คมู่ อื การตรวจสอบพสั ดปุ ระจำปีและการจำหน่ายพสั ดุ
งานทะเบียนทรัพยส์ นิ และพัสดุ กองคลัง องคก์ ารบริหารส่วนตำบลโคกตาล อำเภอภสู ิงห์ จงั หวดศรีสะเกษ
คานา
ตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด 13 การ
บรหิ ารพัสดุ ประกอบกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจดั ซื้อจัดจ้างและการบริหารงานพัสดุภาครัฐ 2560
หมวดท่ี 9 การบริหารพสั ดุ
ปรากฏว่า องค์การบริหารส่วนตำบลโคกตาล ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการ บริหาร
พัสดุ ตั้งแต่ข้ันตอนการเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย จนกระท่ังการลงจ่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน ซึ่ง
กระบวนการตรวจสอบพัสดุประจำปี และการจ าหน่ายพัสดุ ต้องจัดทำในรูปแบบคณะกรรมการหรือมี ผู้รบั ผิดชอบ
ในการตรวจสอบพัสดุประจำปซี ่ึงมิใช่เจ้าหน้าท่ีเข้ามามสี ่วนรว่ มกับเจา้ หน้าเพื่อให้การตรวจสอบพัสดุ ประจำปี และ
การจำหนา่ ยพสั ดเุ ปน็ ไปด้วยความถกู ต้อง
ดังนั้น งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ กองคลัง องค์การบริหารส่วนตำบลโคกตาล จึงได้จัดทำ
“คู่มือการตรวจสอบพัสดุประจำปีและการจำหน่ายพัสดุ” ข้ึน เพ่ือเป็นคู่มือให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลโคกตาล
ใหส้ ามารถปฏิบัติงานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผลตอ่ ทางราชการ
งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ กองคลัง องค์การบริหารส่วนตำบลโคกตาล หวังเป็นอย่างยิ่งว่า
คูม่ อื เลม่ นจี้ ะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกตาล ต่อไป
งานทะเบยี นทรัพยส์ นิ และพัสดุ กองคลัง องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลโคกตาล
สารบญั หน้า
คานา 1
สารบญั 2
ความหมายของวัสดุครุภัณฑ์ 3
การบรหิ ารพัสดุ 3
การตรวจสอบพัสดุประจำปี 4
การจำหน่ายพัสดุ 4
การจำหนา่ ยเป็นสูญ 5
การลงจา่ ยออกจากบญั ชหี รือทะเบียน
หน้าที่ความรบั ผิดชอบของผู้ท่ีเก่ียวขอ้ งกับการตรวจสอบและการจำหนา่ ยพัสดุประจำปี
ภาคผนวก
ตัวอย่างแบบฟอร์มการตรวจสอบพสั ดุประจำปี และการจำหนา่ ยพัสดุ
การตรวจสอบพสั ดุประจำปีและการจำหนา่ ยพัสดุ
**************
การตรวจสอบพัสดุประจำปถี ือเป็นส่วนหนง่ึ ของการควบคุมพัสดุตามพระราชบญั ญัติการจัดซื้อ จัด
จ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด 13 การบริหารพัสดุ ประกอบกับระเบยี บ กระทรวงการคลงั ว่า
ด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารงานพัสดุภาครัฐ 2560 หมวดท่ี 9 การบริหารพัสดุ ส่วนท่ี 3 การบำรุงรักษา
การตรวจสอบพัสดปุ ระจำปี ขอ้ ๒๑๓ ภายในเดือนสุดท้ายก่อนสิ้นปีงบประมาณของ ทุกปี ให้หัวหน้าหนว่ ยงานของ
รฐั หรือหัวหน้าหน่วยพัสดตุ ามข้อ ๒๐๕ แต่งตั้งผู้รบั ผิดชอบในการตรวจสอบ พัสดุซึ่งมิใช่เป็นเจา้ หน้าที่ ตามความ
จำเป็น เพ่ือตรวจสอบการรบั จา่ ยพัสดุในงวด ๑ ปีทผี่ ่านมา และตรวจนับ พัสดุประเภททีค่ งเหลืออยู่ เพียงวันสิ้นงวด
นั้น โดยเร่ิมดำเนินการตรวจสอบพัสดุในวันเปิดทำการวันแรก ของปีงบประมาณเป็นต้นไป ว่าการรับจ่ายถูกต้อง
หรอื ไม่ พสั ดคุ งเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบญั ชี หรือทะเบียน หรอื ไม่ มพี ัสดุใดช ารุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไปเพราะเหตุ
ใด หรือพสั ดใุ ดไม่จำเป็น ตอ้ งใชใ้ นหน่วยงานของรฐั ต่อไปแลว้ ให้เสนอรายงานผลการตรวจสอบดังกล่าวต่อ ผู้แต่งต้ัง
ภายใน ๓๐ วันทำการ นับแต่วนั เรม่ิ ดำเนนิ การ ตรวจสอบพัสดุนัน้
หน่วยงานของรัฐจะต้องถือปฏิบัติอย่างเครง่ ครัดและหลังการตรวจสอบแล้วปรากฏว่าพัสดุใด หมด
ความจำเป็นหรือหากใช้ราชการต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ก็ให้ส่วนราชการดำเนินการจำหน่ายต่อไป ดังนั้น
เพอ่ื ใหเ้ จ้าหน้าที่หรอื ผู้เก่ียวขอ้ งเขา้ ใจเกี่ยวกบั การตรวจสอบพัสดปุ ระจำปีและการจำหนา่ ยพัสดุมากยิง่ ขึ้น จึงขอสรุป
ขัน้ ตอนและวิธีปฏบิ ตั ิดงั กล่าว ดังน้ี
ความหมายของวสั ดแุ ละครภุ ัณฑ์
ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา 4 “พัสดุ”
หมายความว่า สินค้า งานบริการ งานก่อสร้าง งานจ้างที่ปรึกษาและงานจ้างออกแบบ หรือควบคุมงาน ก่อสร้าง
รวมทงั้ การดำเนนิ การอืน่ ตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง
ประกอบกับหนังสือกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ิน ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 1248 ลงวนั ท่ี
27 มิถุนายน 2559 เร่ือง แนวทางการพิจารณาส่ิงของที่จัดเป็นวัสดุและครุภัณฑ์ตามหลักการจำแนก ประเภท
รายจ่ายตามงบประมาณ ไดก้ ำหนดไวว้ ่า
1. สิง่ ของทจ่ี ดั เปน็ วสั ดุ ใหแ้ บ่งการพิจารณาออกเป็น 3 ประเภท ดงั น้ี
ก.ประเภทวัสดุคงทน ได้แก่ สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทนแต่ตามปกติมีอายุการใช้ งานไม่
ยืนนาน หรือเมือ่ นำไปใช้งานแลว้ เกิดความชำรุดเสียหาย ไมส่ ามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้ดงั เดิมหรือซ่อมแซม แลว้ ไม่
คุ้มคา่
ข.ประเภทวัสดุส้ินเปลือง ได้แก่ สิ่งของท่ีโดยสภาพมีลักษณะเมื่อใช้งานแล้วย่อมส้ินเปลือง หมด
ไป แปรสภาพ หรือเปลีย่ นสภาพไปในระยะเวลาอันสัน้ หรอื ไม่คงสภาพเดิม
ค.ประเภทวัสดุอปุ กรณ์ประกอบและอะไหล่ ได้แก่ ส่งิ ของที่ใช้เป็นอุปกรณ์ประกอบหรอื อะไหล่
สำหรับการซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินให้กลับคืนสู่สภาพดังเดิมที่มีลักษณะเป็นการซ่อมบำรุงปกติหรือค่า ซ่อม
กลาง
2. ครุภัณฑ์ ได้แก่ สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทนถาวร มีอายุการใช้งานยืนนานเมื่อชำรุด
เสียหายแลว้ สามารถซ่อมแซมให้ใช้งานไดด้ ังเดิม
ดงั น้นั จงึ สามารถทจ่ี ะบรหิ ารพสั ดุ ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บทีถ่ กู ตอ้ ง ดังน้ี
หมวด 9 การบริหารพัสดุ
สว่ นท่ี 1 การเก็บ การบนั ทึก การเบิกจ่าย
ข้อ ๒๐๒ การบริหารพสั ดุของหน่วยงานของรฐั ให้ดำเนินการตามหมวดนี้ เว้นแตม่ ีระเบียบ ของทาง
ราชการ หรือกฎหมายกำหนดไวเ้ ปน็ อยา่ งอื่น การบริหารพัสดุในหมวดนี้ ไม่ใชบ้ ังคบั กับงานบรกิ าร งานก่อสรา้ ง งาน
จ้างท่ี ปรกึ ษา และงานจา้ งออกแบบหรอื ควบคุมงานกอ่ สร้าง
การเกบ็ และการบันทกึ
ข้อ ๒๐๓ เม่ือเจ้าหน้าท่ีได้รับมอบพัสดุแล้ว ให้ดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) ลงบัญชีหรือทะเบียนเพื่อ
ควบคุม พัสดุ แล้วแต่กรณี แยกเป็นชนิด และแสดงรายการ ตามตัวอย่างที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด โดยให้มี
หลักฐาน การรบั เข้าบญั ชหี รือทะเบยี นไวป้ ระกอบรายการด้วย
สำหรบั พัสดุประเภทอาหารสดจะลงรายการอาหารสดทุกชนิดในบัญชีเดยี วกันก็ได้ (๒) เกบ็ รักษาพัสดุ
ใหเ้ ป็น ระเบียบเรียบร้อย ปลอดภยั และให้ครบถว้ นถกู ต้องตรงตามบญั ชี หรือทะเบียน การเบิกจา่ ยพัสดุ
ขอ้ ๒๐๔ การเบิกพสั ดจุ ากหนว่ ยพสั ดุของหน่วยงานของรัฐ ใหห้ วั หน้างานทต่ี ้องใช้พัสดนุ นั้ เป็นผู้เบิก
ข้อ ๒๐๕ การจ่ายพัสดุ ให้หัวหน้าหน่วยพัสดุที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมพัสดุหรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมาย จากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเป็นหัวหน้าหน่วยพัสดุ เป็นผู้ส่ังจ่ายพัสดุ ผู้จ่ายพัสดุต้องตรวจสอบความ
ถกู ต้องของใบ เบิกและเอกสารประกอบ (ถ้ามี) แล้วลงบัญชี หรือทะเบียนทุกครั้งท่ีมีการจ่าย และเก็บใบเบิกจ่ายไว้
เป็นหลักฐาน ดว้ ย
ขอ้ ๒๐๖ หนว่ ยงานของรฐั ใดมีความจำเป็นจะกำหนดวธิ ีการเบิกจ่ายพัสดุเปน็ อย่างอ่ืนให้อยู่ในดุลพินิจ
ของ หัวหนา้ หน่วยงานของรัฐน้ัน โดยให้รายงานคณะกรรมการวินิจฉัยและสำนกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดินทราบดว้ ย
ส่วนที่ ๒ การยมื
ขอ้ ๒๐๗ การให้ยมื หรอื นำพัสดุไปใชใ้ นกิจการ ซึ่งมิใช่เพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะกระทำมไิ ด้
ข้อ ๒๐๘ การยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ให้ผู้ยืมทำหลักฐานการยืมเป็นลายลักษณ์อักษร แสดงเหตุผล
และ กำหนดวันส่งคืน โดยมีหลักเกณฑ์ ดังต่อไปน้ี (๑) การยืมระหว่างหน่วยงานของรัฐ จะต้องได้รับอนุมัติจาก
หัวหน้า หน่วยงานของรัฐผู้ให้ยืม (๒) การให้บุคคลยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน จะต้องได้รับ
อนุมัติ จาก หัวหน้าหน่วยงานซ่ึงรับผิดชอบพัสดุน้ัน แต่ถ้ายืมไปใช้นอกสถานที่ของหน่วยงานของรัฐ จะต้องได้รับ
อนมุ ัตจิ าก หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ขอ้ ๒๐๙ ผู้ยืมพัสดุประเภทใช้คงรูปจะต้องนำพัสดนุ ้ันมาส่งคืนให้ในสภาพทีใ่ ชก้ ารไดเ้ รียบร้อย หากเกิด
ชำรุดเสียหาย หรือใช้การไม่ได้ หรือสูญหายไป ให้ผู้ยืมจัดการแก้ไขซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม โดยเสียค่าใช้จ่ายของ
ตนเอง หรือชดใช้เป็นพัสดุประเภท ชนิด ขนาด ลักษณะและคุณภาพ อย่างเดียวกัน หรือชดใช้เป็นเงินตามราคาท่ี
เป็นอยู่ในขณะยมื โดยมีหลักเกณฑ์ ดังน้ี (๑) ราชการส่วนกลาง และราชการสว่ นภูมิภาค ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ท่ี
กระทรวงการคลังกำหนด (๒) ราชการส่วนท้องถิน่ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงมหาดไทย กรงุ เทพมหานคร
หรือเมืองพัทยา แล้วแต่กรณี กำหนด (๓) หน่วยงานของรัฐอ่ืน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีหน่วยงานของรัฐน้ัน
กำหนด
ข้อ ๒๑๐ การยืมพัสดุประเภทใช้ส้นิ เปลืองระหว่างหน่วยงานของรฐั ให้กระทำไดเ้ ฉพาะเมือ่ หน่วยงาน
ของ รัฐผู้ยืมมีความจำเป็นต้องใช้พัสดุน้ันเป็นการรีบด่วน จะดำเนินการจัดหาได้ไม่ทันการ และหน่วยงานของรัฐผู้
ให้ยมื มี พัสดุนน้ั ๆ พอที่จะให้ยืมได้ โดยไม่เปน็ การเสียหายแก่หน่วยงานของรฐั ของตน และให้มหี ลักฐานการยมื เป็น
ลาย ลักษณอ์ ักษร ทัง้ นี้ โดยปกติหนว่ ยงานของรัฐผู้ยืมจะต้อง จัดหาพัสดุเป็นประเภท ชนดิ และปริมาณเช่นเดยี วกัน
สง่ คนื ให้หน่วยงานของรฐั ผใู้ ห้ยืม
ข้อ ๒๑๑ เม่ือครบกำหนดยืม ให้ผู้ให้ยืมหรือผู้รับหน้าท่ีแทนมีหน้าท่ีติดตามทวงพัสดุท่ีให้ยืมไป คืน
ภายใน ๗ วัน นบั แตว่ นั ครบกำหนด
สว่ นท่ี ๓ การบำรุงรกั ษา การตรวจสอบ
การบำรุงรกั ษา
ข้อ ๒๑๒ ให้หน่วยงานของรัฐจดั ให้มีผู้ควบคุมดแู ลพสั ดุท่ีอยใู่ นความครอบครองให้อยู่ในสภาพ ทพี่ รอ้ ม
ใช้ งานได้ตลอดเวลา โดยให้มีการจัดทำแผนการซ่อมบำรุงทเี่ หมาะสมและระยะเวลาในการซ่อมบำรุงด้วย ในกรณีที่
พัสดุ เกดิ การชำรดุ ใหห้ นว่ ยงานของรัฐดำเนินการซอ่ มแซมใหก้ ลับมาอยู่ในสภาพ พร้อมใช้งานโดยเรว็ การตรวจสอบ
พัสดุ ประจำปี
ขอ้ ๒๑๓ ภายในเดอื นสดุ ท้ายก่อนส้ินปีงบประมาณของทุกปี ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือหวั หน้า
หน่วย พัสดุตามข้อ ๒๐๕ แต่งต้ังผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุซึ่งมิใช่เป็นเจ้าหน้าที่ ตามความจำเป็น เพื่อ
ตรวจสอบ การรบั จา่ ยพัสดุในงวด ๑ ปีที่ผ่านมา และตรวจนบั พสั ดุประเภททค่ี งเหลืออยู่ เพยี งวันสิ้นงวดนั้น
ในการตรวจสอบตามวรรคหน่ึง ให้เริ่มดำเนินการตรวจสอบพัสดุในวันเปิดทำการวันแรก ของ
ปีงบประมาณ เป็นต้นไป ว่าการรบั จ่ายถูกต้องหรือไม่ พัสดุคงเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบญั ชี หรอื ทะเบียนหรือไม่ มีพสั ดุ
ใดชำรุด เสื่อม คุณภาพ หรือสูญไปเพราะเหตุใด หรอื พัสดุใดไม่จำเป็น ต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไป แล้วให้เสนอ
รายงานผลการ ตรวจสอบดังกล่าวตอ่ ผ้แู ตง่ ต้งั ภายใน ๓0 วันทำการ นับแตว่ นั เร่มิ ดำเนนิ การตรวจสอบพัสดนุ ้นั เม่อื ผู้
แต่งต้ังได้รับ รายงานจากผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุแล้ว ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ๑ ชุด และส่ง
สำเนารายงานไป ยังสำนกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดิน ๑ ชุด พร้อมท้ังส่งสำเนารายงาน ไปยงั หน่วยงานต้นสังกัด (ถ้ามี)
๑ ชุด ด้วย ข้อ
๒๑๔ เมื่อผู้แต่งต้ังไดร้ ับรายงานจากผรู้ ับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุตามขอ้ ๒๑๓ และปรากฏว่ามี
พสั ดุชำรุด เสื่อมสภาพ หรือสูญไป หรอื ไม่จำเป็นตอ้ งใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไป ก็ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบหา
ข้อเท็จจริง ขึ้นคณะหนึ่ง โดยให้นำความในข้อ ๒๖ และข้อ ๒๗ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม เว้นแต่กรณีที่เห็นได้อย่าง
ชดั เจนวา่ เป็นการเสื่อมสภาพเน่ืองมาจากการใช้งานตามปกติ หรือสูญไปตามธรรมชาติให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
พิจารณาสั่ง การให้ดำเนินการจำหน่ายต่อไปได้ ถ้าผลการพิจารณาปรากฏว่าจะต้องหาตัวผู้รับผิดด้วย ให้หัวหน้า
หน่วยงานของรฐั ดำเนนิ การ ตามกฎหมายและระเบียบท่เี กี่ยวข้องของทางราชการหรือของหน่วยงานของรัฐนั้นตอ่ ไป
สว่ นท่ี ๔ การจำหนา่ ยพัสดุ
ข้อ ๒๑๕ หลงั จากการตรวจสอบแล้ว พัสดุใดหมดความจำเป็นหรือหากใชใ้ นหน่วยงานของรัฐ ต่อไปจะ
ส้ินเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ให้เจ้าหน้าท่ีเสนอรายงานต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ เพื่อพิจารณา ส่ังให้ดำเนินการตาม
วธิ กี ารอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด ดังต่อไปนี้
(1) ขาย ให้ดำเนินการขายโดยวิธีทอดตลาดก่อน แต่ถ้าขายโดยวิธีทอดตลาดแล้วไม่ได้ผลดี ให้นำวิธีท่ี
กำหนดเก่ยี วกับการซื้อมาใช้โดยอนุโลม เว้นแต่กรณี ดังต่อไปน้ี
(ก) การขายพัสดุคร้ังหน่ึงซ่ึงมีราคาซื้อหรือได้มารวมกันไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท จะขายโดย วิธี
เฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากันโดยไม่ต้องทอดตลาดก่อนกไ็ ด้
(ข) การขายให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณกุศลตามมาตรา ๔๗ (๗) แห่งประมวล
รษั ฎากร ให้ขายโดยวธิ เี ฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากนั
(ค) การขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์เคล่อื นที่ แท็บเลต็ ให้แกเ่ จ้าหน้าท่ขี องรัฐ ทีห่ น่วยงาน
ของรัฐมอบให้ไว้ใช้งานในหน้าท่ี เมื่อบคุ คลดังกล่าวพ้นจากหน้าที่หรอื อุปกรณ์ดังกล่าวพ้นระยะเวลาการ ใชง้ านแล้ว
ให้ขายให้แก่บุคคลดังกล่าวโดยวิธีเฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากัน การขายโดยวิธีทอดตลาดให้ถือปฏิบัติ
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยให้ผู้ท่ีได้รับ มอบหมายทำการ ประเมินราคาทรัพย์สินก่อนการประกาศ
ขายทอดตลาด กรณีที่เป็นพัสดุท่ีมีการจำหน่าย เป็นการท่ัวไปให้พิจารณา ราคาที่ซ้ือขายกันตามปกติในท้องตลาด
หรือราคาท้องถ่ินของสภาพปัจจุบัน ของพัสดุนั้น ณ เวลาท่ีจะทำการขาย และควรมีการเปรียบเทียบราคาตามความ
เหมาะสม กรณที ี่เป็นพสั ดุ ท่ีไม่มีการจำหน่ายทั่วไป ให้พจิ ารณาราคาตาม ลักษณะ ประเภท ชนดิ ของพัสดุ และอายุ
การใชง้ าน รวมทั้งสภาพและสถานทต่ี งั้ ของ
พัสดุด้วย ทั้งนี้ ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาให้ความเห็นชอบ ราคาประเมินดังกล่าวโดยคำนึงถึง
ประโยชนข์ องหนว่ ยงานของรัฐด้วย
หน่วยงานของรัฐจะจ้างผู้ประกอบการที่ให้บริการขายทอดตลาดเปน็ ผู้ดำเนนิ การก็ได้
(๒) แลกเปลี่ยน ใหด้ ำเนินการตามวธิ กี ารแลกเปล่ยี นท่กี ำหนดไวใ้ นระเบียบนี้
(๓) โอน ให้โอนแกห่ น่วยงานของรัฐ หรอื องค์การสถานสาธารณกุศลตามมาตรา ๔๗ (๗) แหง่ ประมวล
รษั ฎากร ทง้ั น้ี ให้มหี ลกั ฐานการสง่ มอบไวต้ ่อกันด้วย
(๔) แปรสภาพหรือทำลาย ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีหน่วยงานของรัฐกำหนด การดำเนินการตาม
วรรคหนึ่ง โดยปกตใิ หแ้ ล้วเสร็จภายใน ๖๐ วัน นับถดั จากวันที่หัวหน้า หนว่ ยงานของรฐั สั่งการ
ข้อ ๒๑๖ เงินที่ได้จากการจำหน่ายพัสดุ ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือ
กฎหมายที่เก่ียวข้องทางการเงินของหน่วยงานของรัฐนั้น หรือข้อตกลงในส่วนท่ีใช้เงินกู้ หรือเงินช่วยเหลือ แล้วแต่
กรณี
การจำหนา่ ยเปน็ สูญ
ข้อ ๒๑๗ ในกรณีท่ีพัสดุสญู ไปโดยไม่ปรากฏตัวผู้รบั ผิดหรือมีตวั ผู้รับผิดแตไ่ ม่สามารถชดใช้ได้ หรอื มีตัว
พสั ดอุ ย่แู ตไ่ มส่ มควรดำเนนิ การตามข้อ ๒๑๕ ให้จำหน่ายพสั ดุน้นั เปน็ สญู ตามหลักเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ถ้าพสั ดนุ ้ันมีราคาซ้ือ หรอื ได้มารวมกันไม่เกนิ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐ เป็น
ผ้พู ิจารณาอนมุ ตั ิ
(๒) ถ้าพัสดนุ ้นั มีราคาซอ้ื หรือได้มารวมกันเกนิ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ให้ดำเนนิ การดังน้ี
(ก) ราชการสว่ นกลาง และราชการส่วนภมู ิภาค ให้อย่ใู นอำนาจของกระทรวงการคลัง เป็น
ผอู้ นุมัติ
(ข) ราชการสว่ นทอ้ งถ่นิ ให้อยใู่ นอำนาจของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ผ้วู า่ ราชการกรุงเทพมหานคร
หรอื นายกเมืองพทั ยา แลว้ แตก่ รณี เป็นผูอ้ นุมัติ
(ค) หนว่ ยงานของรัฐอ่ืน ผ้ใู ดจะเปน็ ผู้มอี ำนาจอนมุ ตั ิให้เปน็ ไปตามทห่ี น่วยงานของรฐั นั้น
กำหนด
รัฐวสิ าหกิจใดมคี วามจำเป็นจะกำหนดวงเงินการจำหนา่ ยพัสดุเป็นสูญตามวรรคหนึ่งแตกต่าง ไปจากท่ี
กำหนดไว้ในระเบยี บนี้ ให้เสนอต่อคณะกรรมการวินิจฉยั เพ่ือขอความเห็นชอบ และเมื่อได้รบั ความเห็นชอบแลว้ ให้
รายงานสำนักงานการตรวจเงินแผน่ ดินทราบดว้ ย
การลงจ่ายออกจากบัญชีหรอื ทะเบยี น
ขอ้ ๒๑๘ เมือ่ ไดด้ ำเนินการตามขอ้ ๒๑๕ และข้อ ๒๑๗ แล้ว ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีลงจา่ ยพัสดุนน้ั ออกจากบัญชี
หรอื ทะเบียนทนั ที แลว้ แจง้ ให้สำนักงานการตรวจเงนิ แผ่นดินทราบภายใน ๓๐ วนั นบั แต่วันลงจ่ายพัสดุนน้ั
สำหรับพัสดุซ่ึงต้องจดทะเบียนตามกฎหมายให้แจ้งแก่นายทะเบียนภายในระยะเวลาท่ีกฎหมาย
กำหนดด้วย ขอ้ ๒๑๙ ในกรณที ่ีพัสดุของหนว่ ยงานของรฐั เกดิ การชำรุด เสื่อมคุณภาพ หรอื สูญไป หรอื ไม่จำเป็นตอ้ ง
ใช้ ในราชการต่อไป กอ่ นมีการตรวจสอบตามข้อ ๒๑๓ และได้ดำเนินการ ตามกฎหมายวา่ ด้วยความรับผิดทางละเมิด
ของเจา้ หนา้ ที่ หรือระเบียบนโ้ี ดยอนโุ ลม แลว้ แตก่ รณี เสรจ็ ส้นิ แลว้ ถ้าไม่มรี ะเบียบอน่ื ใดกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ
ใหด้ ำเนนิ การตามขอ้ ๒๑๕ ขอ้ ๒๑๖ ข้อ ๒๑๗ และข้อ ๒๑๘ โดยอนโุ ลม
หน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบของผ้ทู ่ีเก่ียวขอ้ งกบั การตรวจสอบและการจ าหน่ายพสั ดปุ ระจำปี
1. หน้าทขี่ องหัวหน้าหนว่ ยงานของรฐั หรือ หวั หนา้ หน่วยพัสดุ
1.1 แต่งต้ังผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุประจำปีซ่ึงมิใช่เป็นเจ้าหน้าท่ี ตามความจำเป็น เพ่ือ
ตรวจสอบการรบั จ่ายพัสดใุ นงวด ๑ ปที ่ผี า่ นมา และตรวจนบั พสั ดุประเภทท่คี งเหลอื อยู่ เพียงวนั สนิ้ งวดนัน้
1.2 พิจารณารายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจำปขี องผรู้ บั ผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุประจำปี
1.3 กรณีมีพัสดุชำรุดเสื่อมสภาพ และเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเป็นการเสื่อมสภาพ เน่ืองจากการใช้งาน
ตามปกติ หรือสูญหายไปตามธรรมชาติ ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ พิจารณาสั่งการให้ดำเนินการจำหน่ายต่อไปได้
โดย ไม่ตอ้ งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาขอ้ เทจ็ จริง
1.4 กรณีท่ีเห็นได้ชัดเจนว่ามีพัสดุชำรุด เสื่อมสภาพเนื่องมาจากการใช้งานตามปกติ หรือสูญไปตาม
ธรรมชาติหรือไม่จำเปน็ ตอ้ งใช้ในราชการตอ่ ไป หัวหนา้ หน่วยงานของรฐั ดำเนนิ การจำหน่ายต่อไป
1.5 แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจรงิ
1.6 พจิ ารณารายงานผลการสอบหาขอ้ เทจ็ จริงของคณะกรรมการสอบหาขอ้ เท็จจรงิ
- กรณีไม่ต้องหาตัวผู้รับผิดทางแพ่ง ส่ังการให้เจ้าหน้าท่ีพัสดุ ตรวจสอบสภาพพัสดุและเสนอวิธีการ
จำหนา่ ย แล้วพิจารณาอนุมัติให้จำหนา่ ย แจ้งใหก้ ระทรวงการคลังและสำนักงานตรวจเงินแผน่ ดนิ ภูมิภาคทราบต่อไป
- กรณีตอ้ งหาตัวผู้รบั ผิดทางแพง่ ใหแ้ ต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวนหาผู้รับผดิ ทางแพง่
2. หน้าทีข่ องเจ้าหนา้ ท่ี
2.1 จัดเตรียมรายการทะเบียนครุภัณฑ์ของหน่วยงานรัฐ และเอกสารทีเ่ ก่ียวข้องให้ครบถ้วน เพ่ือการ
ตรวจสอบของผู้รบั ผดิ ชอบในการตรวจสอบพัสดปุ ระจำปี
2.2 อำนวยความสะดวกใหก้ บั ผรู้ บั ผิดชอบในการตรวจสอบพัสดปุ ระจำปใี นการตรวจสอบพสั ดุ
2.3 เสนอความเห็นเกี่ยวกับวิธีการจำหน่ายพัสดุ ชำรุดเสื่อมสภาพ เพื่อให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
พิจารณาส่ังการ
2.4 เสนอแตง่ ต้งั คณะกรรมการจำหนา่ ยพสั ดุ ชำรดุ เส่ือมสภาพ ต่อหวั หนา้ หน่วยงานของรฐั
2.5 ลงจา่ ยพสั ดุตามทีไ่ ดร้ บั การอนมุ ตั ใิ ห้จำหน่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน
2.6 รวบรวมเอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการตรวจสอบพสั ดปุ ระจำปี รายงานให้สำนกั งานการตรวจเงิน
แผ่นดินทราบ
3. หนา้ ท่ผี ู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดปุ ระจำปี
3.1 ตรวจการรบั การจา่ ยของพสั ดุ ของงวดตัง้ แต่วันที่ 1 ตลุ าคมปกี ่อน ถึง 30 กันยายนปีปัจจุบนั ว่า
ถกู ต้องหรือไม่
3.2 ตรวจนับจำนวนวัสดุคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน เฉพาะวัสดุที่ยังไม่เบิกไปใช้ว่าคงเหลือตาม
บญั ชี วสั ดุหรือไม่ (วสั ดุท่ยี ังไมไ่ ดน้ ำไปใช)้
3.3 ตรวจนบั จำนวนครุภัณฑ์ทม่ี ีอยู่ทั้งในหน่วยงาน ณ วันท่ี 30 กันยายน วา่ มีครุภัณฑ์คงเหลือและมี
ความถกู ต้องตามทะเบียนครภุ ัณฑ์ที่ได้บันทึกไวห้ รอื ไม่ และตรวจสภาพของครภุ ัณฑ์ท่ีมอี ยู่ทั้งหมดในหน่วยงานว่า มี
ความชำรุด เส่อื มสภาพ หรือสูญไป เพราะเหตใุ ด หรอื พัสดใุ ดไม่จำเปน็ ตอ้ งใชใ้ นราชการ
3.4 จัดทำรายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจำปีต่อผู้แต่งตั้ง ภายใน 30 วันทำการ โดยนับต้ังแต่วัน
เรม่ิ ดำเนินการตรวจสอบพสั ดุ
4. หนา้ ที่ของคณะกรรมการสอบหาขอ้ เทจ็ จรงิ
4.1 ตรวจสอบสภาพพัสดุท่ีชำรุด เส่ือมสภาพ สูญไป หรือไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการตามท่ี
คณะกรรมการตรวจสอบพสั ดุ เสนอหรือไม่
4.2 พิจารณาว่าพัสดุแต่ละรายการท่ีชำรดุ เสื่อมสภาพ หรือสูญไปน้ัน เพราะสาเหตุใดและต้องมีผู้รับ
ผดิ ทางแพ่งหรือไม่ โดยสอบถามจากบุคคลท่ีเกีย่ วข้องกับการใช้พัสดุน้ัน และจะต้องตรวจสอบหลักฐานท่ี เก่ียวข้อง
เชน่ การซอ่ มแซม บำรงุ รักษาพัสดุน้ัน
ภาคผนวก
ตวั อย่างแบบฟอรม์ การตรวจสอบพัสดปุ ระจำปี และการจำหน่ายพสั ดุ
ตวั อย่างเอกสาร จำหนา่ ยโดยการขายวธิ ีเฉพาะเจาะจง