบสญั ญาณแจ้งเหตเุ พลิง
ไหม้จากแผงควบคมุ Fire Control Panel - FCP ให้ทาการกดป่ มุ ปิ ดเสยี งสญั ญาณ Audible Alarm Off
2.2 ตรวจสอบท่ีแผง FCP ว่าสญั ญาณเกิดขนึ ้ ท่ีตวั ตรวจจับจากพืน้ ท่ีบริเวณใด แจ้งเจ้าหน้าที่เจ้าของ
พนื ้ ที่ทราบ จากนนั้ ให้แจ้งพนกั งานรักษาความปลอดภยั ท่ีเดินตรวจหรือใกล้จุดเกิดเหตุนนั้ ๆ และเพื่อไป
ตรวจสอบที่จดุ เกิดเหตุ
2.3 หากไมม่ ีเหตเุ พลงิ ไหม้จริง ให้รายงานเจ้าของพนื ้ ที่เพือ่ ทราบ
2.4 หากพบมีเหตจุ ริง แจ้งให้เจ้าหน้าทเ่ี จ้าของพนื ้ ที่ทนั ที
2.5 พนักงานรักษาความปลอดภยั ที่ไปตรวจสอบ ใช้ถังดับเพลงิ ทาการดับเพลิงเบือ้ งต้น ถ้าสามารถ
กระทาได้ พร้ อมทงั้ รายงานให้เจ้าหน้าท่ีเจ้าของพืน้ ที่และแจ้งให้ รปภ.อีกทงั้ 2 จุด ทราบสถานการณ์
ตลอดเวลา
2.6 หากไม่สามารถดบั เพลงิ ได้ ให้รับกดป่ มุ "Fire Alarm" และเร่ิมทาการอพยพ
2.7 ประสานงานกบั พนกั งานรักษาความปลอดภยั ในแตล่ ะจดุ ให้แจ้งพนกั งานให้ทราบถงึ ทางออกและจุด
รวมพล

Rev.: 003/2565

หนา้ 45

2.8 แจ้งพนกั งานรักษาความปลอดภยั ที่ห้องคอนโทรล ประสานงานกับประตปเข้าโรงจอดและซอ่ มบารุง
ไม่ให้คนท่ีไม่เก่ียวข้องเข้ามาในพืน้ ท่ีเด็ดขาด ยกเว้น เจ้าหน้าที่ดับเพลิง, เจ้าหน้าท่ีพยาบาล และ
เจ้าหน้าทีข่ องหนว่ ยงานฉกุ เฉินที่เก่ียวข้อง
3. เฝ้ าระวงั เหตกุ ารณ์ผดิ ปกตจิ ากล้องโทรทศั น์วงจรปิ ด
4. ดแป ลระบบปิ ด-เปิ ดแสงสวา่ งในพนื ้ ทโี่ รงจอด และซอ่ มบารุงบางหว้า หากพบข้อขดั ข้องต้องแจ้งเจ้าหน้าที่
เจ้าของพนื ้ ท่ีทนั ที
5. เฝ้ าระวงั สญั ญาณขอความชว่ ยเหลอื เมื่อ Lift ค้าง และรีบแจ้งเจ้าของพนื ้ ท่ที ราบทนั ที
6. ห้องคอนโทรลต้องมีพนกั งานรักษาความปลอดภยั ประจาอยปต่ ลอดเวลาห้ามละทิง้ จุดโดยเด็ดขาด หาก
จาเป็ นให้ขออนุญาตเจ้าของพืน้ ท่ี และแจ้งให้พนกั งานรักษาความปลอดภัยท่ีมีหน้าที่เดินตรวจเข้ามา
เปลย่ี น

การปฏบิ ตั ิหน้าท่ีสาหรับพนักงานรักษาความปลอดภยั ประจาประตูเข้าโรงจอด และซ่อมบารุง
พนกั งานรักษาความปลอดภยั 1 คน พร้อมวทิ ยสุ อ่ื สาร
การปฏบิ ตั ิหน้าที่ : ตรวจสอบ แนะนาพนกั งานหรือผ้รป ับเหมาทมี่ าตดิ ตอ่ ต้องการจะเข้าหรือออกจากพนื ้ ท่ี
1. สาหรับพนกั งาน ให้แนะนาใช้บัตรประจาตัวพนกั งานแตะเข้าและออกจากพืน้ ที่ทุกครัง้ หากทาบัตร
ประจาตวั หายแจ้งให้พนกั งานคนนนั้ รออยกป่ ่อน พร้อมทงั้ แจ้งข้อมลป ไปท่ีห้องคอนโทรล เพ่ือแจ้งให้เจ้าของ
พนื ้ ทท่ี ราบเพือ่ อนญุ าต
2. พนกั งานรักษาความปลอดภัยสอบถามแล้วบันทึก เวลา ชื่อ ที่อยป่ เบอร์โทรศัพท์ ช่ือหัวหน้าหรือช่ือ
ผ้จป ดั การของพนกั งานคนนนั้ ไว้
3. สาหรับผ้มป าติดต่อ ให้พนกั งานรักษาความปลอดภยั ตรวจสอบเอกสารและสอบถามไปท่ีห้องคอนโทรล
เพ่อื ขออนญุ าตเจ้าของพนื ้ ท่ี และสอบถามไปยงั หนว่ ยงานที่มาติดต่อเพื่อขอคายืนยนั จะต้องมีเจ้าหน้าท่ี
หรือพนกั งานของ บที ีเอส ที่เป็ นผ้คป วบคมุ งานอยา่ งน้อย 1 คนเข้ามาพร้อมกบั ผ้มป าตดิ ตอ่ หรือผ้รป ับเหมาทกุ
ครัง้ หากไม่มีพนกั งานของบีทีเอส ที่เป็ นผ้ปควบคุมงานให้พนักงานรักษาความปลอดภยั เจ้งไปยังห้อง
คอนโทรลเพื่อแจ้งให้เจ้าของพืน้ ที่ทราบ เพ่ือติดตอ่ กบั เจ้าของงาน ไม่อนญุ าตใหผ้ ูร้ บั เหมาเขา้ มาทางาน
โดยพลการ
4. ให้พนกั งานรักษาความปลอดภัยประจาจุด หม่ันตรวจสอบด้วยสายตาไปยงั ประตปทางเข้าด้านติดกับ
สะพานลอยและพนื ้ ทโี่ ดยรอบของชนั้ ชานชาลา หากพบสิ่งผิดปกติรีบแจ้งพนกั งานรักษาความปลอดภยั
ประจาห้องคอนโทรลทราบทนั ที
5. พึงระลึกเสมอว่าในรางสาหรับจอดรถไฟฟ้ ามีอันตรายจากกระแสไฟฟ้ า ให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ
ระมดั ระวงั การเข้าสพ่ป นื ้ ท่รี างเป็ นเร่ืองอนั ตราย ต้องกาชับและแนะนาผ้มป าติดตอ่ ให้ระมดั ระวงั ในการเข้า
พนื ้ ที่

Rev.: 003/2565

หนา้ 46

การปฏิบัติเม่ือมผี ้มู าติดต่อ
บุคคลใดก็ตามที่ไม่มีบตั รพนกั งานทีบ่ ริษัท BTSC ท่อี อกให้อยา่ งถกป ต้องคอื ต้องจะถือวา่ เป็ นผ้มป าตดิ ตอ่ ทงั้ หมด
วิธีปฏิบตั ิ ให้พนกั งานรักษาความปลอดภยั ตรวจบตั รอนญุ าตที่ทาง BTS ออกให้ ผ้ทป ี่ไม่มีบตั รให้แสดง Access
Request ลงบนั ทกึ รายละเอียด และแนะนาให้ไปติดตอ่ ที่ห้องคอนโทรลเพื่อแจ้งเข้าพืน้ ทีต่ อ่ เจ้าของพนื ้ ท่ี

1. ผู้ท่ีมาขอพบพนักงาน
วิธีปฏิบตั ิ ให้พนกั งานรักษาความปลอดติดตอ่ ที่ห้องคอนโทรลเพ่ือขออนุญาตเจ้าของพืน้ ที่ หากมีความ
จาเป็ นและเจ้าของพนื ้ ทีอ่ นญุ าตต้องให้พนกั งานทา่ นนนั้ ๆ ออกมารับสง่ ทกุ ครัง้ ทเี่ ข้าออกพนื ้ ที่

2. ผู้ท่ีมาพร้ อมกับพนักงาน (อนุญาตเฉพาะกรณีจาเป็ นเท่านัน้ ซ่ึงพนักงานต้องแจ้งข้ อมูลให้
เจ้าของพนื้ ท่ที ราบ)
วิธีปฏิบตั ิให้พนกั งานรักษาความปลอดภัยตรวจดปตามข้อมปลท่ีแจ้งไว้ ว่ามีข้อมปลของผ้ปที่มาพร้ อมกับ
พนกั งานหรือไม่ พนกั งานรักษาความปลอดภยั บนั ทกึ รายละเอียดวนั และเวลา เข้า-ออก พร้อมทงั้ แจ้งให้
เจ้าของพนื ้ ท่ที ราบทกุ ครัง้ (พนกั งานผ้ทป ่นี าพาเข้ามาจะต้องเป็ นผ้รป ับผิดชอบต้อความปลอดภยั หรือความ
เสยี หายทีอ่ าจเกิดขนึ ้ ทงั้ หมด)

3. ผ้มู าตดิ ต่อทกุ คนจะต้องผ่านขัน้ ตอนการตรวจ โดยไม่มขี ้อยกเว้น ดังต่อไปนี้
3.1 แจ้งชื่อและแผนกงานของบุคคลที่ผ้ปมาติดตอ่ ต้องการจะเข้าพบให้พนกั งานรักษาความปลอดภยั
ทราบ
3.2 พนกั งานรักษาความปลอดภยั ประจาประตเป ข้าโรงจอด และซ่อมบารุง แจ้งให้พนกั งานรักษาความ
ปลอดภยั ประจาห้องคอนโทรลทราบเพื่อแจ้งเจ้าของพนื ้ ทีท่ ราบ
3.3 แนะนาให้ผ้มป าตดิ ตอ่ ให้ไปติดตอ่ ทีห่ ้องคอนโทรลพบเจ้าของพนื ้ ที่
3.4 พนกั งานรักษาความปลอดภยั บนั ทกึ รายละเอียดลงในสมดุ บนั ทกึ

4. การออกจากพนื้ ท่ี
สาหรับพนกั งานแนะนาให้แตะบตั รประจาตวั เพอ่ื ออกจากพนื ้ ที่

5. Access Request
หรือใบขอผา่ นทางนอี ้ นญุ าตให้ผ้รป ับเหมาเข้ามาในพืน้ ที่ได้ เง่ือนไขให้ปฏิบตั ิเช่นเดียวกับเง่ือนไขการเข้า-
ออกพืน้ ท่ี สาหรับบุคคลที่มีบตั รพนกั งานของบริษัท BTSC อย่ปแล้วก็สามารถเข้ามาได้ตามปกติ สว่ น
บุคคลที่ไมม่ ีบตั รพนกั งานของบริษัท BTSC ก็ให้ปฏิบตั ิเสมือนวา่ บคุ คลนนั้ เป็ นผ้มป าติดตอ่ โดยการให้บตั ร
ผ้มป าติดตอ่ และต้องทาการตรวจสอบให้ละเอียดวา่ มีรายชื่อของผ้รป ับเหมาทุกคนในใบขอผ่านทางและเมื่อ
ผ้รป ับเหมาจะออกจาหนว่ ยงานก็ควรจะเก็บบตั รผ้มป าติดตอ่ ไว้และบนั ทกึ เวลาออกด้วยถ้าหากพบส่ิงของ
ต้องสงสยั หรือสงสยั อะไร ให้ติดต่อเจ้าของพืน้ ที่หรือบุคคลท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือให้คาแนะนาและให้บันทึก
รายละเอียดทงั้ หมดลงในสมดุ บนั ทกึ ด้วย

Rev.: 003/2565

หนา้ 47

การปฏบิ ตั ิหน้าท่ขี องพนักงานรักษาความปลอดภยั ท่ปี ฏิบัติหน้าท่เี ดินตรวจ
พนกั งานรักษาความปลอดภยั 1 คน พร้อมวิทยสุ อื่ สาร
การปฏิบตั ิหน้าท่ี : เดินตรวจพืน้ ท่ีทงั้ หมดตามท่ีกาหนดและมีหน้าที่สบั เปล่ียนจุดให้พนักงานรักษาความ
ปลอดภยั จุดอื่น
1. เมื่อเข้ารับหน้าท่ีต่อจากผลดั ก่อนหน้า ให้สอบถามข้อมปลเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขนึ ้ ในพืน้ ที่ตลอดทงั้
ช่วงเวลาทผ่ี า่ นมา
2. ตรวจรับอปุ กรณ์ประจาตวั สาหรับปฏบิ ตั หิ น้าท่ใี ห้ครบถ้วน หลงั จากนนั้ เดินตรวจตามจุดท่ีกาหนดไว้ เพ่ือ
ตรวจดปอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยต่างๆ และตรวจดปสภาพพืน้ ที่ทัง้ หมดว่าทีส่ิงใดผิดปกติหรือไม่
เรียบร้ อยหรือไม่
3. ชนั้ ชานชาลา ตรวจสอบทางวิทยุสื่อสารและเดินตรวจพืน้ ที่ที่อยป่ไกลจากนพกั งานรักษาความปลอดภยั ท่ี
ประจาอยป่ป ระตทป างเข้าโรงจอดและซอ่ มบารุงกอ่ น
4. ชนั้ สานกั งาน ตรวจดอป ุปกรณ์ด้านความปลอดภยั ให้อยใ่ป นสภาพพร้อมใช้ หากมีสง่ิ ใดกีดขวางและไม่อยใป่ น
ทท่ี ่กี าหนดให้รับแจ้งเจ้าของพนื ้ ที่ให้ทราบทนั ที
5. หากตรวจพบวตั ถตุ ้องสงสยั หรือตรวจพบสง่ิ ของในที่ที่ไม่ควรมีอยใ่ป ห้รีบแจ้งเจ้าของพืน้ ท่ีและปฏิบตั ิตาม
ขนั้ ตอน
6. ชนั้ พืน้ ถนน ก่อนลงตรวจพืน้ ที่ต้องแจ้งให้ห้องคอนโทรลรับทราบ เพราะการเปิ ดประตปฉกุ เฉินหนีไฟจะมี
สญั ญาณดงั ขนึ ้ ให้ตรวจดปป ระตฉป กุ เฉินหนีไฟทงั้ 3 จุดคือ บนั ได 1, บนั ได 4 และบนั ได 7 วา่ ทงั้ หมดต้อง
ปิ ดลอ็ คเรียบร้อย
7. ให้พนกั งานรักษาความปลอดภยั เดินตรวจพืน้ ที่ชนั้ พืน้ ถนนเฉพาะบริเวณเกาะกลางโดยใช้บนั ได 1 เป็ น
หลกั เพ่อื ความปลอดภยั จากอบุ ตั เิ หตรุ ถชน ห้ามเดนิ ข้ามถนนใต้พนื ้ ทโี่ รงจอดและซอ่ มบารุงบางหว้า โดย
ให้ใช้สะพานลอยทางเข้าเป็ นทางข้ามถนนแทน

ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั หิ น้าท่สี าหรับผลัดกลางคืน
พนกั งานรักษาความปลอดภยั ผลดั กลางคืนจะปฏิบตั ิหน้าที่เช่นเดียวกบั พนกั งานรักษาความปลอดภยั ผลดั
กลางวนั แตใ่ นผลดั กลางคืนจะไม่อนุญาตให้พนกั งานของบริษัท BTSC ท่ีลมื บตั รหรือทาบตั รหายเข้ามาใน
พืน้ ท่ีถ้าไม่มีพนกั งานบริษัท BTSC รับรอง เมื่อพนกั งานรักษาความปลอดภยั ประจาห้องคอนโทรลแจ้งให้
เจ้าของพนื ้ ที่ทราบ เพือ่ ขออนญุ าตและลงรายละเอียดในสมดุ บนั ทกึ ด้วย

Rev.: 003/2565

หนา้ 48

หวั ข้ออบรมประจาวนั ของพนักงานรักษาความปลอดภัย ประจาสถานีรถไฟฟ้ า
บที เี อส

วนั จนั ทร์ เร่ืองหน้าทแ่ี ละข้อควรทราบ ของพนกั งานรักษาความปลอดภยั ,การตรวจสมั ภาระ
วนั องั คาร เร่ืองการปฏบิ ตั หิ น้าที่ ประจาชนั้ จาหนา่ ยตวั๋ ,การตรวจสมั ภาระ
วนั พุธ เรื่องการปฏิบตั หิ น้าที่ ประจาชนั้ ชานชาลา ,การตรวจสมั ภาระ
วันพฤหสั บดี เร่ืองการปฏิบตั ิหน้าท่ี หลงั ปิ ดสถานี และด้านลา่ งสถานี ,การตรวจสมั ภาระ
วันศกุ ร์ เรื่องการใช้วทิ ยสุ อื่ สาร การเขยี นรายงาน ,การตรวจสมั ภาระ
วันเสาร์ เรื่องการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีเม่ือเกิดเหตกุ ารณ์ และมี ว.42 ,การตรวจสมั ภาระ,อื่นๆ
วนั อาทติ ย์ เรื่องกฎข้อห้าม กทม.10 ข้อ และ 24 ข้อห้ามของ BTSC, การตรวจสมั ภาระ,อ่ืนๆ

หวั ข้ออบรมประจาวนั ของพนักงานรักษาความปลอดภยั ประจาศนู ย์บริหารและ
ควบคุมการเดินรถไฟฟ้ าบที เี อส

วนั จนั ทร์ หน้าทจ่ี ุดป้ อมหน้า การใช้วิทยสุ อื่ สาร และหน้าท่รี ับผดิ ชอบด้านความปลอดภยั
วันอังคาร หน้าท่ีจดุ ลานจอด1-2 การแจ้งเหตุ และการแสกนจุด(ผลดั กลางคืน)
วนั พธุ หน้าทจ่ี ดุ ลานจอด3,4,5,6,7 การเขียนรายงาน และชีวอนามยั สง่ิ แวดล้อม
วันพฤหสั บดี หน้าทจ่ี ุดลานจอดวไี อพี มารยาทการพดป จา และเรื่องจากการประชุม
วันศกุ ร์ หน้าทจ่ี ดุ ลอ็ บบี/้CCTV กรณีฉกุ เฉิน/เพลงิ ไหม้ และอุปกรณ์/การแตง่ กาย
วันเสาร์ หน้าทจี่ ุดชนั้ 2ห้องมนั่ คง พนื ้ ท่ีหวงห้าม กรณีรถขนทรัพย์สนิ เข้า และเวลาการปฏิบตั ิหน้าท่ี
วันอาทติ ย์ หน้าทจี่ ุดหน้าลฟิ ท์ชนั้ 11 หวั หน้างาน/ผ้บป งั คบั บญั ชา และเบอร์ตดิ ตอ่ ชนั้ 7/บก.สยาม

Rev.: 003/2565

หนา้ 49

หน้าท่ขี องพนักงานรักษาความปลอดภัย

ประจาศนู ย์บริหารและควบคุมการเดนิ รถไฟฟ้ าบที เี อส
การปฏบิ ัตหิ น้าท่ที ่วั ไป

1. พนกั งานรักษาความปลอดภยั ต้องเข้ารายงานตัวตามจุดท่ีจดั ไว้ตามตารางการปฏิบัติงาน โดยหวั หน้า
งานพนักงานรักษาความปลอดภัยจะเป็ นผ้ปรับผิดชอบ ซึ่งพนักงานรักษาความปลอดภัยต้องแต่ง
เคร่ืองแบบให้ครบตามระเบียบ กอ่ นที่จะเข้ารายงานตวั

2. ต้องลงชื่อในสมุดลงเวลาก่อนเวลา 06.30 น. สาหรับผลดั กลางวนั และเวลา 18.30 น. สาหรับผลดั
กลางคืน และพนกั งานรักษาความปลอดภยั ทุกนายจะต้องมารายงานตัวไม่เกินเวลา 06.30 น. และ
18.30 น. ของทกุ วนั พร้อมเข้าแถวให้เป็ นระเบยี บเรียบร้อยตามจุดที่ได้รับมอบหมาย เพ่ือรอฟังคาอบรม
และชีแ้ จงขา่ วสารตา่ งๆ และหลงั จากการ อบรมแถวประจาวนั แล้ว ให้พนกั งานทุกนายรีบไปประจาตาม
จดุ ทไ่ี ด้รับมอบหมายให้ไปปฏบิ ตั ิหน้าที่

3. รักษาความปลอดภยั แก่ทรัพย์สนิ ของ BTSC รวมตลอดถึงทรัพย์สินที่อย่ใป นความครอบครองของ BTSC
ทงั้ หมด และยานพาหนะทีเ่ ข้ามาจอดในสถานทีข่ อง BTSC

4. ป้ องกนั การกระทาอนั มิชอบด้วยกฎหมาย หรือขดั ตอ่ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอนั ดีของประชาชน
หรือขดั ตอ่ ความเป็ นระเบียบเรียบร้อย

5. ป้ องกันและระงบั อัคคีภยั ซ่ึงอาจจะเกิดขนึ ้ ภายในบริเวณรับผิดชอบ และต้องแจ้งหน่วยดับเพลงิ ที่ใกล้
ท่ีสดุ ทราบในทนั ทีท่ีเกิดเพลงิ ไหม้ กบั แจ้ง BTSC

6. ในกรณีเกิดความไมส่ งบเรียบร้อย หรือมีเหตุการณ์ไม่ปกติเกิดขนึ ้ ต้องแจ้งให้ผ้บป งั คบั บญั ชาทราบทนั ทีใน
โอกาสแรกที่กระทาได้ รวมทงั้ ต้องรายงานเหตุดงั กลา่ วไว้เป็ นหลกั าาน ในสมุดรายงานของเจ้าหน้าท่ี
รักษาความปลอดภยั แตล่ ะผลดั ด้วย

7. ดปแล เปิ ด - ปิ ดไฟฟ้ า ประปาสาธารณะ และภายในบริเวณสานักงานให้เหมาะสมกับฤดปกาล หรือ
เหมาะสมกบั สภาพพนื ้ ที่ หรือตามคาสงั่ ของ BTSC

8. ห้ามดมื่ สรุ า นอนหลบั หรือเสพสงิ่ มึนเมาตา่ งๆ ในระหวา่ งการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี รวมทงั้ ห้ามเลน่ การพนนั อย่าง
เด็ดขาด

9. พนกั งานรักษาความปลอดภยั ประจาศนป ย์บริหารและควบคมุ การเดินรถไฟฟ้ าบีทีเอส ต้องจดั ทารายงาน
ประจาวนั และนาสง่ BTSC ทกุ วนั

Rev.: 003/2565

หนา้ 50

การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ประจาประตูใหญ่ทางเข้า-ออกยานพาหนะ

1. ตรวจสอบยานพาหนะของบุคคลภายนอกทเ่ี ข้ามา บริเวณศนป ย์บริหารและควบคมุ การเดนิ รถไฟฟ้ าบีทีเอส
แลกใบขบั ขี่ กบั บตั รอนญุ าตเมื่อผา่ นเข้า-ออกทกุ ครัง้

2. ตรวจสอบใบขอใช้รถยนต์ที่มีผ้อป นุมัติการใช้รถของ BTSC บนั ทึกช่ือ-สกลุ ผ้ขป บั ข่ี ทะเบียนรถ เลขไมล์เร่ิม
และสนิ ้ สดุ และระยะเวลาเข้า-ออกทกุ ครัง้ เม่ือมีการใช้รถ และไม่ยินยอมให้รถออก หากผ้ขป บั ขี่รถไม่มีใบ
ขอใช้รถยนต์ท่ีมีผ้อป นมุ ตั ิ

3. ตอบคาถามของบคุ คลทเ่ี ข้ามาติดตอ่ ในหนว่ ยงานด้วยวาจาสภุ าพ
4. แจ้งเจ้าหน้าทปี่ ระชาสมั พนั ธ์เม่ือแขกสาคญั มาถึงประตทป างเข้า-ออก
5. คอยสงั เกตไฟกระพริบ หรือเสยี งสญั ญาณเตือนผ้บป กุ รุกห้องเก็บพสั ดสุ ว่ นการตลาด (ต้คป อนเทนเนอร์หน้า

อาคารบที ีเอส)
6. ในช่วงเวลา18.30 - 05.30 น. ให้พนกั งานรักษาความปลอดภยั เก็บทรัพย์สิน เชิงเทียนเรือหงษ์, กระถาง

ธปป ทอ่ี ยบ่ป ริเวณศาลทา่ นท้าวมหาพรหม หน้าทางเข้าบริษัทฯ มาไว้ที่โต๊ะในป้ อมท่จี ดั เตรียมไว้

การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ประจาประตู 3 ด้านลานจอดหมอชติ

1. ตรวจสอบการเข้า-ออก อนญุ าตให้ผา่ นเข้า-ออก เฉพาะพนกั งาน เทา่ นนั้
2. แนะนาผ้มป าตดิ ตอ่ ให้ ผา่ นเข้า-ออก ประตใป หญ่ทางเข้า-ออกยานพาหนะ เทา่ นนั้
3. ตรวจตราให้พนกั งานตดิ บตั รประจาตวั พนกั งาน หรือแสดงบตั รเมื่อมีการร้องขอ

การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ประจาจุดลานจอดรถด้านหน้า ลานจอดรถใต้ทางว่งิ รถไฟฟ้ า และด้านข้าง
อาคาร

1. อานวยความสะดวก และจดั การจราจรให้รถเข้ามาจอดเป็ นระเบียบเรียบร้อย ถกป ต้องตามกฎจราจร และ
ตรวจสอบอยา่ งเข้มงวด เก่ียวกบั บตั รอนญุ าตให้จอดในพนื ้ ท่ที ก่ี าหนด

2. อานวยความสะดวกในการจราจร รถท่ี เข้า-ออก ชอ่ งจอดรถ
3. ตรวจตรา และสงั เกตบุคคลที่มีพฤตกิ รรมนา่ สงสยั
4. เม่ือมีเหตเุ ฉี่ยวชน ต้องรีบแจ้งหวั หน้างานทราบโดยเร็ว และแจ้งให้ค่ปกรณีทราบและบนั ทกึ เลขทะเบียนรถ

วนั เวลาทเ่ี กิดเหตใุ นสมดุ ทกุ ครัง้

Rev.: 003/2565


Click to View FlipBook Version