The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watanya chaipikun, 2023-10-22 10:29:08

บันทึกการเรียนรู้

บันทึกการเรียนรู้

จุดมุ่งหมายของรายวิชวิา คำ อธิบธิายรายวิชา การพัฒนาผลการเรีย รี นรู้ข รู้ องนักศึกษา ขอบเขตเนื้อหา สัสั สัปสั ดาห์ห์ ห์ ที่ ห์ ที่ ที่ที่ ที่ที่1 แนะนำนำนำนำรายวิวิ วิ ช วิ ชา


แนะนำ รายวิชวิา การวิจัวิย จั และพัฒ พั นานวัต วั กรรม เพื่อ พื่ พัฒ พั นาผู้เผู้รีย รี น จุดมุ่ง มุ่ หมายของรายวิชวิา การพัฒพันาผลการเรียรีนรู้ข รู้ องนักนัศึกษา คำ อธิบธิายรายวิชวิา 6. วิธีการจัดการเรียนรู้ 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ


ด้านสมรรถนะ ด้านความรู้ ด้านคุณลักษณะ คุณธรรม จริยริธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ร ธ์ ะหว่า ว่ งบุคคลและความรับ รั ผิดชอบ ทักษะการวิเวิคราะห์เ ห์ ชิงชิตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เ ช้ ทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีก ธี ารจัดการเรีย รี นรู้ จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อพัฒนา สรุป


สัสั สัปสั ดาห์ห์ ห์ ที่ ห์ ที่ ที่ที่ ที่ที่2 แนวคิคิ คิ ด คิ ดเกี่กี่ กี่กี่ กี่ ย กี่ ยวกักั กั บ กั บการเรีรี รี ย รี ยนรู้รู้รู้รู้ ความหมายของการเรีย รี นรู้ พฤติกรรมการเรีย รี นรู้ ด้านพุทธิพิธิ พิสัย พฤติกรรมการเรีย รี นรู้ ด้านจิตพิสัย พฤติกรรมการเรีย รี นรู้ ด้านทักษะพิสัย ขอบเขตเนื้อหา


แนวคิดเกี่ยวกับ การเรียนรู้ ความรู้ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย เกิดจากพลังความสามารถ ทางสมอง โดย Bloom และคณะ ได้จ าแนกออกเป็น 6 ระดับ ความหมายของการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย การเรียนรู้(Learning) หมายถึง “การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ ค่อนข้างถาวรอันเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์” พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย ขั้นรับรู้ ขั้นตอบสนอง ขั้นเห็นคุณค่า หรือสร้างค่านิยม ขั้นจัดระบบค่านิยม ขั้นสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ความรู้สึก ความเชื่อ เจตคติ ค่านิยม ซึ่งเป็นรากฐานที่ก่อเกิด บุคลิกภาพหรือลักษณะนิสัยของบุคคล ดังแสดงเป็นลำ ดับขั้นได้ พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย เป็นความสามารถของ บุคคลในการใช้อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายทำ งานอย่างประสาน สัมพันธ์กัน รับรู้และเลียนแบบ ลงมือปฏิบัติและทำ ตามได้ ลดความผิดพลาดจนสามารถทำ ได้ถูกต้อง ปฏิบัติได้อย่างชัดเจนและต่อเนื่อง ปฏิบัติได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดย Dave มี 5 ขั้น ดังนี้ การรับรู้ การเตรียมความพร้อม การตอบสนองตามแนวชี้แนะ การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง การตอบสนองที่ซับซ้อน การดัดแปลง การริเริ่ม โดย Simpson มี 7 ขั้น ดังนี้


สรุป การเรีย รี นรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติรรมที่อ่อนข้างถาวรอันเนื่องมาจากได้รับ รั ประสบการณ์พฤติกรรมการเรีย รี นรู้แ รู้ บ่งได้เป็น 3 ด้านใหญ่ๆ คือ ด้านพุทธิพิธิ พิสัย เช่น ช่ ความจำ ความเข้าใจ ด้านจิตพิสัย เช่น ช่ ความรู้สึ รู้ สึ ก ความเชื่อ ชื่ ด้านทักษะพิสัย เป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับการ เคลื่อนไหวการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ เช่น ช่ การวาดภาพ การรองเพลง


สัสั สัปสั ดาห์ห์ ห์ ที่ ห์ ที่ ที่ที่ ที่ที่3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ งานวิจัย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ งานวิจัย ความหมายของการวิจัย ความจริงริกับการค้นหา ขั้น ขั้ ตอนทั่ว ทั่ ไปของการวิจัย เป้าหมายของการวิจัย จรรยาบรรณของนักวิจัวิ จั ย การจัดประเภทของการวิจัวิ จั ย ขอบเขตเนื้อหา


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย ความหมายของ การวิจัย การวิจัย (Research) เป็นการค้นหาความจริง ในประเด็น ที่สนใจศึกษา โดยใช้ วิธีการที่เป็นระบบ คำ ตอบหรือ ความจริงที่ค้นพบ มีความถูกต้องเชื่อถือได้ ความจริง “ความจริง” คือ สิ่งที่เชื่อว่าจริง ณ เวลานั้น ๆ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ (1) ความจริงนัยทั่วไป เป็นความจริงที่สามารถ นำ ไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง (2) ความจริงยืดหยุ่นตามบริบท เป็นความจริงที่ ใช้ได้เฉพาะบริบทที่ศึกษา ไม่ยืนยันการนำ ไป ใช้ได้จริงในบริบทอื่น ๆ การค้นหาความจริง วิธี “นิรนัย (Deductive)” วิธี “อุปนัย (Inductive)” วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นตอนทั่วไปของการวิจัย ตระหนักถึงปัญหาที่ต้องการทำ วิจัย กำ หนดขอบเขตของปัญหาให้ชัดเจน ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตั้งสมมุติฐานของการวิจัย (ถ้าจำ เป็น) เขียนโครงร่างการวิจัย สร้างหรือเลือกเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ดำ เนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดำ เนินการจัดกระทำ ข้อมูล หรือวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการวิจัย และเขียนรายงานวิจัย เผยแพร่ผลงานวิจัย (ถ้าต้องการ) เป้าหมายของการวิจัย เป้าหมายเพื่อบรรยายหรือพรรณนา เป้าหมายเพื่ออธิบาย เป้าหมายเพื่อทำ นาย เป้าหมายเพื่อควบคุม จรรยาบรรณของนักวิจัย จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑ์ควรประพฤติ ปฏิบัติของนักวิจัยทั่วไป เพื่อให้ การดำ เนินงานวิจัยตั้งอยู่บนพื้นฐานของจริยธรรมและ หลักวิชาการที่เหมาะสม ตลอดจนประกัน มาตรฐานของการศึกษาค้นคว้าให้เป็นไปอย่างสมศักดิ์ศรี และเกียรติภูมิของนักวิจัย การจัดประเภทของการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยศึกษาย้อนหาสาเหตุ การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ การวิจัยเชิงสำ รวจ แบ่งตามลักษณะของข้อมูลและวิธีการได้มา แบ่งตามความต้องการข้อสรุปเชิงเหตุและผลหรือไม่


สรุป การวิจัวิ จั ย เป็นการค้นหาความจริงริ ในประเด็นที่สนใจศึกษา โดยใช้ วิธีก ธี ารที่เป็นระบบ คำ ตอบ หรือ รื ความจริงริที่ค้นพบ มีความถูกต้องเชื่อ ชื่ ถือได้ ความจริงริ “ความจริงริ” เป้าหมายของการ วิจัวิ จั ย ในการทำ วิจัยเรื่อ รื่ งหนึ่ง ๆ นักวิจัยสามารถกำ หนดเป้าหมายของการวิจัยได้ จรรยาบรรณ ของนักวิจัย จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑ์ควรประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยทั่ว ทั่ ไป เพื่อให้ก ห้ ารดำ เนินงานวิจัวิ จั ยตั้ง ตั้ อยู่บนพื้นฐานของจริยริธรรมและหลักวิชาการที่เหมาะสม การจัด ประเภทของการวิจัวิ จั ย แบ่งตามลักษณะของข้อมูลและวิธีก ธี ารได้มา แบ่งตามความต้องการข้อ สรุปเชิงชิเหตุและผลหรือ รื ไม่


สัสั สัปสั ดาห์ห์ ห์ ที่ ห์ ที่ ที่ที่ ที่ที่4 ข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลและตัตั ตั ว ตั วแปร ความหมายของตัวแปร ประเภทของตัวแปร ความหมายของข้อมูล ประเภทของข้อมูล ขอบเขตเนื้อหา


ความหมายของตัวแปร ตัวแปร (Variable) หมายถึงคุณลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ที่สามารถแปร เปลี่ยนค่าได้ตั้งแต่สองค่าขึ้นไปไม่ว่าจะเป็นค่าที่อยู่ในรูปของปริมาณ หรือคุณภาพ เช่น ตัวแปร “เพศ” แปรค่าได้ 2 ค่า คือ ชาย และหญิง ประเภทของตัวแปร การแบ่งประเภทของตัวแปรสามารถแบ่งได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ดังตัวอย่าง เช่น แบ่งตามลักษณะของข้อมูล ตัวแปรเชิงปริมาณ ตัวแปรเชิงคุณภาพ แบ่งตามประเภทของการวิจัย 1. ตัวแปรต่อเนื่อง 2. ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง 1. ตัวแปรอิสระ 2. ตัวแปรตาม ถ้าเป็นการวิจัยเชิงทดลอง 1. ตัวแปรจัดกระทำ 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรแทรกซ้อน 4. ตัวแปรสอดแทรก 5. ตัวแปรกลาง ถ้าเป็นการวิจัยเชิงทำ นาย 1. ตัวแปรเกณฑ์ 2. ตัวแปรทำ นายหรือตัวแปรพยากรณ์ ความหมายของข้อมูล ข้อมูล คือข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวม มาจากการนับการวัดด้วยแบบทดสอบหรือแบบสอบถามการสังเกต ฯลฯ ซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลข ที่สามารถนำ มาวิเคราะห์ เพื่อหาคำ ตอบในสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ประเภทของข้อมูล การแบ่งประเภทของข้อมูล พิจารณาตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ แบ่งตามลักษณะของข้อมูล แบ่งตามลักษณะข้อมูล แบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูลหรือวิธี การเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งตามระดับของการวัด ข้อมูลเชิงปริมาณ 1. ข้อมูลแบบต่อเนื่อง 2. ข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ข้อมูลเชิงคุณภาพ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ 1. ข้อมูลระดับนามบัญญัติ 2. ข้อมูลระดับเรียงอันดับ 3. ข้อมูลระดับอันตรภาค 4. ข้อมูลระดับอัตราส่วน


สรุป ตัวแปร หมายถึง คุณลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ที่สามารถแปรเปลี่ยนค่าได้ตั้ง ตั้ แต่สองค่าขึ้นไป ไม่ว่า ว่ จะเป็นค่าที่อยู่ในรูปของปริมริาณ หรือ รื คุณภาพ เช่น ช่ ตัวแปร “เพศ” แปรค่าได้ 2 ค่า คือ ชาย และหญิง ข้อมูล คือข้อเท็จจริงริหรือ รื รายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมมาจากการนับการวัดด้วย แบบทดสอบหรือ รื แบบสอบถามการสังเกต ฯลฯ ซึ่ง ซึ่ อาจเป็นตัวเลขหรือ รื ไม่ใช่ตั ช่ ตั วเลข ที่สามารถนำ มาวิเคราะห์เ ห์ พื่อหาคำ ตอบในสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา สามารถนำ มาปรับ รั ใช้ใช้ นการทำ วิจัยได้


สัปสั ดาห์ที่ ห์ ที่5 ขอบเขตเนื้อ นื้ หา ประชากร กลุ่มตัว ตั อย่าง เหตุผลของการเลือกตัว ตั อย่าง การกำ หนดขนาดตัว ตั อย่าง การเลือกกลุ่มตัว ตั อย่างโดยใช้ห ช้ ลัก ลั ความน่าจะเป็น วิธีการเลือกตัว ตั อย่างโดยไม่ใช้ห ช้ ลัก ลั ความน่าจะเป็น


ประชากรและ กลุ่ม ลุ่ ตัว ตั อย่า ย่ ง วิธีวิก ธี ารเลือ ลื กตัวตัอย่างโดย ไม่ใช้หลักลัความน่าจะเป็น การเลือ ลื กกลุ่มลุ่ตัวตัอย่างโดย ใช้หลักลัความน่าจะเป็น กลุ่มลุ่ตัวตัอย่าง เหตุผลของการเลือ ลื กตัวตัอย่าง/ การกำ หนดขนาดตัวตัอย่าง ประชากร กลุ่มตัวตัอย่าง (Sample) หมายถึงถึ ส่วนหนึ่งของประชากรที่ถูกเลือก ขึ้นขึ้มาด้วด้ย เทคนิคการเลือกกลุ่มตัวตัอย่างที่ เหมาะสม สำ หรับรั ใช้ใช้นการศึกศึษา แทนประชากร ในทางสถิติคำ ว่า “ประชากร (Population)” หมายถึงถึทั้งทั้หมดของทุก หน่วยของสิ่งที่เราสนใจศึกศึษา ซึ่งหน่วย ต่าง ๆ อาจเป็น บุคคล องค์ก ค์ ร สัตสัว์ สิ่งของ เป็นวิธีการเลือกตัวตัอย่างที่ผู้วิผู้วิจัยจั ไม่ได้ คำ นึงถึงถึความน่า จะเป็นของประชากรแต่ละหน่วยที่จะ ได้รัด้บรัการเลือก เป็นการเลือกตัวตัอย่างจากหน่วยทุกหน่วย ในประชากรด้วด้ยเทคนิค การสุ่มตัวตัอย่าง ตามขนาดตัวตัอย่างที่ กำ หนดไว้ เพราะโดยปกติมักมั ไม่สามารถเก็บข้อข้มูลจาก ประชากรทั้งทั้หมดได้ซึ่ด้ ซึ่งถ้าถ้กลุ่มตัวตัอย่างเป็น ตัวตัแทนที่ดีของประชากรแล้วล้และเป็นการ ประมาณว่าเรื่องที่ต้อต้งการศึกศึษาควรใช้กช้ลุ่ม ตัวตัอย่างขนาดเท่าใด


สรุป ประชากร หมายถึง ถึ ทั้ง ทั้ หมดของทุกหน่วยของสิ่งที่เราสนใจศึก ศึ ษา ซึ่ง หน่วยต่าง ๆ อาจเป็น บุคคล องค์ก ค์ ร สัต สั ว์ สิ่งของ ฯลฯ เช่นถ้า ถ้ เราต้อ ต้ งการ ศึก ศึ ษาสภาพปัจจุบัน บั ด้า ด้ นความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของนัก นั ศึก ศึ ษา สถาบัน บั ราชภัฏ ภั สกลนคร ประชากรก็คือ “นัก นั ศึก ศึ ษาสถาบัน บั ราชภัฏ ภั สกลนครทุกระดับ ดั ทุกชั้น ชั้ ปี (ปีการศึก ศึ ษาที่ผู้วิ ผู้วิ จัย จั ด าเนินการเก็บรวบรวม ข้อ ข้ มูล)” อย่างไรก็ตาม ผู้วิ ผู้วิ จัย จั อาจกำ หนดขอบเขตของประชากรได้ต ด้ าม ความเหมาะสม กลุ่มตัว ตั อย่าง (Sample) หมายถึง ถึ ส่วนหนึ่งของประชากรที่ถูกเลือกขึ้น ขึ้ มา ด้ว ด้ ยเทคนิคการเลือกกลุ่มตัว ตั อย่างที่เหมาะสม ส าหรับ รั ใช้ใช้ นการศึก ศึ ษา แทนประชากร แล้ว ล้ นำ ผลสรุปที่ได้บ ด้ รรยายหรือสรุปอ้า อ้ งอิงถึง ถึ ลัก ลั ษณะ ประชากรที่ต้อ ต้ งการศึก ศึ ษา ดัง ดั นั้น นั้ กลุ่มตัว ตั อย่าง “ต้อ ต้ งเป็นตัว ตั แทนที่ดีของ ประชากร” จึง จึ จะช่วยให้ก ห้ ารสรุปอ้า อ้ งอิงถึง ถึประชากรมีความถูกต้อ ต้ งและ เชื่อถือได้


สัปสั ดาห์ที่ ห์ ที่6 ขอบเขตเนื้อ นื้ หา การสัง สั เกต การสัม สั ภาษณ์ แบบสอบถาม แบบทดสอบ การประเมินจากการปฏิบัติ บั ติ เครื่องมือที่ เครื่องมือที่ใช้ช้ใช้ช้ นการเก็ก็ ก็ก็ บ รวบรวมข้ข้อ ข้ข้ มูมู มูมู ล


เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวม ข้อมูล การสังเกต 1. ลักษณะของการสังเกต 2. ลักษณะข้อ ข้ มูล มู ที่เหมาะกับการใช้การ สังเกต 3. ประเภทของการสังเกต 4. หลักการสังเกต 5. ลักษณะของผู้สังเกตที่ดี แบบทดสอบ 1. ลักษณะของแบบทดสอบ 2. ประเภทของแบบทดสอบ การสัมภาษณ์ 1. ลักษณะของการสัมภาษณ์ 2. ลักษณะข้อ ข้ มูล มู ที่เหมาะกับการใช้การ สัมภาษณ์ 3. ประเภทของการสัมภาษณ์ 4. หลักของการสัมภาษณ์ แบบสอบถาม 1. ลักษณะของแบบสอบถาม 2. ลักษณะข้อ ข้ มูล มู ที่เหมาะกับการใช้ แบบสอบถาม 3. รูปแบบของแบบสอบถาม การประเมินจากการปฏิบัติ 1. ลักษณะของการประเมิน มิ การปฏิบัติ 2. กระบวนการประเมินการปฏิบัติ 3. เครื่อ รื่ งมือการให้คะแนนการปฏิบัติ


สรุป การเก็บรวบรวมข้อ ข้ มูลเพื่อการวิจัย จั จ าเป็นต้อ ต้ งใช้เ ช้ ครื่องมือที่มีคุณภาพ เพื่อให้ไห้ ด้ข้ ด้ อ ข้ มูลที่ถูกต้อ ต้ งเหมาะสมเชื่อถือได้ ซึ่งในการวิจัย จั เรื่องหนึ่ง ๆ จะ ใช้เ ช้ ครื่องมือชนิดใดย่อมขึ้น ขึ้ อยู่กับ กั ลัก ลั ษณะของข้อ ข้ มูลที่ต้อ ต้ งการศึก ศึ ษา ดัง ดั นั้น นั้ ผู้วิ ผู้วิ จัย จั จึง จึ จ าเป็นต้อ ต้ งศึก ศึ ษาเครื่องมือแต่ละชนิดทั้ง ทั้ ในแง่ลัก ลั ษณะ เครื่องมือ วิธีการสร้า ร้ ง ข้อ ข้ ดีข้อ ข้ เสีย ตลอดจนวิธีการตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือนั้น นั้ ๆ เพื่อจะได้เ ด้ ลือกใช้เ ช้ ครื่องมือที่เหมาะสมกับ กั ข้อ ข้ มูล และ มั่นใจว่าข้อ ข้ มูลที่เก็บรวบรวมได้ด้ ด้ ว ด้ ยเครื่องมือนั้น นั้ มีความถูกต้อ ต้ งเหมาะสม เชื่อถือได้เ ด้ ครื่องมือที่ใช้เ ช้ ก็บรวบรวมข้อ ข้ มูลส าหรับ รั การวิจัย จั ทางหลัก ลั สูตร และการสอนการวิจัย จั ทางการศึก ศึ ษาทั่วไป พฤติกรรมศาสตร์ และ สัง สั คมศาสตร์ มีอยู่หลายชนิด แต่ในตำ ราเล่มนี้ จะขอกล่าวเฉพาะที่นิยม ใช้กั ช้ น กั ทั่วไป ได้แ ด้ ก่ การสัง สั เกต การสัม สั ภาษณ์แ ณ์ บบสอบถาม แบบทดสอบ และการประเมินจากการปฏิบัติ บั ติ งาน


สัปสั ดาห์ที่ ห์ ที่7 ขอบเขตเนื้อ นื้ หา ความเป็นปรนัย นั ความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่น ความยาก อำ นาจจำ แนก วิธีตรวจสอบคุณภาพเครื่ วิธีตรวจสอบคุณภาพเครื่ รื่ อง รื่ อง มือวิจัย จั และสถิติที่ มือวิจัย จั และสถิติที่ใช้ ที่ ใช้


วิธีตรวจสอบคุณภาพเครื่อง มือวิจัยและสถิติที่ใช้ ความเชื่อมั่น ความยาก อำ นาจจำ แนก ความเป็นปรนัย ความเที่ยงตรง เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือวัดผล หรือ เครื่องมือวิจัยรวมทั้งฉบับ ที่สามารถวัด เรื่องราวหรือคุณลักษณะที่ต้องการวัดได้ คงเส้นคงวาวัดกี่ครั้งก็ได้ผลเหมือนเดิม จะใช้เฉพาะกรณีเครื่องมือวิจัยเป็นประเภท แบบทดสอบ (Test) ที่วัดด้านพุทธิพิสัยหรือ สติปัญญา (Cognitive domain) โดยเฉพาะ แบบทดสอบประเภทอิงกลุ่ม (Normreferenced test) นิยมใช้กับเครื่องมือประเภทแบบทดสอบ และแบบสอบถาม ซึ่งข้อมูลที่รวบรวม ได้มักอยู่ในรูปข้อมูลเชิงปริมาณ โดยมี ลักษณะการให้คะแนนข้อคำ ถามรายข้อ ใน 2 ลักษณะลักษณะที่ 1 ให้คะแนนเป็น 0 กับ 1 เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวม ข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะส าคัญ 3 ประการ คือ (1) คำ ถามชัดเจน (2) การตรวจให้คะแนนมีความคงที่ (3) การแปลความหมายคะแนนมีความ ชัดเจนตรงกัน แปลว่าความถูกต้อง สำ หรับทางการ วัดผล (Measurement) โดยเฉพาะ เกี่ยวกับการศึกษาและจิตวิทยา


สรุป การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย จั ก่อนนำ ไปใช้ใช้ นการเก็บ รวบรวมข้อ ข้ มูลจริงมีความจำ เป็นอย่างมาก เพราะถ้า ถ้ เครื่องมือที่ใช้ ไม่มีคุณภาพหรือมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ต่ ฑ์ ต่ างข้อ ข้ มูลที่รวบรวมได้ก็ ด้ ก็ จะ ไม่ตรงกับ กั ความเป็นจริงอัน อั จะนำ ไปสู่การได้ผ ด้ ลการวิจัย จั ที่ไม่ถูกต้อ ต้ ง และขาดความน่าเชื่อถือ คุณภาพของเครื่องมือวิจัย จั ที่ใช้ใช้ นการเก็บ รวบรวมข้อ ข้ มูลที่จำ เป็นต้อ ต้ งได้รั ด้ บ รั ตรวจสอบมี 5 ด้า ด้ น ได้แ ด้ ก่ (1) ความเป็นปรนัย นั (2) ความเที่ยงตรง (3) ความยาก(4) อ านาจจ าแนก และ (5) ความเชื่อมั่น โดยที่ คุณภาพด้า ด้ นความเป็นปรนัย นั และด้า ด้ นความเที่ยงตรง เครื่องมือทุกประเภทจำ เป็นต้อ ต้ งมีการ ตรวจสอบก่อนนำ ไปใช้จ ช้ ริง ซึ่งบางประเภทต้อ ต้ งตรวจสอบทั้ง ทั้ 5 ด้า ด้ น แต่บางประเภทก็ตรวจสอบเพียงบางด้า ด้ น ทั้ง ทั้ นี้ขึ้ นี้ ขึ้ น ขึ้ อยู่กับ กั ประเภทและลัก ลั ษณะของเครื่องมือนั้น นั้ ๆ


สัปสั ดาห์ที่ ห์ ที่8 ขอบเขตเนื้อ นื้ หา หลัก ลั การนำ เสนอเอกสารและงาน วิจัย จั ที่เกี่ยวข้อ ข้ ง ประโยชน์ข น์ องการศึก ศึ ษาเอกสาร และงานวิจัย จั ที่เกี่ยวข้อ ข้ ง ประเภทของการศึก ศึ ษาเอกสารที่ เกี่ยวข้อ ข้ ง การศึศึก ศึ ก ศึ ษาเอกสารและ งานวิจัย จั ที่เกี่ งานวิจัย จั ที่ กี่ ยวข้อ ข้ ง ที่ เกี่ยวข้อ ข้ ง


การศึกษา เอกสารและงาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.นำ เสนอสาระที่สอดคล้องกับชื่อเรื่อง 2.จัดลำ ดับหัวข้อให้เข้าใจง่าย หัวข้อหลัก 3.เขียนเชื่อมโยงเนื้อหาต่าง ๆ ให้สละสลวย 4.มีการสรุปประเด็นสำ คัญ 5.ลำ ดับเรื่องตามเวลาจากเก่ามาใหม่ 6.ใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้องและสื่อความได้ ชัดเจน 7.ควรทบทวนสิ่งที่ได้เขียนหลายๆครั้งเพื่อ ปรับปรุง ป็นการศึกษาเอกสารทางวิชาการ และงาน วิจัยของนักวิจัยคนอื่น ๆ ที่จัดทำ ขึ้น ทั้งใน อดีตและปัจจุบัน 1. ทำ ให้ผู้วิจัยได้ทราบข้อเท็จจริง 2.ทำ ให้สามารถนิยามปัญหาที่ตนจะทำ ได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น 3.เลือกใช้ตัวแปรในการวิจัยได้เหมาะสม 4.ทำ ให้เกิดความคิดตลอดจนหาทางควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้ อย่างรัดกุม 5.ตั้งสมมติฐานในการวิจัยได้อย่างเหมาะสม . 1.หนังสือ หรือตำ รา 2. รายงานการวิจัย 3. บทคัดย่องานวิจัย 4. บทความทางวิชาการ 5. สารานุกรม 6. รายงานประจำ ปีของหน่วยงาน ต่าง ๆ 7. คู่มือ 8. การสืบค้นจากฐานข้อมูล หลัก ลั การนำ เสนอเอกสาร และงานวิจัย จั ที่เกี่ยวข้อ ข้ ง ประเภทของการศึก ศึ ษา เอกสารที่เกี่ยวข้อ ข้ ง ประโยชน์ข น์ องการศึกศึษาเอกสาร และงานวิจัยจัที่เกี่ยวข้อข้ง


สรุป การศึก ศึ ษาเอกสารและงานวิจัย จั ที่เกี่ยวข้อ ข้ ง เป็นการศึก ศึ ษาเอกสารทางวิชาการและงานวิจัย จั ของ นัก นั วิจัย จั คนอื่น ๆ ที่จัด จั ทำ ขึ้น ขึ้ ทั้ง ทั้ ในอดีตและปัจจุบัน บั ที่ มีเนื้อ นื้ หาเกี่ยวข้อ ข้ งหรือสัม สั พัน พั ธ์กั ธ์ บ กั ชื่อเรื่องตัว ตั แปรที่ สนใจศึก ศึ ษา แนวคิด/ทฤษฎีต่าง ๆ ที่นำ ใช้ใช้ นงานวิจัย จั สารสนเทศที่ได้จ ด้ ากการศึก ศึ ษาค้น ค้ คว้า ว้ ดัง ดั กล่าว จะเป็น แนวทางในการกำ หนดแผนของการวิจัย จั ที่ผู้วิ ผู้วิ จัย จั จะ ทำ ต่อไป


Click to View FlipBook Version