The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายละเอียด คู่มือตรวจงานระหว่างก่อสร้างบ้านอย่างผู้รู้และเทคนิคขั้นตอนการก่อสร้างแบบมืออาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by coach mongkol, 2022-07-12 06:37:17

รายละเอียดตัวอย่างคู่มือตรวจสอบงานระหว่างก่อสร้าง

รายละเอียด คู่มือตรวจงานระหว่างก่อสร้างบ้านอย่างผู้รู้และเทคนิคขั้นตอนการก่อสร้างแบบมืออาชีพ

คู่มือ

ตรวจงานระหว่ างก่ อสร้ างบ้ าน

อย่างผู้รู้

และ

เทคนิคขัน้ ตอนการก่อสร้าง

แบบมืออาชีพ

พฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล (โค้ชมงคล)

เจ้าของโครงการบ้านสริ ิมงคล วิลเลจ นกั เขียน Best Seller หนงั สอื สร้างบ้านขายด้วยทนุ 0 บาท
และผ้สู อนสร้างบ้านขาย Facebook สร้างบ้านขายจาก0ส1ู่ 00ล้าน สอนมือใหม่ทําได้จริง

ความรู้อาจจะดมู ีราคาแพง‼
แตข่ อให้คณุ จําไว้วา่ ความไมร่ ู้มีราคาแพงกวา่ นนั้ เสมอ
การเรียนรู้จากประสบการณ์ของคนอื่น คือหนทางของคนฉลาด
ท่ีสาํ คญั มนั ต้นทนุ ต่ํา เพราะฉะนนั้ จงล้อมรอบตวั เองด้วยผ้คู น

ท่ีคณุ สามารถจะเติบโตไปด้วยกนั ได้

ลิขสทิ ธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซ่ี ือ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สทิ ธ์ิแบบถกู ต้องตามที่ระบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล

คู่มือ

ตรวจงานระหวา่ งก่อสร้างบ้าน อยา่ งผ้รู ู้ และเทคนิคขนั้ ตอนการก่อสร้าง แบบมืออาชีพ

(สาํ หรับบ้านปนู ชนั้ เดียวและบ้าน 2 ชนั้ พืน้ ท่ีใช้สอยไม่เกิน 150 ตารางเมตร)

เขียนโดย พัฑฒพิ ัฒน์ โรจน์วราวศิ าล
เขียนจาก ประสบการณ์การสร้างบ้านขายมากกวา่ 100 หลงั
สงวนลขิ สทิ ธิ์คมู่ ือนี ้ตามพระราชบญั ญตั ิ (ฉบบั เพิม่ เติม) พ.ศ. 2558
ห้ามคดั ลอกเนือ้ หา ภาพประกอบ รวมทงั้ ดดั แปลงเป็นแผน่ บนั ทกึ เสียง ตลบั วีดีทศั น์ หรือเผยแพร่ด้วยรูปแบบ

และวิธีการอ่ืนใดก่อนได้รับอนญุ าต

บทนํา

การก่อสร้างเป็ นขนั้ ตอนท่ีสําคญั ที่สดุ ขนั้ หนึ่งก็คือ การแปลงความคิดบนกระดาษให้ปรากฏเป็ นบ้านตาม
แบบแปลนก่อสร้ าง ในการสร้ างบ้านขายถึงแม้เราจะมีการตลาดท่ียอดเย่ียมขายบ้านได้ก่อนสร้ างจริงก็
ไมไ่ ด้หมายความวา่ โครงการจะประสบความสําเร็จเสมอไปหากบ้านที่สร้างเสร็จมีมาตรฐานและคณุ ภาพไม่
ดีเหมือนกบั ที่โฆษณาเอาไว้ถ้ามีใครเอาข้อบกพร่องไปโพสต์ใน social media โครงการของเราจะได้รับ
ความเสยี หายอยา่ งแนน่ อน

ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างสัดส่วนอยู่ท่ปี ระมาณ 35 ถงึ 40 เปอร์เซน็ ต์
ของราคาขาย ซ่งึ เป็ นรายการท่มี ีมูลค่ามากท่สี ุดของโครงการ

คนสร้างบ้านที่ไมป่ ระสบความสําเร็จเร่ืองการก่อสร้างนนั้ สว่ นใหญ่แล้วไมส่ ามารถจดั การการก่อสร้างให้อยู่
ในงบประมาณและเวลาที่กําหนดตามแผนได้เนื่องจากยงั ขาดความรู้และประสบการณ์ในการก่อสร้าง

ดงั นัน้ ความรู้ในการตรวจงานระหว่างก่อสร้างและความรู้ในขัน้ ตอนงาน
ก่อสร้างจงึ มีความสาํ คญั มาก

การตรวจสอบงานก่อสร้างเป็นสง่ิ จําเป็นอยา่ งยงิ่ โดยเฉพาะงานก่อสร้างมีผลต่อโครงสร้างความแข็งแรงของ
อาคาร เพราะวา่ ถ้าโครงสร้างเสยี หายภายหลงั จากที่มีการกอ่ สร้างเสร็จแล้วก็อาจจะเกิดอนั ตรายตอ่ เจ้าของ
บ้านและกอ่ ให้เกิดความสญู เสยี ตอ่ ทรัพย์สินเงินทองเป็ นอนั มาก

การตรวจสอบท่ีดีท่ีสดุ คือการตรวจสอบระหว่างการก่อสร้าง เพราะฉะนนั้ การตรวจสอบงานระหว่างการ
กอ่ สร้างจงึ มีความจําเป็นต้องเข้าใจการทํางานตงั้ แต่

งานเคลยี ร์พืน้ ที่
งานถมดนิ
งานฐานรากจนถงึ หลงั คา
ซงึ่ ถ้าไมเ่ ข้าใจกไ็ ม่สามารถตรวจสอบงานที่ถกู ต้องได้

ความรู้ในค่มู ือเล่มนี้ จะช่วยให้เจ้าของโครงการบ้านหรือผ้วู า่ จ้าง ลดความสญู เสียเงินทองและเวลา

ในความผิดพลาดระหวา่ งก่อสร้าง *ลดคา่ ใช้จ่ายในการซอ่ มแซมแก้ไขงาน* ซงึ่ คา่ ใช้จ่ายในการแก้ไขงานจะ
สงู กว่าต้นทนุ ในการสร้างใหม่ และยงั ช่วยให้บ้านมีความมนั่ คงปลอดภยั กบั เจ้าของบ้านและผ้อู ย่อู าศยั อีก
ด้วย

ลิขสิทธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซี่ อื ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สิทธิ์แบบถกู ต้องตามทร่ี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

สารบญั 9
10
1.งานปรับพืน้ ท่ี
- การตรวจสอบงานปรับพืน้ ที่ 12
14
2.งานถมดนิ 16
- วธิ ีการจ้างงาน
- วธิ ีคํานวณปริมาณดนิ ท่ีต้องใช้ถมเบือ้ งต้น 22
- ตวั อยา่ งการคิดราคาคา่ ใช้จา่ ยในการถมดนิ 26
- การตรวจสอบงานถมดิน

3.กําแพงกนั ดินพงั
- ขนั้ ตอนการกอ่ สร้าง
- ราคาคา่ ก่อสร้าง
- การตรวจสอบ

4.งานวางผงั
- ขนั้ ตอนการวางผงั
- การตรวจสอบ

5.การตอกเสาเข็ม
- ขนั้ ตอนการตอกเสาเขม็
- การตรวจสอบเสาเขม็ ก่อนตอก
- การตรวจสอบตอนตอก
- ราคาเสาเข็มและคา่ ใช้จา่ ยในการตอก

6.งานเขม็ เจาะ
- ขนั้ ตอนงานเขม็ เจาะ
- วธิ ีการตรวจสอบ

7. งานฐานรากและตอมอ่
- งานขดุ ดินฐานราก
- การตดั หวั เข็ม
- งานหาศนู ย์เสา

- เหลก็ เสริมฐานรากและการตรวจสอบ(สาํ หรับบ้านชนั้ เดียวชนั้ เดียว 29
ที่มีพืน้ ท่ีใช้สอยไมเ่ กิน 150 ตารางเมตร) 30
- ขนาดของเหลก็ ตะแกรงและวธิ ีการผกู
- เหลก็ เสา ขนาดเหลก็ ท่ีใช้และวิธีการผกู 31
- เหลก็ คาน ขนาดเหลก็ ที่ใช้และวธิ ีการผกู 33
- การเข้าแบบฐานราก 36

8.การเข้าแบบฐานราก 40
-ขนั้ ตอนการเข้าแบบ
-วธิ ีการตรวจสอบความเรียบร้อยของแบบกอ่ นเท

9. การตรวจสอบระหวา่ งเทคอนกรีต
- รายการตรวจสอบกอ่ นเทคอนกรีต
- การตรวจสอบระหวา่ งเทคอนกรีต
- การตรวจสอบหลงั เทคอนกรีต

10. การบม่ คอนกรีต
- วิธีการบม่ คอนกรีต

11, งานสขุ าภิบาล
การตรวจงานระบบสขุ าภบิ าล
การตดิ ตงั้ ถงั บําบดั นํา้ เสียและการตรวจสอบ

12. งานคาน
- คานคืออะไร
- ขนั้ ตอนการทําคาน
- วธิ ีตรวจสอบการทําคานคอดนิ

13.งานพืน้
- พืน้ คอนกรีตหลอ่ ในท่ี
- ขนั้ ตอนการเทพืน้ คอนกรีตท่ีวางบนดนิ แบบหลอ่ ในท่ี (Slap on ground)
- ขนั้ ตอนการเทพืน้ แบบใช้แผ่นพืน้ คอนกรีตสําเร็จ
- วธิ ีตรวจสอบงานเทพืน้
- ข้อเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของการเทพืน้ แบบหลอ่ ในท่ีและแบบใช้แผ่นพืน้
สาํ เร็จ

14. งานเสา 46
- เสาคืออะไร 48
- ขนั้ ตอนการเทเสาบ้าน
- วธิ ีการตรวจสอบ 58
- การบม่ คอนกรีตและระยะเวลาการบม่ คอนกรีต 62
65
15.งานหลงั คา 68
- โครงสร้างของหลงั คา
- รูปแบบของหลงั คา
- วสั ดโุ ครงหลงั คา
- สว่ นประกอบตา่ งๆของหลงั คา
- ขนั้ ตอนการทําโครงหลงั คาบ้าน
- เทคนิคช่างเช่ือมที่ทําโครงหลงั คาบ้าน
- ข้อดีของการใช้โครงหลงั คาสาํ เร็จรูป
- วธิ ีตรวจงานหลงั คาก่อนปิ ดฝ้ าเพดาน

16. งานกอ่ ผนงั
- ขนั้ ตอนการกอ่ อิฐแดง
- ขนั้ ตอนการก่ออฐิ มวลเบา
- ขนั้ ตอนการกอ่ อฐิ บลอ็ ก
- วิธีตรวจสอบงานกอ่ ผนงั

17. งานฉาบ
- ขนั้ ตอนการฉาบ
- วธิ ีการตรวจสอบกอ่ นฉาบ
- วธิ ีตรวจสอบหลงั ฉาบเสร็จ

18. งานฝ้ า
- วสั ดฝุ ้ าที่ใช้ในบ้าน
- ขนั้ ตอนการทําฝ้ าเพดานบ้าน
- วิธีการตรวจสอบงานฝ้ าก่อนและหลงั ติดตงั้

19.งานปกู ระเบือ้ งและตดิ ตงั้ สขุ ภณั ฑ์
- ขนั้ ตอนการโปรกระเบือ้ งเซรามิคปพู ืน้ และผนงั
- วิธีการตรวจสอบงานกอ่ นและหลงั การปกู ระเบือ้ ง
- ขนั้ ตอนการติดตงั้ สขุ ภณั ฑ์ในห้องนํา้

- ตําแหน่งและระยะติดตงั้ สขุ ภณั ฑ์ในห้องนํา้ ที่เหมาะสม ตามแตล่ ะขนาด 73
ของห้องนํา้ 77
- วธิ ีตรวจสอบก่อนและหลงั หลงั ตดิ ตงั้ สขุ ภณั ฑ์ 80

20.งานไฟ 88
- ขนั้ ตอนการวางระบบและตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ไฟฟ้ าในบ้านและนอกบ้าน 93
- หลกั การติดตงั้ อปุ กรณ์ไฟฟ้ าภายในบ้าน มีอะไรบ้าง 96
- วิธีตรวจสอบกอ่ นและหลงั ตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ไฟฟ้ า

21. งานสี
- ขนั้ ตอนการทาสบี ้าน
- วธิ ีตรวจสอบงานก่อนและหลงั ทาสี

22. งานรัว้
- ขนั้ ตอนการก่อสร้างรัว้ โดยใช้อฐิ บลอ็ ก
- รัว้ สําเร็จรูปและขนั้ ตอนการประกอบรัว้
- สง่ิ สําคญั ที่ควรรู้ก่อนทําการตดิ ตงั้
- ตวั อยา่ งวธิ ีการติดตงั้ “รัว้ สําเร็จ”
- วธิ ีการตรวจสอบงานกอ่ นและหลงั งานรัว้ แล้วเสร็จ
- ราคาคา่ จ้างทํารัว้

- รัว้ อิฐบลอ็ ก
- รัว้ แผน่ สาํ เร็จรูป

23. รัว้ เหลก็ และประตรู ัว้ เหลก็ หน้าบ้าน
- ขนั้ ตอนการทําประตรู ัว้
- วิธีตรวจงานประตรู ัว้

24. ขนั้ ตอนการสง่ มอบงานกอ่ สร้าง
- การสง่ มอบงานงวดปกติ
- การสง่ งวดงานงวดสดุ ท้ายเพื่อปิ ดโครงการ
- การตรวจรับงานสง่ มอบบ้านจากผ้รู ับเหมา
- พืน้ ที่ตวั อาคาร
- พืน้ ที่บริเวณนอกบ้าน

สรุป ลาํ ดบั ขนั้ ตอนการสร้างบ้านไมเ่ กิน 2 ชนั้ พืน้ ท่ีใช้สอยไมเ่ กิน 200 ตารางเมตร

9

บทที่ 1 งานปรับพน้ื ท่ี

ขนั้ ตอนการเคลียร์พืน้ ที่ เป็ นการทําให้พืน้ ดินเดิมมีความพร้อมท่ีจะถมดิน ซง่ึ จะมีการตดั ต้นไม้ กําจดั วชั พืช
ขนย้ายเศษหิน หรือเศษวสั ดขุ นาดใหญ่ที่ไม่พงึ ประสงค์ออกไป ยิ่งเป็ นพวก กิ่งไม้ ต้นไม้ หรือ วชั พืช ที่ผพุ งั
เน่าเป่ื อยได้ ต้องกําจดั ออกไปให้หมด เพราะหากปล่อยทิง้ ไว้ เม่ือมนั เน่าสลาย จะทําให้เกิดการยุบตวั ลง
ของพืน้ ดินในบริเวณนนั้ ๆ หากมีสิ่งก่อสร้างอย่ดู ้านบน แน่นอนว่าเป็ นปัญหาแน่นอน! และเม่ือเคลียร์พืน้ ท่ี
หน้าดินเสร็จ ก็ไถเพ่ือปรับหน้าดินให้เรียบเสมอเพื่อรอขนั้ ตอนต่อไป

การตรวจสอบงานปรับพนื้ ท่ี

ขนั้ ตอนนีส้ ําคญั มากจะต้องคอยตรวจสอบ อย่าให้หลงเหลือเศษวสั ดุท่ีไม่ต้องการอยู่ในพืน้ ท่ี เช่น ก่ิงไม้
ต้นไม้ หรือ วชั พืช ท่ีผพุ งั เน่าเป่ื อยได้ เพราะหากปล่อยทิง้ ไว้ เมื่อมนั เน่าสลาย จะทําให้เกิดการยบุ ตวั ลงของ
พืน้ ดนิ ในบริเวณนนั้ ๆ หากมีสงิ่ ก่อสร้างอยดู่ ้านบน เพราะเมื่อถมดินทบั ไปแล้ว จะไม่สามารถตรวจสอบได้!

ลขิ สิทธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทีซ่ อื ้ กบั ทางเจ้าของลิขสิทธ์ิแบบถกู ต้องตามทร่ี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอ่ืนใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล

12

กรณีให้ผู้รับเหมาคิดราคาแบบเหมาจ่ายต่อไร่
(ราคาจะตา่ํ กว่าเหมาแยกเป็ นคิว)

“สาํ หรับในพืน้ ที่อําเภอทงุ่ สง จงั หวดั นครศรีธรรมราชราคาเหมาตอ่ ไร่ความสงู ที่ 1 เมตร

ราคาเหมาถมท่ีจะอยทู่ ่ี ไร่ละ 150,000-180,000 บาท”

ดนิ 1 คันรถ มีก่คี ิว รถ 6 ล้อเลก็ บรรทกุ ได้ 3-5 ควิ
ตัวแปรหลักสาํ คัญมี 3 ตวั คือ รถ 6 ล้อกลาง บรรทกุ ได้ 6-10 ควิ
1. ขนาดของรถบรรทุก รถสบิ ล้อใหญ่ บรรทกุ ได้ 13-22 คิว
2. ชนิดของดนิ
รถพว่ ง บรรทกุ ได้ 20-26 ควิ

3. เส้นทางหรือตาํ แหน่งท่ถี มดนิ

รถถมดนิ ขนาดใหญ่ จะทาํ ให้ราคาถมดนิ ถกู ลงแต่ถ้าใช้รถขนาดเลก็ ราคาถมดนิ จะสูงขนึ้

คาํ แนะนํา

ควรให้ผ้รู ับเหมาถมดนิ ตีราคาเหมาทงั้ ผมทงั้ กลบั ดินให้ราคาต่ํากวา่ ท่ีเราคํานวณไว้

หมายเหตุ: ปริมาตร 1 ควิ หมายถงึ ขนาดดนิ กว้าง 1 เมตรยาว 1 เมตร สูง 1 เมตร

การตรวจสอบงานถมดนิ

1. ตรวจสอบแนวเขตที่ดินท่ีจะถมให้ถกู ต้องก่อนจะถมดิน ควรหาท่อ PVC ขนาด 3 นิว้ มาสวมครอบหมดุ
โฉนดไว้เพื่อป้ องกนั ดินทบั ปิ ดหลกั โฉนด

2.ตรวจสอบดินท่ีจะนํามาถมควรมีคณุ สมบตั ดิ งั นี ้
✔ต้องเป็นดินแห้งไมเ่ ป็ นโคลนหรือดินเลน
✔ต้องเป็นดินที่สามารถเกาะตวั กนั เป็ นผนกึ และสามารถบดอดั เป็ นชนั้ ๆได้
✔ต้องเป็นดินที่ไม่มีสว่ นผสมของรากไม้ ต้นไม้ วชั พืชหรือเศษวสั ดอุ ื่นๆเจือปนมากเกินไป

3.ตรวจสอบดวู า่ มีสงิ่ ปลอมปนท่ีไม่ต้องการเข้ามาด้วยหรือไม่

4. ให้ตรวจสอบการเกลยี่ ดินของรถแทรกเตอร์
ในการถมท่ีนนั้ ท่ีถกู ต้องจะต้องนําดินมาเทลงเป็ นกอง แล้วใช้รถแทรกเตอร์เข้ามาไถเกลี่ยให้เสมอไปเป็ น
ชนั้ ๆ เพ่ือความเรียบเสมอและความแนน่ ของชนั้ ดนิ ในแตล่ ะชนั้ ความหนาไมค่ วรเกิน 30 เซนติเมตร

ลขิ สทิ ธิ์เป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลท่ซี อื ้ กบั ทางเจ้าของลิขสทิ ธิ์แบบถกู ต้องตามท่รี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอ่ืนใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

18

4. การ Check Blow Count
4.1 Mark ระยะที่ปลายของเสาเข็มแตล่ ะต้นเป็นช่วงๆละ 30 cm. จํานวน 10 ช่วง หรือประมาณ 3 เมตร
4.2 ทําการตอกเสาเข็มจนถงึ ตําแหน่งท่ี Mark ไว้ (3 m.) เร่ิมทําการนบั จํานวน Blow ในแตล่ ะช่วง (30 cm.)
ทําการบนั ทกึ คา่ ไว้ของแตล่ ะชว่ งวา่ ได้ Blow เทา่ ไหร่ จนกระทงั่ ถงึ ชว่ งๆหนง่ึ จํานวน Blow จะเพมิ่ ขนึ ้ มาก
แตร่ ะยะท่ีเสาเข็มจมลงน้อยมาก จงึ ทําการนบั Blow ที่ตอก 10 ครัง้ สดุ ท้าย (Last ten blow) แล้ววดั ระยะท่ี
เขม็ จมลงในการตอก 10 ครัง้ สดุ ท้าย แล้วบนั ทกึ คา่ ไว้ (ทํา 2 ครัง้ ) (Last ten Blow ต้องไม่เกินจากคา่ ท่ี
คํานวณไว้)
4.3 Foreman recheck ทศิ ทางการเยือ้ งศนู ย์ของเขม็ บนั ทกึ การเยือ้ งศนู ย์

หมายเหตุ :

– Foreman ควรดแู ลและควบคมุ อยา่ งไกล้ชิด กรณีเขม็ หกั หวั ระเบิด หรือ มีสง่ิ ผิดปกติให้แจ้ง Engineer
ทราบทนั ที
– การใช้ต้มุ ต้องมีนํา้ หนกั ตามที่คํานวณ
– การยกต้มุ และปลอ่ ยต้มุ ต้องตามระยะท่ีคํานวณ
– ปัน้ จน่ั ต้องอยใู่ นสภาพที่แข็งแรง ตะเกียบต้องตรงไม่บิดเบีย้ ว
– ระยะหนีศนู ย์ในแนวราบไมค่ วรเกิน 5 ซม
– ระยะหนีศนู ย์ในแนวดิง่ ไม่ควรเกิน 0.1% ของความยาวเขม็
ในขณะที่ตอกนนั้ จะต้องทําตามดงั นี ้
– การยกต้มุ ปัน้ จนั่ ตามความสงู ที่ได้คํานวณมา
– การตรวจสอบเสาเขม็ ให้อยแู่ นวด่งิ ตลอดการตอก
– ระยะหนีศนู ย์ในแนวราบไม่เกิน 5 ซ.ม.
– ระยะหนีศนู ย์ในขณะดิ่งไม่เกิน 0.1 % ของความยาวเข็ม

ลขิ สิทธิ์เป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซี่ ือ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สิทธ์ิแบบถกู ต้องตามทรี่ ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอ่ืนใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

21

ตวั อยา่ ง ราคาเสาเขม็ และคา่ ใช้จา่ ยในการตอกคิดเหมาหลงั

ลิขสทิ ธิ์เป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซี่ อื ้ กบั ทางเจ้าของลิขสิทธิ์แบบถกู ต้องตามทร่ี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล

25

วธิ ีตรวจสอบเสาเข็มเจาะ

1 ตรวจสอบความยาวของเหลก็ วา่ ได้สเปคตามท่ีตกลงกนั หรือเปลา่

2 ตรวจสอบเหลก็ ท่ีใช้ต้องเป็ นเหลก็ ใหมเ่ ทา่ นนั้ เหลก็ ที่ขนึ ้ สนิมท่ีฝังเข้าไปในเนือ้ เหลก็ ไม่ควรนํามาใช้

3 ตรวจสอบขนาดเหลก็ ให้ตรงกบั ที่ตกลงกนั ไว้

4 ตรวจสอบแนวหวั เขม็ ให้อยใู่ นตําแหน่งแนวจดุ ตอก

5 ตรวจลาํ ดบั การเจาะหลมุ และเทปนู ควรไลจ่ ากด้านในออกมาเพื่อป้ องกนั รถปนู เหยียบเสาปนู ท่ีพง่ึ รอไปทํา
ให้เสาหกั ได้

6 การเทคอนกรีตกรณีที่หลมุ แห้งให้หลอ่ คอนกรีตตํ่ากวา่ หลมุ ประมาณ 90 ซมกพ็ อ ไม่จําเป็นต้องหลอ่ เตม็
หลมุ เพราะวา่ ในการทําตอม่อเราต้องขดุ ลกึ ลงไปจากระดบั ดนิ อีก 1 เมตรอยแู่ ล้ว เราไม่จําเป็นต้อง
สนิ ้ เปลอื งคอนกรีตและเสียเวลาสกดั ปนู ออกในสว่ นที่ไมต่ ้องการ

*****กรณีท่เี ทคอนกรีตแล้วมีนํา้ ออกมาเตม็ หลุมกค็ วรเทคอนกรีตให้เตม็ หลุม

ลขิ สทิ ธิ์เป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซ่ี อื ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สทิ ธิ์แบบถกู ต้องตามที่ระบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล

35

การตรวจงานระบบสุขาภบิ าล

1. ตรวจดูการเดินท่อนํา้ ดี ท่อนํา้ เสีย ให้ได้ระดบั ในส่วนท่ีต้องฝังใต้พืน้ ก่อนงานเทคอนกรีต ฝังในผนังหรือ
ก่อนงานก่อผนงั ต้องมีอปุ กรณ์ยดึ ท่อให้มน่ั คงแข็งแรงก่อน จะได้ไม่หลดุ หรือเคลื่อนจากตําแหน่งและความ
ลาดเอียงที่ถกู ต้อง

2.ตรวจสอบปลายทอ่ ควรมีการปิ ดปลายทอ่ เพื่อป้ องกนั ไมใ่ ห้เศษปนู เศษวสั ดตุ า่ งๆตกลงไปอดุ ตนั ในทอ่ ได้
*แนะนําให้ใช้ฝาครอบปิ ดปลายทอ่ พีวีซีตามขนาด สวมปิ ดปลายทอ่ จะสะดวกและง่ายกวา่ วธิ ีอ่ืน

3.ตรวจสอบการวางท่อนํา้ เสียของอ่างล้างหน้าและท่อนํา้ ดีให้ได้ตามตําแหน่งในแบบ จุดท่ีต้องดเู ป็ นพิเศษ
คือ ข้องอท่อในส่วนท่ีติดผนงั ห้องท่ีใช้เชื่อมต่อกบั ก๊อกนํา้ ปลายท่อต้องให้อย่ใู นระดบั เดียวกบั แนวกระเบือ้ ง
ผนังไม่โผล่ยื่นออกมาหรือร่นเข้าไปต่ํากว่าระดับกระเบือ้ งผนัง ในขัน้ ตอนนีห้ ากปลายท่อด้นอยู่ในผนัง
หลงั จากปกู ระเบือ้ งผนงั เสร็จการต่อท่อในผนงั หากมีนํา้ ร่ัวซมึ จากข้อต่อในผนงั อาจทําให้การค้นหาตําแหน่ง
รอยรั่วของนํา้ ยากขนึ ้ ในการแก้ไขเน่ืองจากนํา้ อาจจะซมึ ลงผนงั แล้วไหลไปลงจดุ อ่ืนอาจทําให้เจ้าของบ้านเสีย
คา่ ใช้จ่ายในการรือ้ กระเบือ้ งเพื่อค้นหาตําแหนง่ ท่ีร่ัว

การตดิ ตัง้ ถังบาํ บดั นํา้ เสีย ควรตรวจสอบดงั นี้

1. ใต้ถังบําบดั นํา้ เสียควรมีการเทคอนกรีต เพ่ือป้ องกันดิน
ทรุดตัวหลงั จากติดตัง้ ซ่ึงถ้าหากติดตัง้ ถังบําบดั นํา้ เสียโดย
ไม่ได้เทพืน้ คอนกรีตและใช้งานไปแล้ว ดินเกิดทรุดตวั ทําให้
ท่อหักหรือทําให้ระดับความลาดเอียงเปล่ียนไปทําให้ นํา้
ระบายไมไ่ ด้ การแก้ไขจะทําได้ยากและเสียคา่ ใช้จ่ายสงู

2. ตรวจสอบถังบําบดั นํา้ เสียต้องเติมนํา้ อย่างน้อย 3 ใน 4
สว่ นก่อนกลบดิน หกั กลบดินก่อนเติมนํา้ ในถงั จะมีโอกาสทํา
ให้ถงั แตกได้ เนื่องจากแรงดนั ของดินท่ีอดั ลงไปรอบถงั บําบดั

3. ตรวจสอบระดับความลาดเอียงของท่อนํา้ ทิง้ ทัง้ หมดอีก
ครัง้ ก่อนถมดินกลบ เพื่อให้แน่ใจว่านํา้ สามารถระบายออก
ได้ดีในทกุ ๆจดุ

4. รูปแบบการจัดวางและระยะการวางสุขภัณฑ์ในห้องนํา้
ขนาดตา่ งๆ

ลขิ สทิ ธ์ิเป็นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล อนญุ าตใช้เพ่ือการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลที่ซอื ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สทิ ธิ์แบบถกู ต้องตามที่ระบเุ ทา่ นนั ้ ห้ามทํา
สาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั ้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์ การบนั ทกึ

การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอ่ืนใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล

39

วธิ ีตรวจสอบการทาํ คานคอดนิ

การตรวจสอบก่อนเทคาน
ควรเทคอนกรีตหยาบรองพืน้ หรือที่เรียกกนั ว่า (เทลีน) ก่อนวางเหล็กคานและประกอบแบบคาน เพ่ือให้
สามารถรับนํา้ หนกั คอนกรีตได้ การเทคอนกรีตหยาบ(เทลีน) เปรียบเสมือนเป็ นแบบคานด้านลา่ งท่ีจะช่วย
ป้ องกนั ดินและสงิ่ สกปรกติดคอนกรีตและยงั ช่วยป้ องกนั การสญู เสียนํา้ จากเนือ้ คอนกรีตได้อีกด้วย
ตรวจสอบระยะห่างระหว่างเหลก็ กบั แบบคาน
ควรมีระยะห่าง 2.5 cm วิธีการโดยใช้ลกู ปนู หนนุ ด้านลา่ งและด้านข้างทงั้ สองด้านของเหลก็ คาน ให้ผกู ติด
กบั เหลก็ คาน (ลูกปูน คือ คอนกรีตที่หลอ่ ขนึ ้ มาขนาดความหนา 2.5 cm เส้นผ่าศนู ย์กลางประมาณ 2 นิว้
สว่ นใหญ่ช่างจะหลอ่ เป็ นรูปวงกลมจะมีลวดผกู เหลก็ อย่ตู รงกลางโผลอ่ อกมาสําหรับใช้ผกู ติดกบั เหลก็ คาน
หรือเสาเพ่ือให้เหลก็ กบั แบบมีระยะหา่ งที่เทา่ กนั ก่อนเทคอนกรีต)
การตรวจสอบหลังเทคอนกรีต
หลงั จากเทคานคอดินเรียบร้ อยแล้ว ควรตรวจดูว่ามีร่องรอยแตกร้ าวเสียหายหรือไม่ และควรปล่อยให้
คอนกรีตเซ็ตตวั ประมาณ 7 วนั และตรวจสอบความแข็งแรงอยา่ งละเอียดอีกครัง้ ก่อนเร่ิมทําโครงสร้างอ่ืน
ๆ ตอ่ ไป

ลขิ สทิ ธิ์เป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล อนญุ าตใช้เพ่ือการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลท่ซี ือ้ กบั ทางเจ้าของลิขสทิ ธิ์แบบถกู ต้องตามท่รี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

42

2.พนื้ คอนกรีตสาํ เร็จรูป

หรือเรียกพืน้ แบบสําเร็จรูปก็ได้ ด้วยการนําเอาแผ่นพืน้ คอนกรีตสําเร็จรูปมาวางบนคานผูกเหล็กเสริม
ด้านบนแล้วทําการเทคอนกรีตหรือท่ีชา่ งเรียกวา่ "ทอ็ ปปิ ง้ " เทท๊อปปิ ง้ หนา 5 เซนติเมตร
โดยมีกระบวนการการผลิต เป็ นการหล่อคอนกรีตมาเป็ นแผ่นๆ และเม่ือมาถึงหน้างานก็สามารถใช้งานได้
เลย โดยติดตงั้ โดยการวางบนคาน แล้วเทคอนกรีตทบั หน้า เรียกวา่ ระบบพืน้ สาํ เร็จรูป

ลขิ สทิ ธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล อนญุ าตใช้เพื่อการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลที่ซอื ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สทิ ธ์ิแบบถกู ต้องตามที่ระบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล

53

10. ตะเฆ่สัน จะอยบู่ ริเวณครอบมมุ หลงั คา ที่ความลาดเอียง 2 ด้านมาบรรจบกนั โดยหนั หน้าออกจากกนั
โดยมีครอบกระเบือ้ งและวสั ดมุ งุ อีกที

11. ตะเฆ่ราง เป็นสว่ นที่ความลาดเอียงของหลงั คาสองด้านมาชนกนั เป็ นราง ซงึ่ บริเวณสว่ นนีจ้ ําเป็นจะต้อง
มีรางนํา้ เพ่ือระบายนํา้ ออกจากหลงั คา

วธิ ีทาํ โครงหลังคาบ้าน โดยการใช้เหลก็ ตวั ซหี รือเหลก็ กล่อง **ดตู ามรูปประกอบนะครับ

ลขิ สิทธิ์เป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลท่ซี อื ้ กบั ทางเจ้าของลิขสิทธิ์แบบถกู ต้องตามที่ระบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

56

ประเภทท่ี 2 โครงหลังคาสาํ เร็จรูป

จุดเด่น

1. เหลก็ กําลงั ดงึ สงู เคลือบกลั วาไนซ์ คณุ ภาพเหลก็
สม่ําเสมอทวั่ ทงั้ เส้น

2. ปลอดสนิมตลอดอายกุ ารใช้งานโดยไม่ต้องทาสกี นั สนิม
3. .คํานวณจํานวนวสั ดทุ ี่ใช้อยา่ งแม่นยํา ไมม่ ีเศษเหลอื ทิง้
4.ออกแบบด้วยโปรแกรมวศิ วกรรมชนั้ สงู สําหรับงานออกแบบหลงั คาโดยเฉพาะ
5.ประกอบและติดตงั้ ตามแบบท่ีหน้างาน ประหยดั เวลา ลดขนั้ ตอนการทํางานให้น้อยลงกวา่ เดมิ
6.สะดวกเรื่องการดแู ลหลงั การตดิ ตงั้ รับประกนั โครงสร้างหลงั คา 5-10 ปี

ส่วนค่าใช้จ่ายใกล้เคียงกับโครงหลังคาเหล็ก

ถ้าบ้านเราทาํ หลังคาทรงปั้นหยา ผมแนะนําให้ลองใช้โครงหลังคาสาํ เร็จรูปดูนะครับ

สว่ นโครงหลงั คาเหลก็ ท่ีผมเหน็ ยงั มีจดุ ด้อยอีกหลายอยา่ งท่ีควบคมุ ได้ยาก คือ

1. เหลก็ กล้าธรรมดา ไม่กนั สนิม
2. ต้องทาสกี นั สนิมทกุ ครัง้ กอ่ นการตดิ ตงั้ และระหวา่ งตดิ ตงั้
3. การใช้เหลก็ คํานวณแบบคร่าวๆต้องสงั่ เหลก็ มาเผื่อเหลือเผ่ือขาด มีเหลก็ กองเก็บและเศษตดั ทงิ ้ มาก
(กรณีท่ีเราจ้างเฉพาะคา่ แรงอาจมีเศษท่ีเหลอื จากการตดั ใช้จริงมาก ทําให้กลายเป็นต้นทนุ ที่สงู ขนึ ้
4.ติดตงั้ โดยการตดั เหลก็ ให้ได้ขนาดที่หน้างาน ทาสกี นั สนิมที่หน้างาน เสยี เวลาไปกบั ขนั้ ตอนการทํางานท่ี
ยงุ่ ยาก
5.การเชื่อม ตรวจสอบคณุ ภาพได้ยาก และเป็นจดุ ออ่ นที่สดุ ของการเกิดสนิม

ลขิ สทิ ธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซี่ ือ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สิทธ์ิแบบถกู ต้องตามท่รี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล

57

วธิ ีตรวจงานหลังคาก่อนปิ ดฝ้ า

1.สําหรับงานโครงหลังคาเหล็ก ต้องเช่ือมให้เต็มยาวทุกจุดท่ีมีรอยต่อ ทุกรอยต่อท่ีมีการเช่ือมต้องทาสี
ป้ องกนั สนิมทกุ จดุ ถ้าใช้เหลก็ ดําต้องทาสเี หลก็ ทงั้ หมดให้ทว่ั ถงึ
2.หลงั จากมงุ หลงั คาเสร็จแล้วตรวจสอบกระเบือ้ งหลงั คาอีกครัง้ วา่ กระเบือ้ งมีสภาพสมบรู ณ์ปกติหรือไม่ ให้
ตรวจสอบว่ากระเบือ้ งหลงั คาทุกแผ่นมีรอยแตกรอยร้าวหรือไม่ ถ้าตรวจพบจะได้แก้ไขได้ทนั ก่อนปิ ดฝ้ า ซึ่ง
วิธีการตรวจรอยรั่วของกระเบือ้ งหลงั คาก่อนปิ ดฝ้ าจะมองเหน็ ได้ง่ายกว่าให้ช่างเดินตรวจบนหลงั คากรณีที่มีน
ฝนรั่ว
3. ตรวจสอบใต้แผ่นเหลก็ รองหวั เสา (แผ่น Plate) จะต้องเทคอนกรีตหลอ่ ให้เตม็ จนถงึ เหลก็ แผ่น Plate

ลิขสทิ ธิ์เป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลที่ซอื ้ กบั ทางเจ้าของลิขสทิ ธ์ิแบบถกู ต้องตามทรี่ ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล

ขัน้ ตอนการก่ออิฐมวลเบา 60

1. ตีนแนวก่อผนงั และแนวด่ิง ขัน้ ตอนการก่ออฐิ บล็อก

2. ก็บล็อกแถวแรกบนปูนทรายปรับระดับ 1. กําหนดแนวกอ่ ทงั้ แนวด่งิ และแนวราบ
(สว่ นผสม ปนู ก่อตอ่ ทราย 1:3.5-4) 2.ใช้เหลก็ เส้นขนาด RB 6 มม. เสียบเข้าไปในเสาลกึ
10 ซม โดยใช้สว่านเจาะนําและยึดด้วยกาวซีเมนต์
3.ก่อบล็อกแถวท่ี 2 ขึน้ ไปใช้ปูนก่อบล็อก และปลอ่ ยยื่นออกมา 25 ซม. ทกุ ระยะ 40 เซนติเมตร
มวลเบาสาํ เร็จรูปความหนาปนู กอ่ 2-3 มม. เพื่ อ เ พ่ิม กา ร ยึดเกาะร ะหว่างผนัง กับเสาคอนกรี ต
เสริมเหลก็
4.ก่อบลอ็ คแถวเลขคี่ตงั้ แต่แถวที่ 3 ขึน้ ไป ใช้ 3 . ขึ ง เ อ็ น เ พื่ อ กํ า ห น ด แ น ว แ ล ะ ร ะ ดั บ ใ น ก า ร ก่ อ
เหล็กรูปตวั แอล(metal strap)ยึดบล็อกกบั คอนกรีตบลอ็ กทีละชนั้
เสา 4.เม่ือก่อบล็อกสูงประมาณ 1.3 เมตรทิง้ ไว้ ให้
คอนกรีตแข็งตัวแล้วทําการหลอดทับหลัง คสล.
5.ก่อบล็อกแถวบนสดุ ให้เว้นช่องว่างใต้ท้อง (คอนกรีต 1:2:4 ใช้เหล็กขนาด RB 6 มม. 2 เส้น
คาน 1-2 เซนตเิ มตร เหล็กปลอกลกู โซ่ RB 6 มม. ทกุ 20 เซนติเมตร)
กว้าง 10 เซนติเมตร หนาเท่ากับความหนาของอิฐ
6.ช่องว่างใต้ท้องคาน 1-2 cm ท่ีเว้นไว้ให้อดุ บลอ็ ก แล้วปลอ่ ยทงิ ้ 1 วนั แล้วจงึ เร่ิมกอ่ ในขนั้ ตอ่ ไป
ด้วยปนู ทรายหรือปนู ก่อตลอดแนว 5.ก่อคอนกรีตบลอ็ กบนทบั หลงั ควรตงั้ นง่ั ร้านเพื่อให้
ทํางานได้สะดวก
6การก่อคอนกรีตบล็อกก่อนถึงคาน ควรเว้นระยะไว้
ประมาณ 10 เซนติเมตร ทิง้ ให้ปนู ก่อแห้งก่อนก่อปิ ด
ชอ่ งด้วยอิฐมอญ
7. กอ่ ปิ ดสว่ นที่เว้นไว้ด้วยอิฐมอญ

ลิขสิทธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลที่ซือ้ กบั ทางเจ้าของลิขสทิ ธิ์แบบถกู ต้องตามทร่ี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

61

วธิ ีตรวจสอบงานก่อผนัง

1.ตรวจสอบสว่ นผสมของปนู กอ่ และชนิดของซีเมนต์ที่นํามาก่อ
2.ตรวจสอบ แนวกําแพงผนงั ท่ีก่อ ระดบั ความสงู ด่งิ ฉากและรอยตอ่ ให้เป็นไปตามแบบ
3. ระหว่างการก่อให้ตรวจสอบระดบั ทกุ ๆ 5 ชนั้ โดยใช้ระดบั นํา้ ความสงู ในการก่อไม่ควรเกิน 1.2 เมตร เพ่ือ
ป้ องกนั ไม่ให้ผนงั อิฐที่กอ่ ไว้ล้ม โดยทงิ ้ ไว้ให้ปนู แข็งตวั กอ่ นจงึ กอ่ ตอ่ ไป
4. ปลายอิฐท่ีก่อชนเสาหรือเสาเอ็นจะต้องเสียบเหล็กขนาด 6 มม. และใช้ epoxy ทุกระยะไม่เกิน 40
เซนตเิ มตรเพ่ือความแขง็ แรงของผนงั กอ่ และต้องรดนํา้ ท่ีเสาและพืน้ ให้เปี ยกก่อนก่อ
5. ตรวจสอบเสาเอน็ คานทบั หลงั ควรหลอ่ เป็นกรอบทกุ ๆ 9 ตารางเมตร (3ม.*3ม.=9 ตรม)
6.ตรวจสอบรอบวงกบประตหู น้าตา่ ง ต้องมีเสาเอน็ หลอ่ ล้อมรอบทกุ บาน
7.ในกรณีพืน้ ท่ีกว้างมากๆต้องมีเอน็ แนวนอนทกุ ๆ 2 เมตรและแนวด่งิ ทกุ ๆ 3 เมตร
8. ตรวจสอบกรณีก่ออิฐมอญชนท้องคานคอนกรีต ควรกอ่ แล้วเว้นระยะไว้ประมาณ 10 ชวั่ โมงแล้วทิง้ ให้ปนู
ก่อแข็งและหดตวั แน่นก่อน แล้วจึงก่อปิ ดส่วนนี ้ กรณีก่อไม่ชนท้องคานคอนกรีต ให้ทําคานทบั หลงั บนอีก
แนวหนงึ่

ลิขสิทธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลที่ซอื ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สิทธิ์แบบถกู ต้องตามทีร่ ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอ่ืนใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

64

6.ตรวจสอบวา่ กอ่ นฉาบปนู ต้องรดนํา้ ให้ชมุ่ ตลอดแผงที่ฉาบเพ่ือป้ องกนั ผนงั ดดู นํา้ ปนู จากปนู ฉาบ
7. ตรวจสอบปนู ฉาบเม่ือผสมเสร็จนานกว่าที่กําหนดคือมากกว่า 2 ชว่ั โมง ไม่ควรนํามาฉาบ (ปนู หมดอาย)ุ
เพื่อป้ องกนั การหลดุ ร่อนของปนู ฉาบ
8. อตั ราสว่ นปนู ฉาบ ปนู :ทรายละเอียด 1:2.5-3

วธิ ีตรวจสอบหลังฉาบปูน

1. ตรวจสอบการบ่มปูนฉาบให้มีความชืน้ ตลอดเวลา 72 ชวั่ โมงโดยใช้นํา้ พ่นเป็ นละอองเพ่ือป้ องกนั การ
แตกร้าวที่ผิวปนู ฉาบ
2.ตรวจสอบแนวด่ิง แนวฉากของผนังโดยใช้เหล็กกล่องหรืออลมู ิเนียมที่มีผิวเรียบเป็ นเส้นตรง ความยาว
ใกล้เคียงกบั ความกว้างของผนงั ใช้ทาบกบั ผนงั เพื่อดวู า่ ผนงั ที่ฉาบเสร็จได้ดง่ิ ได้ฉากหรือไม่
3.ตรวจสอบแนวด่ิงแนวฉากของวงกบประตหู น้าตา่ ง
4. ตรวจสอบความสะอาดของพืน้ หลงั การฉาบหากมีเศษขีป้ นู จํานวนมากควรให้ชา่ งเก็บทําความสะอาดเพ่ือ
ความเรียบร้ อยและสวยงามของไซส์งาน

ลิขสิทธิ์เป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพื่อการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซ่ี ือ้ กบั ทางเจ้าของลิขสิทธ์ิแบบถกู ต้องตามท่รี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล

67

วธิ ีการตรวจสอบงานฝ้ าก่อนและหลังตดิ ตงั้

วธิ ีตรวจงานก่อนปิ ดฝ้ า
1ตรวจรอยเชื่อมเหลก็ หลงั คาทกุ จดุ ต้องทาสปี ้ องกนั สนิม
2. ตรวจสอบกระเบือ้ งหลงั คาอีกครัง้ วา่ มีรอยร่ัวหรือไม่ ซง่ึ จะสงั เกตได้ง่ายจากการมองจากด้านลา่ งขนึ ้ บน
หลงั คา
3.ตรวจสอบใต้แผ่นเหลก็ รองหวั เสา (แผ่นเพลท)จะต้องเทคอนกรีตหลอ่ ให้เตม็ จนถงึ เหลก็ เพลท
4. ตรวจสอบวสั ดแุ ผ่นฝ้ าที่ใช้วา่ ตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์การใช้งานหรือไม่ เช่นแผ่นฝ้ าทนชืน้ ใช้ตดิ ในห้องนํา้ โรงจอด
รถห้องครัวหรือฝ้ าภายนอกควรใช้ฝ้ าทนชืน้ สาํ หรับฝ้ าภายในบ้านเชน่ ห้องรับแขกห้องนอนควรใช้ฝ้ าชนิดกนั
ความร้อน เป็นต้น

การตรวจสอบหลังการตดิ ตงั้ ฝ้ าเพดาน
ให้ดคู วามเรียบร้อยของงานฉาบฝ้ าวา่ มีรอยแตกร้าวบริเวณรอยตอ่ ของแผน่ ฝ้ า หรือไม่

ลิขสทิ ธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลท่ีซือ้ กบั ทางเจ้าของลิขสทิ ธ์ิแบบถกู ต้องตามทีร่ ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอ่ืนใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล

72

5. ตรวจการตดิ ตงั้ อา่ งล้างมือ เร่ิมจากการตรวจสอบระบบระบายนํา้ โดยใช้จกุ ปิ ดรองนํา้ ไว้จนถงึ รูนํา้ ล้น และ
เปิ ดจุกรองนํา้ เพื่อดอู ตั ราการระบายนํา้ ว่าปกติ และให้ก้มดูใต้อ่างล้างมือว่าไม่มีนํา้ หยดหลงั การใช้งาน ท่อ
ต่างๆ ขันได้แน่น ด้านบนเคาน์เตอร์มีการยาแนวรอบๆ ขอบอ่างได้เรียบร้ อย ไม่มีรูให้นํา้ ไหลลงไปใต้
เคาน์เตอร์ได้ และติดตงั้ อ่างล้างมือได้แน่นหนา ตวั ก็อกนํา้ ก็เปิ ดนํา้ ไหลสะดวก และติดตงั้ ได้แน่นไม่สามารถ
หมนุ ไปมาได้โดยง่าย
6. ตรวจการติดตงั้ ก็อกนํา้ ในจดุ ต่างๆ ได้แก่ ก็อกนํา้ ล้างเท้า สายฉีดชําระ ก็อกอ่างล้างมือ ก็อกอ่างอาบนํา้
ก็อกนํา้ ร้อนนํา้ เย็น เพ่ือตรวจการไหลของนํา้ ว่าไหลได้สะดวก นํา้ ออกสม่ําเสมอ ไม่ติดขดั และเม่ือปิ ดก็อก
ต้องปิ ดนํา้ ได้สนิทไม่มีนํา้ หยด หากมีวาล์วก็ให้เช็คว่าทํางานเปิ ดและปิ ดได้สนิท และให้เช็คดูการติดตงั้ ว่า
ความสงู ถกู ระยะการใช้งาน ตวั กอ็ กหรือตวั ยดึ ต้องไมเ่ อียง
7. ตรวจการติดตงั้ อปุ กรณ์ในห้องนํา้ อ่ืนๆ ได้แก่ ที่วางกระดาษทิชชู่ ที่เสียบสายฉีดชําระ ราวตากผ้า กระจก
ห้องนํา้ และอ่ืนๆ โดยให้ลองขยบั ดวู ่ามีการยดึ ติดกบั ผนงั หรือเคาน์เตอร์ห้องนํา้ อย่างมน่ั คง ไม่โยกเยก และมี
ความสงู ในการใช้การที่เหมาะกบั การใช้งานจริง ถ้ามีต้อู าบนํา้ ให้ลองตรวจท่ีการเปิ ดปิ ดประตวู ่าไม่ติดขดั การ
วางบานประตแู ละผนงั ต้กู ระจกต้องได้ฉากไมเ่ อียง ลองฉีดนํา้ ดวู า่ นํา้ ไมไ่ หลออกไปยงั พืน้ ท่ีแห้งได้
8. ตรวจการติดตัง้ ตะแกรงระบายนํา้ ทิง้ ว่าถูกต้องตามตําแหน่ง มีการตัดกระเบือ้ งพืน้ ท่ีสวยงาม และให้
ทดสอบการระบายนํา้ ของพืน้ ห้องนํา้ วา่ ห้องนํา้ สามารถระบายนํา้ ได้ดี โดยให้ลองขงั นํา้ ไว้ด้วยจกุ ปิ ดหรือใช้ผ้า
มาอดุ แล้วค่อยทดลองระบายนํา้ ทิง้ และเมื่อนํา้ ไหลหมดให้ดวู ่ามีนํา้ ขงั ตามพืน้ หรือไม่ ถ้ามีนํา้ ขงั แสดงว่าทํา
ระดบั พืน้ ลาดเอียงไมม่ ากพอ
9. หลงั จากทดสอบทกุ อย่างเรียบร้อยแล้วให้ช่างทําความสะอาดสขุ ภณั ฑ์และห้องนํา้ ก่อนเซ็นตรวจรับงาน
ห้องนํา้ ก็เป็นอนั เสร็จเรียบร้อยครับ

ลขิ สทิ ธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพื่อการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลที่ซอื ้ กบั ทางเจ้าของลิขสิทธ์ิแบบถกู ต้องตามที่ระบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอ่ืนใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล

76

การตอ่ สายไฟฟ้ าบนฝ้ าเพดาน จําเป็ นต้องใส่ wire nut และจดุ ต่อสายไฟฟ้ าควรอย่ใู น junction box เทา่ นนั้
(ไมค่ วรตอ่ สายไฟฟ้ าในทอ่ ร้อยสายไฟหรือตําแหนง่ อ่ืนๆ
กรณี การเดินสายไฟฟ้ าภายในอาคารด้วยวิธีร้อยสายฟ้ าในทอ่ ฝังในผนงั และเดินทอ่ ไว้บนฝ้ าเพดาน ทอ่ พีวีซี
ท่ีนํามาใช้งานควรเป็นท่อสําหรับงานระบบไฟฟ้ าเทา่ นนั้ (ทอ่ สเี หลือง)
การเดินท่อพีวีซีเพ่ือร้ อยสายรับสัญญาณโทรศัพท์และโทรทัศน์ ไม่ควรร้ อยสายรับสัญญาณไว้ในท่อ
สายไฟฟ้ า (ควรแยกทอ่ ) เพราะอาจเกิดสญั ญาณรบกวนในการรับชมหรือรับฟัง และการวางท่อควรระยะหา่ ง
กนั อยา่ งน้อย 3.5 เซนตเิ มตร
สวิสซ์-ปลกั๊ ชนิดฝังเรียบกบั ผนังก่ออิฐฉาบปูน ควรมีการฝังบล็อคหรือกล่องรับไว้ก่อน เพ่ือจะใช้ยึดกันใน
ภายหลงั หรือกรณีมีจุดพกั สายไฟฟ้ าใต้ฝ้ าเพดาน บล็อคหรือกล่องรับที่จะนํามาใช้นนั้ ควรเป็ นชนิดบล็อค
เหลก็ เพราะมีอายใุ ช้งานยาวนานกวา่ บลอ็ คพีวีซีหรือไม้
ระยะความสูงของสวิสซ์แสงสว่าง จากพืน้ -ตําแหน่งท่ีติดตัง้ 1.20 เมตร และความสูงของปลก๊ั ไฟฟ้ าที่ 40
เซน็ ติเมตร เป็นระยะที่สะดวกตอ่ การใช้งานโดยทว่ั ไปมากท่ีสดุ

ลขิ สทิ ธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลท่ซี อื ้ กบั ทางเจ้าของลิขสิทธิ์แบบถกู ต้องตามทีร่ ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอ่ืนใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล

79

วธิ ีตรวจสอบงานก่อนและหลังทาสี

1.ตรวจสอบเสปคสีท่ีนํามาใช้วา่ ตรงกบั ที่เราต้องการไหม

2. ให้ตรวจความสะอาดของผนงั ก่อนทาสีโดยเฉพาะผนงั ภายนอกที่อย่ใู กล้กบั พืน้ ดินมักจะเปื ้อนเน่ืองจาก
ตอนฝนตกดินจะกระเด็นไปติดตามผนงั รอบบ้าน หากทาสีทบั ลงไปบนคราบสกปรกโดยไม่ทําความสะอาด
กอ่ นจะทําให้สไี มย่ ดึ เกาะผิว ทําให้สลี อกและทําให้เสียคา่ ใช้จ่ายจากการซอ่ มแซมตามมาภายหลงั

3.ตรวจสอบความเรียบร้อยของผิววงกบประตหู น้าต่างที่เป็ นไม้ โดยเฉพาะ ร่องรอยที่เกิดจากช่างตอกตะปู
ยดึ วงกบ ตอนติดตงั้ วงกบต้องซอ่ มแซมให้เรียบร้อยกอ่ นทาสี

4. ตรวจสอบการทาสีขอบประตดู ้านลา่ งด้านบนให้เรียบร้อยเพราะชา่ งมกั จะลืมทาสใี นสว่ นนี ้

หมายเหตุ
ควรทาสีฝ้ าให้เสร็จและทาสีรองพืน้ ภายในให้เสร็จ ก่อนปกู ระเบือ้ งพืน้ บ้าน จะทําให้กระเบือ้ งไม่เปื อ้ นหยดสี
จากการทาสขี องช่าง

*ราคารับเหมาทาสี (เฉพาะค่าแรง)
สาํ หรับบ้านพืน้ ท่ไี ม่เกนิ 100 ตรม ราคากลางจะอยู่ท่หี ลังละ 18,000-20,000 บาท

ลขิ สิทธิ์เป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล อนญุ าตใช้เพ่ือการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทีซ่ อื ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สิทธ์ิแบบถกู ต้องตามท่รี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ขี ้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล

82

ส่งิ สาํ คัญท่คี วรรู้ก่อนทาํ การตดิ ตัง้

1. ต้องตรวจสอบหน้างานวา่ เหมาะสมกบั การติดตงั้ รัว้ สําเร็จแบบไหน : เพื่อให้เกิดความแข็งแรง เพราะหน้า
งานที่แตกตา่ งกนั ก็อาจจะเหมาะสมกบั วธิ ีการตดิ ตงั้ ท่ีตา่ งกนั ตามไปด้วย เช่น บางหน้างานสามารถติดตงั้ ได้
เลย แตบ่ างหน้างานอยใู่ กล้กบั คลองนํา้ ก็อาจจะต้องติดตงั้ กําแพงกนั ดินกอ่ นที่จะสร้างรัว้ สําเร็จ
2. ขนั้ ตํ่าในการก่อสร้างจําเป็ นจะต้องทําตอม่อ คาน หรือฝั่งเสาเข็ม : เพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กบั โครงสร้าง
ของรัว้ ไมใ่ ห้ตวั รัว้ สาํ เร็จต้องล้มลงมาจากแรงการสน่ั สะเทือน หรือจากแรงลม
3. ติดตงั้ เสาให้หา่ งกนั ให้พอดีกบั ความยาวของแผน่ เสยี บ : หลงั จากตรวจสอบสภาพหน้างาน อีกสงิ่ ที่สําคญั
คือในส่วนของการติดตงั้ เสารัว้ สําเร็จ โดยช่างผู้รับเหมาจําเป็ นจะต้องติดตงั้ เสาให้ห่างกนั ให้พอดีกบั ความ
ยาวของแผ่นเสียบ ให้สามารถเสียบลงไปได้ตลอดตามความยาวของรัว้ เพราะ ถ้าผ้รู ับเหมาติดตงั้ เสาห่างกนั
ในระยะที่ไม่ถกู ต้อง แล้วเกิดเทคอนกรีตไปเรียบร้อยแล้ว แผน่ เสียบจะไมส่ ามารถเสียบลงไปตามลอ็ กของมนั
ได้ และจะยิ่งเกิดความยงุ่ ยากในการมาแก้ระยะเสาในภายหลงั

ลขิ สิทธิ์เป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล อนญุ าตใช้เพื่อการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซี่ ือ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สทิ ธ์ิแบบถกู ต้องตามทร่ี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล

85

ราคาค่าจ้างทาํ รัว้

รัว้ อฐิ บลอ็ ก ความสูง 1.6 เมตร
คา่ จ้างทงั้ ของทงั้ แรงเมตรละ 2,000 บาท ถงึ 2,500 บาท
หากจ้างเฉพาะคา่ แรง ราคาเมตรละ 700-1,200 บาท
รัว้ แผ่นสาํ เร็จรูป
ราคาทงั้ ของทงั้ แรงเมตรละ 2,000 บาท
จ้างเฉพาะคา่ แรงราคาเมตรละ 500 ถงึ 1,000 บาท
ราคารัว้ สาํ เร็จรูป
(ราคาขนึ ้ อยกู่ บั หน้างาน กรุณาติดตอ่ ชา่ งเพ่ือประเมินราคาอีกครัง้ )
1. รัว้ คอนกรีตสําเร็จรูป โชว์ผิว 2 ด้าน สงู 2.00 ม. ราคา 2,300/ม.
2. ราคารัว้ สาํ เร็จรูป สงู 2.00 ม. ช่วงลา่ งแผ่น คสล. สงู 1.00 ม. โชว์ผิว 2 ด้าน ช่วงบนปลอ่ ยโลง่ สําหรับติดตงั้
รัว้ โปร่ง ราคา 2,000/ม.
3. รัว้ กนั นํา้ ทว่ ม รัว้ คอนกรีตสาํ เร็จรูป โชว์ผิว 2 ด้าน สงู 2.00 ม.ผนงั ใต้ดินลกึ 0.35 ม. ราคา 3,000/ม.
ราคาด้านบนนีเ้ ป็ นราคาท่ผี มจ้างจริงในพนื้ ท่ี

ลิขสทิ ธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล อนญุ าตใช้เพื่อการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซ่ี อื ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สิทธิ์แบบถกู ต้องตามที่ระบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

92

การตรวจสอบหลังตดิ ประตรู ัว้ หน้าบ้าน

1 ตรวจเช็คระดบั ของเหล็กรางให้ได้ระดบั ที่เสมอกนั ตลอดแนว เพราะถ้าหากวางระดบั เอียงขึน้ หรือเอียงลง
ยิ่งมากเทา่ ไหร่ก็ทําให้ประตเู ลือ่ นปิ ดยาก ฝื ด หรือเลอื่ นไวเกินไป

2. ลองเล่ือนประตรู ัว้ ดู แล้วสงั เกตว่าแข็งแรงมยั้ , เลื่อนแล้วมีโอกาสหลดุ รางมยั้ , เล่ือนแล้วประตมู ีโอกาสล้ม
ลงมาหรือไม,่ ลองเลอื่ นเบาๆหรือแรงๆดู เลอ่ื นแล้วรู้สกึ อยา่ งไรก็คอมเมนท์ชา่ งฯให้เขาแก้ไขตามที่เราต้องการ

3. ตรวจสอบตวั หยุดประตลู ้อเลื่อน จะมีอยู่ 2 จุด จะติดไว้ที่ด้านหน้าและด้านหลงั ของรางเลื่อน จะต้องมี
ติดตงั้ ไว้ทงั้ 2 จดุ

4. ตรวจสอบความเรียบร้อยของงานสีวา่ ได้ทาตามซอกมมุ ของรัว้ ทว่ั ถงึ ทกุ จดุ ไหมโดยเฉพาะตรงรอยเชื่อมตอ่
ของเหลก็ ถ้าไม่ได้ทาสตี รงจดุ นีจ้ ะทําให้เป็นคราบสนิมไหลออกมาเปื อ้ นรัว้ ทําให้ดไู มส่ วยงาม

สรุปกค็ ือ

1. ตวั เพลา+ล้อ+บ้ทู ประคอง ใช้สแตนเลสทงั้ หมด
2. เทคนิคในการติดตงั้ พดู งา่ ยๆช่างฯต้องเป็น(ต้องเกง่ และชํานาญในการทําประตเู ลอ่ื น)
3.การดแู ลรักษา ในล้อสแตนเลสก็จะมีลกู ปื นอย่ภู ายในซง่ึ เป็ นตวั ช่วยทําให้ล้อหมนุ เล่ือนไปได้ ดงั นนั้ หากใช้
ไปนานๆก็ต้องหยอดนํา้ มนั ท่ีลกู ปื นล้อบ้าง (ตวั ลกู ปื นในล้อเม่ือใช้ไปนานๆก็มีการสกึ หรอนะครับ เพราะมีการ
เสยี ดสีอยตู่ ลอดเมื่อเราเล่อื นประตู ดงั นนั้ เม่ือลกู ปื นล้อเกิดสกึ หรอหรือแตกก็ต้องเปลี่ยนล้อใหม่)

ลขิ สทิ ธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพื่อการอา่ นและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลท่ซี ือ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สทิ ธิ์แบบถกู ต้องตามทร่ี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทําสาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

93

บทท่ี 24 ข้ันตอนการสง่ มอบงานก่อสร้าง

แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะคือ

1.การส่งมอบงานงวดปกติ
เมื่อผู้รับเหมาได้ทํางานเสร็จตามงวดงาน ก็จะทําหนงั สือส่งมอบงาน โดยระบรุ ายละเอียดงานที่ทํา

เสร็จแล้วตามสญั ญาที่ตกลง
เมื่อเจ้าของโครงการได้รับหนงั สือก็จะส่งตวั แทนไปตรวจงานหรือถ้าเป็ นเจ้าของโครงการที่เริ่มทําใหม่ยงั

ไมม่ ีตวั แทนไปตรวจงานกต็ ้องไปตรวจงานด้วยตวั เอง ถ้าเนือ้ งานทําได้ตามงวดงานกอ็ นมุ ตั กิ ารเบกิ จา่ ยได้
คาํ แนะนําเพ่มิ เตมิ
- ก่อนจ่ายเงินงวดงานให้ผู้รับเหมาเคลียร์ความสะอาดของงานก่อนจ่ายเงิน เพื่อความปลอดภัย
ของคนงานและความเป็ นระเบียบเรียบร้อยในโครงการ
- ไม่ควรให้ผู้รับเหมาเบกิ เงนิ เกนิ งวดงานไม่ว่าเหตุผลใดๆทั้งสน้ิ
2. การส่งงานงวดสุดท้ายเพ่อื ปิ ดโครงการ

การส่งงานงวดสุดท้าย จะมีขัน้ ตอนเพิ่มเติมมากกว่าการส่งมอบงานงวดปกติ เนื่องจากจะต้อง
ตรวจสอบความเรียบร้อยในทกุ จดุ พร้อมทงั้ เอกสารส่งมอบงานและทําการเคลียร์พืน้ ท่ีให้เรียบร้อยในส่วน
ของอาคารชว่ั คราว เชน่ ที่พกั คนงาน โรงเกบ็ วสั ดุ สาํ นกั งาน เคลียร์วสั ดอุ อกจากสถานท่ีก่อสร้าง

การตรวจรับงานส่งมอบบ้านจากผู้รับเหมา

แบ่งออกเป็ น 2 ส่วน
1. พนื้ ท่บี ริเวณนอกบ้านให้เคลียร์ความสะอาดและขนย้ายเศษวัสดุ
2. พนื้ ท่ตี ัวอาคาร

ลขิ สิทธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพ่ือการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลที่ซือ้ กบั ทางเจ้าของลขิ สิทธ์ิแบบถกู ต้องตามท่รี ะบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สําเนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สือเลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวิธีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวิศาล

94

ควรตรวจสอบจากหน้าบ้านเข้าไปหลังบ้าน

ดงั นี ้
1. ตรวจสอบการปิ ดเปิ ดกลอนลอ็ คของประตู ให้ใช้งานได้ดี ไมต่ ิดขดั
2 ตรวจสอบกระเบือ้ งพืน้ บ้าน ปกติมักจะมีแผ่นกระเบือ้ งท่ีช่างปูไม่เต็มแผ่นอยู่ช่วงริมผนัง และมักจะพบ
กระเบือ้ งท่ีบนิ่ แตกร้าว
ตรวจสอบพืน้ ผิวกระเบือ้ งจะต้องเรียบเสมอกนั พืน้ ต้องไมแ่ อน่ ตวั หรือนนู ขนึ ้ มาในจดุ ใดจดุ หนง่ึ
เวลาเดินต้องไม่มีการสะดดุ ทงั้ พืน้ ภายในและภายนอกโดยเฉพาะพืน้ ภายในบ้านควรมีผิวพืน้ ท่ีเรียบมากๆเพราะ
เราต้องเดินเท้าเปลา่ ในบ้านทกุ วนั
3.ตรวจสอบยาแนวกระเบือ้ งพืน้ และในห้องนํา้ ว่าสะอาดและเต็มทกุ เส้นไหมโดยเฉพาะ ขอบอา่ งล้างหน้าจะพบ
บอ่ ยท่ียาแนวไมเ่ ตม็ ร่อง
4. ตรวจสอบความเรียบร้อยของฝ้ า มกั จะพบรอยแตกของเทปท่ีใช้ปิ ดรอยต่อของฝ้ าปิ ดไม่สนิทแตกออกมาเป็ น
เส้นแนวยาว
5. ตรวจสอบปลก๊ั ไฟ มกั จะตรวจพบวา่ ไม่แนบสนิทกบั ผนงั และมีช่องโหวร่ ะหวา่ งฝาครอบกบั ผนงั แนวปลก๊ั เอียง
ไมไ่ ด้ระดบั
6. ตรวจสอบความเรียบร้อยของสีและผิวของวงกบและประตู เพราะบางครัง้ ช่างมกั จะลืมอดุ รอยร้าวของประตู
และรูที่เกิดจากรอยตอกตะปู อีกจดุ หนงึ่ คือชา่ งมกั จะลืมทาสีประตดู ้านบนและด้านลา่ งของขอบประตู
7. ตรวจสอบคิว้ บวั ขนึ ้ ข้างผนงั (บวั กนั เปื อ้ น) คิว้ มกั จะไม่ติดแนบสนิทกบั ผนงั และในส่วนของการเข้ามมุ เหล่ียม
มกั จะไมเ่ รียบร้อย
8. ตรวจสอบระบบรอยรั่วและการไหลของนํา้ ในห้องนํา้ ทกุ จดุ โดยเฉพาะสายฉีด ก๊อกนํา้ และฝักบวั มกั จะมีเศษ
ทอ่ PVC เข้าไปอดุ ตนั ต้องทําการล้างซกั 2 รอบ

ลิขสิทธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒพิ ฒั น์ โรจน์วราวศิ าล อนญุ าตใช้เพื่อการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลท่ซี อื ้ กบั ทางเจ้าของลิขสทิ ธ์ิแบบถกู ต้องตามท่ีระบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวธิ ีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล

95

ตรวจสอบบริเวณพืน้ ท่นี อกบ้าน

1 ตรวจสอบรอยร้าวของรัว้ และเหลีย่ มเสาที่แตกบิน
2 ตรวจความเรียบร้อยของประตรู ัว้ และรัว้ บ้าน มกั จะพบว่าในจดุ ท่ีมีรอยเชื่อมยงั ทาสีไม่ทวั่ ถึง บางครัง้ รอย
เช่ือมไม่เรียบร้อยมีรูถ้าปลอ่ ยไว้ทําให้นํา้ เข้าไปในรูทําให้เกิดสนิมในระยะยาวได้
3 ตรวจสอบความสะอาดของวสั ดมุ งุ หลงั คามกั จะพบคราบปนู ตดิ แผน่ กระเบือ้ ง
4.ตรวจสอบประตรู ัว้ ให้ปิ ดเปิ ดได้งา่ ยไมห่ นกั มาก ตรวจสอบกลอนประตแู ละที่ลอ็ คต้องใช้งานได้ดี

ลขิ สิทธ์ิเป็ นของนายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล อนญุ าตใช้เพ่ือการอ่านและศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทซ่ี ือ้ กบั ทางเจ้าของลิขสทิ ธิ์แบบถกู ต้องตามที่ระบเุ ทา่ นนั ้
ห้ามทาํ สาํ เนาหรือสง่ ตอ่ รวมทงั้ การจดั เก็บ ถ่ายทอด สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรือทงั้ หมด ของหนงั สอื เลม่ นี ้ไมว่ า่ รูปแบบวิธีการใดก็ตาม ในกระบวนการอิเลก็ ทรอนิกส์

การบนั ทกึ การถ่ายภาพ หรือวธิ ีการอื่นใด ในทกุ ๆ กรณีไมม่ ีข้อยกเว้น โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก นายพฑั ฒิพฒั น์ โรจน์วราวิศาล

ดงั นัน้ ความรู้ 24 บท ในคู่มือนี้

จะชว่ ยให้เจ้าของโครงการบ้านหรือผ้วู า่ จ้าง
ลดความสญู เสียเงินทองและเวลาในความผิดพลาดระหวา่ งกอ่ สร้าง

*ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมแก้ไขงาน*

ซง่ึ คา่ ใช้จา่ ยในการแก้ไขงานจะสงู กวา่ ต้นทนุ ในการสร้างใหม่
และยงั ชว่ ยให้บ้านมีความมนั่ คงปลอดภยั
กบั เจ้าของบ้าน และผ้อู ยอู่ าศยั อีกด้วย

97

ผลงานผู้เขียน

- เจ้าของ โครงการสริ ิมงคลวลิ เลจ

- เจ้าของ สริ ิมงคลบ้านแห่งความสุขของคนคดิ บวก ท่งุ สง

- เป็นโค้ชสอนทําธรุ กิจสร้างบ้านขาย

- เจ้าของ สร้างบ้านขายจาก0สู่100ล้าน สอนมือใหม่ทาํ ได้จริง

- เป็นผ้สู ร้างคนให้เป็ นเจ้าของโครงการมากกว่า 300 โครงการท่วั ประเทศ

- เป็นวทิ ยากรผ้สู อนคอร์สสัมมนาสด สร้างบ้านขายหลังแรกจาก 0 สู่ 100 ล้าน

โดยโค้ชมงคล ที่มีผ้เู รียนไปแล้วมากกวา่ 500 คน

- เป็นท่ปี รึกษาโครงการหมู่บ้านมากกว่า 100 โครงการ

- เป็นผ้เู ขียนหนงั สอื สร้างบ้านขายด้วยทนุ 0 บาท
เป็นหนงั สือท่ี ขายดี ในร้านหนงั สอื ซีเอด็ บ๊คุ ทว่ั ประเทศ

- เป็นเจ้าของกลุ่ม Facebook ช่ือกลุ่ม

- เป็นผ้สู ร้างหลกั สตู ร
คอร์ สเรียนออนไลน์
ท่ีมีผ้เู รียนมากกวา่ 600 ราย

“ผลงานเขียนหนังสือ
สร้างบ้านขายด้วยทุน 0 บาท

เป็ นหนังสือท่ี ขายดี
ในร้านหนังสือซเี อด็ บุ๊ค

ท่วั ประเทศ”






Click to View FlipBook Version