The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

(P3) โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร ตำบลราชกรูด อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eakapong2582 Jom, 2024-02-08 12:10:06

(P3) โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร ตำบลราชกรูด อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

(P3) โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร ตำบลราชกรูด อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

Keywords: ตำบลราชกรูด อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

รายงานการศึกษาต าบลราชกรูด อ าเภอเมือง จังหวัดระนอง Piglet มันมีหู…. แต ่ กล ่ ม ุ หน ู จะไม ่ เผา P3


ด้านกายภาพ อาณาเขต - ต าบลราชกรูด มีพื้นที่ประมาณ 152.41 ตารางก ิโลเมตร หร ื อ 95,257 ไร่ - ท ิ ศเหน ื อ ต ิ ดกบัตา บลหงาว อา เภอเม ื องระนอง จงัหวดัระนอง - ท ิ ศใต ้ ต ิ ดกบัตา บลม่วงกลวง อา เภอกะเปอร์จังหวัดระนอง - ท ิ ศตะวนัออก ต ิ ดกบัตา บลปากทรง อา เภอพะโตะ ๊ จงัหวดัชม ุ พร - ท ิ ศตะวนัตก ต ิ ดกบัทะเลอนัดามนัและสาธารณรฐัสหภาพเม ี ยนมาร ลกัษณะภม ู ิประเทศ - พ ื น ้ ท ี่ราบเช ิ งเขา ลาดเอ ี ยงจากด ้ านท ิ ศตะวนัออก ไปด ้ านท ิ ศตะวนัตก - แหล่งน ้ าท ี่สา คญั ได ้ แก่คลองละออง และคลองราชกรด ู รวมไปถ ึ งแหล่งน ้ าใต ้ ด ิน และสระน ้า จากการขุด ซึ่งใช ้ สา หรบัการเกษตร การอป ุ โภคและการบร ิโภคโภคของชาวบา ้ นในตา บลราชกรด ู ลกัษณะภม ู ิ อากาศ 3 ฤดู (1) ฤดูร้อน กลางเดือนกุมภาพันธ์ - กลางเดือนพฤษภาคม (2) ฤดูฝน กลางเดือนพฤษภาคม - กลางเดือนตุลาคม (3) ฤดูหนาว กลางเดือนตุลาคม - กลางเดือนกุมภาพันธ์ สร ุปสถานการณ์ต าบล


สร ุปสถานการณ์ต าบล แหล่งที่มาhttps://agri-maponline.moac.go.th/


สร ุปสถานการณ์ต าบล แหล่งที่มาhttps://agri-maponline.moac.go.th/


สร ุปสถานการณ์ต าบล แหล่งที่มาhttps://agri-maponline.moac.go.th/


สร ุปสถานการณ์ต าบล ด ้ านเศรษฐก ิ จ อาชีพของคนในชุมชน - อาชีพหลัก คือ ท าการเกษตร - อาชีพรอง คือ ท าการประมง - อาชี พเสริมอ ื่นๆ ค ื อ รบัจ ้ างทั ่วไป ผลผลิตในช ุ มชน • พ ืชหลกั ได ้ แก่ - ปาล์มน ้ามัน - มังคุด - มะพร้าว - ยางพารา • พ ืชแซม ได ้ แก่ - ผักเหลียง - พริกไทย - ผกัไฮโดรโปนิกส ์ ช่องการจดัจา หน่ายและขนส่ง - ภายในช ุ มชนจะม ี รถขนส่ง ได ้ แก่รถกระบะ 4 คนัรถพ่วง 1 คัน - ลานท ี่ทา การจดัส่งจะอย่ทูี่จงัหวดัพงังาและช ุ มพร ระยะทางประมาณ 100 กว่ากม. - ค่าใช ้ จ่ายในการขนส่ง จด ุ ค ้ ม ุ ท ุ น จะอย่ทูี่0.50 บาท/กก. ผลผลิต/ครัวเรือนและราคาขาย - ผลผลิต 4,500 กก./ไร่/ครวัเร ื อน จะมากหร ื อน ้ อยข ึ น้อย่กูบัพ ื น้ท ี่ของเกษตรกร -ราคาขายในตลาดและกล่ม ุ แปลงใหญ่/กก. สูงสุด 6.50 บาท / กลาง 5.80 บาท / ต ่าสุด 4.70 บาท การท าบัญชีครัวเรือน/ชุมชน - การทา บญัชี ครวัเร ื อน จดัทา บางแปลง ในส่วนของกล่ม ุ จะม ี การจดัทา เพราะม ีสหกรณ ์ มาตรวจ ปี ละ 2 คสถาบนัการเงิน (กองท ุ นต่าง ๆ ธนาคาร) - สถาบนัการเงินของกล่ม ุ ม ี การก ้ ยูื มเงินจาก ธกส. อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.01 - กู้มา 4,300,000 บาท ปัจจุบันได้ใช้คืนหมดแล้ว การช่วยเหล ื อจากภาครฐั - ได ้ รบัการสนับสน ุ นเงินท ุ นจากรฐับาล 3,000,000 บาท แต่ขออน ุ มตัิโครงการไป 2,700,000 บาท


สร ุปสถานการณ์ต าบล ด้านสังคม วัฒนธรรม และการเมือง เขตการปกครอง - ตา บลราชกรด ู ม ี หม่บ ู า ้ นจา นวน 8 หมู่ ชม ุ ชนจา นวน 11 ชุมชน ประชากรทั้งหมด 9,295 คน - ชาย 4,997 คน - หญ ิ ง 4,298 คน การศึกษา - โรงเรียน 8 แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง สาธารณสุข - โรงพยาบาลส่งเสร ิ มสข ุ ภาพประจา ตา บล 2 แห่ง ศาสนา - ประชากรในพื้นที่นับถือศาสนาพุทธ 70% - ประชากรในพ ื น ้ ท ี่นับถ ื อศาสนาอ ิ สลาม 30% ประเพณีและวัฒนธรรม - ประเพณีวันฮารีรายอ - ประเพณีไทยอื่นๆ ภม ู ิปัญญาท ้ องถ ิ่น - การผล ิ ตรงัผง ึ ้ - หตัถกรรมส่ม ุ ไก่ - ผล ิ ตภณัฑจ ์ ากกาบหมาก - กะปิ ราชกรด ู - สมุนไพร


สร ุปสถานการณ์ต าบล ด ้ านทรพ ั ยากรธรรมชาต ิ/ชีวภาพ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชี พเกษตรกรรมเป็ นหลกั - การท าสวน เช่น ปาลม ์ น ้ ามนัยางพารา - การท าประมงชายฝัง่เช่น เล ี ้ ยงก ้ ง ุ - การปศส ุ ตัว ์ เช่น ไก่สก ุ ร ป่ าไม้ - ป่ าบก ร้อยละ 49.80 ของพื้นที่ต าบลราชกรูด - ป่ าชายเลน ร้อยละ 10 ของพื้นที่ต าบลราชกรูด คณ ุ ภาพของทรพัยากรธรรมชาต ิ - สภาพด ิ นและน ้ า ค่อนข ้ างม ี ความสมบร ู ณ ์ เหมาะสา หรบัการปลก ู ไม ้ ผลไม้ยืนต้น ระบบการปลูกพืช - แบบผสม ม ี การปลก ู พ ืชหลากหลายชน ิ ด และการปลก ู พ ืชแซม ศัตรูพืช - โรคพ ืช เช่น โรคยอดเน่า, โรคทลายเน่า - แมลงศตัรพ ู ืช เช่น ด ้ วง - สตัวศ ์ ตัรพ ู ืช เช่น หน ู การให้ปุ๋ ย - ปุ๋ ยเคมี สูตร 14-7-35 - ปุ๋ ยคอก - ปุ๋ ยหมัก


มิติ สภาพแวดล้อม ภายใน ชุมชน สภาพแวดล้อม ภายนอก ชุมชน S W O T กายภาพ 1. สภาพดินเหมาะส าหรับการปลูก ยางพารา และไม้ผล 2. มีปริมาณน ้าฝนเพียงพอต่อการ เพาะปลูกพ ื ช 3. เกษตรกรมกีารพฒันาปรับปรุงสภาพ พ ื น้ทใี่ห้สามารถปลูกปาล ์ มน า้มันได้ 1. ลักษณะพื้นที่และสภาพดินไม่เหมาะ ส าหรับปลูกปาล ์ มน า้มนั 2. ยังไม่มีการรับรองมาตรฐาน 1. มีการคมนาคม/การเดินทางที่มีความ สะดวกในการขนส่งและซื้อขาย ผลผลิต 1. สภาพอากาศ/ลมมรสุม 2. ไม่มีลาน/โรงงานรับซื้อผลผลิตใน จังหวัด ทรัพยากร ธรรมชาติ/ ชีวภาพ 1. สภาพพ ื น้ทสี่ามารถปลูกพ ื ชได ้ หลากหลายชนิด 1. ผลผลิตมีความแปรผันตามสภาพอากาศ 2. สัตว ์ ศัตรูพ ื ช/แมลงศัตรูพ ื ชเข้าทา ลาย 1. มีเจ้าหน้าที่อารักขาพืชคอยติดตาม สถานการณ์โรคพืชอย่างสม ่าเสมอ 1. ปัญหาสภาวะโลกร้อน เศรษฐกิจ 1. มตีลาดนัดในชุมชน 3 วัน/สัปดาห์ 2. เกษตรกรมีรายได้หลายช่องทาง ทั้งจากอาชีพหลักและอาชีพเสริม 1. มีค่าใช้จ่ายในการขนส่งผลผลิตไปยัง แหล่งรับซื้อ 1. มีตลาดเกษตรกรที่จังหวัด 2 วัน/ สัปดาห์ 1. ไม่สามารถก าหนดราคาขายได้ ราคา ขนึ้อยู่กบัโรงงานรับซ ื้อในแต่ละวัน สังคม 1. มกีารเช ื่อมโยงเคร ื อข่ายภายในชุมชน 2. คนในชุมชนให้ความร่วมม ื อกนั 3. มี YSF 4. มภีูมปิัญญาท้องถิ่นทสี่ามารถต่อยอด พัฒนาได้ 1. มแีหล่งท่องเทยี่วอยู่ในเขตหวงห้าม/เขต ป่ าไม้ จึงไม่สามารถประสัมพันธ์เชิญชวน ให้นักท่องเที่ยวนอกพื้นที่มาเที่ยวได้ 1. มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การ ช่วยเหล ื อและสนับสนุนในด้าน ความรู้และการพฒันาอาชีพ 1. นโยบายของภาครัฐไม่มีความ ต่อเนื่อง 2. มีการเลือกพรรคการเมืองพรรคเดียว การวิเคราะห์ SWOT Analysis ต าบลราชกรูด อ าเภอเมือง จังหวัดระนอง


ก าหนดแนวทางการพัฒนาการเกษตรต าบลราชกรูด อ าเภอเมือง จังหวัด ระนอง แนวทางด้าน ท าอะไร What (เชื่อมโยงกับ) ( การพึงตนเอง SEP supply chain BCG) ท าอย่างไร How ส่งเสริม สาธิต ทดสอบ วิจัย 1. ด้านการจัดการทรัพยากร ( ดนิน า้ป่านิเวศ จุลนิทร ี ย ์ ฯลฯ ) - มี ศดปช. - มีการวิเคราะห์ดิน 2. ด ้ านปัจจยัการผลติระบบผลติการจดัการผลติการดูแล ( ต้นน ้า ) -การทา ปุ๋ยหมกัร่วมกบัการใชปุ้๋ยเคมี 3. การแปรรูป การเพมิ่มูลค่าสินค ้ ามาตรฐาน ( กลางน ้า ) - ส่งเสริมภูมิปัญญาทอ ้ งถิ่น เช่น แปรรูปกาบหมาก/ การท ากะปิ 4. ด้านการกระจายสินค้า การตลาด ( ปลายน ้า ) - มีแหล่งรับซ้ื อผลผลิต 5. ด ้ านการพฒันากลุ่มต่างๆและเคร ื อข่าย -การเช ื่อมโยงเคร ื อข่ายของกลุ่มต่างๆในชุมชน 6. ด ้ านการจดัการทุนและสวสัดกิาร - มีกองทุนเงินล้านของ ธกส. - มีการระดมทุนของสมาชิกในกลุ่ม 7. ด ้ านการพฒันาผ ู้น า สมาชิก สตร ี เยาวชน การเร ี ยนร ู้ -ถ่ายทอดความรู้ใหเ ้ กษตรกรไม่ซ้า กนั ปีละ30 คน 8. ด้านการสร้างรายได้อื่นๆ ( ท่องเที่ยว หัตถกรรม บริการ ) การลดรายจ่าย - มีการปลูกพืชหลากหลายชนิด สร้างรายได้ 9. ด้านอื่นๆ


สรุปภาพใยแมงมุมการจัดล าดับความส าคัญ


วินิจฉัยปัญหาเกษตรที่ส าคัญของต าบลราชกรูด อ าเภอเมือง จังหวัดระนอง ผลผลิต ปาล์มน ามัน ไม่ได้คุณภาพ สภาพแวดล้อมไม่ดี พื้นที่ลาดชัน ปริมาณน้้าฝนมาก โรค/แมลง/สัตว์ ศัตรูพืช ปริมาณแร่ธาตุในดินไม่เหมาะสม ขาดความรู้และทักษะในการเก็บเกี่ยว ขาดการเข้าถึงความรู้ทาง อินเตอร์เน็ต เกษตรกรสูงวัย มีการให้ความรู้ไม่ทั่วถึง การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวไม่ดี ระยะทางในการขนส่งไกล ผู้เก็บเกี่ยวขาดความเชี่ยวชาญ ระบบการขนส่งไม่ดี ผลผลิตสุกไม่เต็มที่ ความเร่งรีบในการเก็บเกี่ยว ความกดดันด้านราคารับซื้อ ขาดแรงงาน


ผังวัตถุประสงค์ เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ปาล์มน ามัน สภาพแวดล้อมดี พื้นที่ราบ ปริมาณน้้าฝนเหมาะสม ไม่มีโรค/แมลง/สัตว์ศัตรูพืช แร่ธาตุในดินมีเพียงพอ มีความรู้และทักษะในการเก็บเกี่ยว เข้าถึงความรู้ทางอินเตอร์เน็ต ได้มากขึ้น เกษตรกรรุ่นใหม่ มีการให้ความรู้อย่างทั่วถึง การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวที่ดี มีแหล่งรับซื้อในพื้นที่ ผู้เก็บเกี่ยวมีความเชี่ยวชาญ ระบบการขนส่งดี ผลผลิตสุกเต็มที่ เก็บเกี่ยวเมื่อผลผลิตสุกเต็มที่ ไม่คล้อยตามราคาที่รับซื้อ มีแรงงานเพียงพอ


ว ิ เคราะห ์SEP ต าบลราชกรูด อ าเภอเมือง จังหวัด ระนอง


โครงการส ่ งเสร ิ มการเพ ิ ่ มประส ิ ทธ ิ ภาพการผล ิ ตปาลม ์ น ้ ามน ั ของเกษตรกร ต าบลราชกรูด อ าเภอเมือง จังหวัดระนอง


1. นางสาวพ ิ ชญาภรณ ์ พน ั ธพ ์ ุ ืช เจ ้ าพน ั กงานธร ุ การปฏ ิ บต ัิ งาน จังหวัดจันทบุรี 2. นางสาวศรัญญา จันทรช ิ ว น ั กว ิ ชาการส ่ งเสร ิ มการเกษตรปฏ ิ บต ัิ การ จังหวัด อา นาจเจร ิ ญ 3. นายเอกพงศ ์ จอมขน ั เง ิ น น ั กว ิ ชาการส ่ งเสร ิ มการเกษตรปฏ ิ บต ัิ การ จังหวัด เพชรบูรณ์ 4. นางสาวเกศญา ระดาฤทธ ์ิ น ั กว ิ ชาการส ่ งเสร ิ มการเกษตรปฏ ิ บต ัิ การ จังหวัดเลย 5. นางสาวสน ุ ิ สา คา ชง ั่น ั กว ิ ชาการส ่ งเสร ิ มการเกษตรปฏ ิ บต ัิ การ จง ั หวด ั อต ุ รด ิ ตถ ์ ผร ้ ู บ ั ผ ิ ดชอบโครงการ


หลักการและเหต ุผล ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และยุทธศาสตร์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี(พ.ศ. 2561 - 2580) มุ่งสร้างความ เข้มแข็งให้กับเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยรัฐบาลให้ความส้าคัญกับมาตรการสนับสนุนที่จะช่วยส่งเสริมความรู้และผลักดัน การรวมกลุ่มของเกษตรกรเพื่อให้เป็นสถาบันเกษตรกรที่มีความเข้มแข็ง การปลูกปาล์มน้้ามันในต้าบลราชกรูด อ้าเภอเมือง จังหวัดระนอง ถือเป็นรายได้หลักส้าคัญของเกษตรกรในพื้นที่ อย่างไรก็ตามยังพบปัญหา ผลผลิตปาล์มไม่ได้คุณภาพ เช่น เก็บเกี่ยวเมื่อผลผลิตอ่อนเกินไป ผลผลิตช้้าระหว่างขนส่ง และผลผลิตที่ไม่เพียงพอ ปัญหาเหล่านี้เกิดจากการขาดความ เชี่ยวชาญในกระบวนการเก็บเกี่ยว การเร่งตัดปาล์มที่ยังอ่อนเนื่องจากต้องการขายในช่วงราคาสูง ปัญหาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว และสภาพแวดล้อมที่ไม่ เหมาะสมในการปลูก การผลิตปาล์มน้้ามันในพื้นที่ที่ลักษณะดินที่เป็นที่ราบเชิงเขา ซึ่งมีความลาดเอียงของพื้นที่สูง อีกทั้งการชะล้างความสมบูรณ์ของหน้าดินสูงในฤดู ฝน ให้สามารถเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตปาล์มให้ได้ตามเกณฑ์มาตฐานการเก็บเกี่ยวปาล์มน้้ามัน และให้เป็นที่ยอมรับรองตลาดรับซื้อ โดยการส่งเสริม การให้ความความรู้ที่ถูกต้องและเหมาะสม น้าระบบการจัดการผลิต และเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม โดยมีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ ได้ รับการรับรองมาตรฐานความยั่งยืน เพื่อเพิ่มมูลค่าปาล์มน้้ามัน และขยายตลาดให้กว้างขึ้น โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มของเกษตรกรในชุมชนต้าบลราชกรูด อ้าเภอเมือง จังหวัดระนอง มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาที่กล่าวมา ข้างต้น โดยจะให้การสนับสนุนทางเทคนิคและการศึกษา การเสริมสร้างความเชี่ยวชาญในกระบวนการเก็บเกี่ยว และการปรับใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัย โครงการ นี้จะเป็นการฟื้นฟูและปรับปรุงการผลิตปาล์มน้้ามันในพื้นที่ ช่วยส่งเสริมการสร้างงานที่มีคุณค่า ลดปัญหาความยากจน สร้างโอกาสในการศึกษาและอบรม และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนในชุมชนท้องถิ่น


วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตปาล์มน้้ามัน 2. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถเพิ่มคุณภาพผลผลิตปาล์มน้้ามัน


เป้ าหมาย 1. เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้้ามันร้อยละ 80 สามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตปาล์มน้้ามันได้ 2. เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้้ามันร้อยละ 80 สามารถเพิ่มคุณภาพผลผลิตปาล์มน้้ามันได้


วิธีการด าเนินการ ประชุมเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ โครงการ จัดท้าแผนการถ่ายทอดความรู้ จัดท้าแปลงเรียนรู้การ ถ่ายทอดเทคโนโลยีในการ ผลิต/การปรับปรุงปรับเปลี่ยน การผลิต ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์และ เงื่อนไขโครงการฯให้เกษตรกร - อบรมถ่ายทอด เทคโนโลยีการผลิตในพื้นที่ เหมาะสม/ปรับปรุง ปรับเปลี่ยนการผลิตใน พื้นที่ไม่เหมาะสม - อบรมการควบคุม มาตรฐานการผลิตและการ เก็บเกี่ยวผลผลิตตาม มาตรฐานทะลายปาล์ม ติดตามผลการด้าเนินงาน


กิจกรรม แผนการปฏิบัติงาน (ปีงบประมาณ 2568) ต.ค. 67 พ.ย. 67 ธ.ค. 67 ม.ค. 68 ก.พ. 68 มี.ค. 68 เม.ย. 68 พ.ค. 68 มิ.ย. 68 ก.ค. 68 ส.ค. 68 ก.ย. 68 1. ประชุมเจ้าหน้าที่รับผิดชอบโครงการ 2. ประชุมชี แจงวัตถุประสงค์และเงื่อนไขโครงการฯให้เกษตรกร 3. จัดท าแผนการถ่ายทอดความรู้ 4. ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณผลผลิตปาล์มน ามัน 4.1 อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตในพื้นที่เหมาะสม/ ปรับปรุงปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม 4.2 จัดท้าแปลงเรียนรู้การถ่ายทอดเทคโนโลยีในการผลิต/การ ปรับปรุงปรับเปลี่ยนการผลิต 5. ส่งเสริมการเพิ่มคุณภาพการผลิตปาล์มน ามัน 5.1 อบรมการควบคุมมาตรฐานการผลิตและการเก็บเกี่ยว ผลผลิตตามมาตรฐานทะลายปาล์ม 6. ติดตามผลการด าเนินงาน


ขอรับสนับสนุนงบประมาณ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 142,000 บาท ● จัดท้าแปลงเรียนรู้ 2 แปลง เป็นเงิน 20,000 บาท ● ค่าอาหารและเบรก จ้านวน 448 ราย เป็น 67,200 บาท ● ค่าวิทยากร 9 วัน วันละ 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 32,400 บาท ● ค่าวัสดุ อุปกรณ์ ส้าหรับผู้เข้าร่วมอบรม เป็นเงิน 22,400 บาท ศพก. อ้าเภอเมืองระนอง (ปาล์มน้้ามัน) ต้าบลราชกรูด อ้าเภอเมือง จังหวัดระนอง สถานที่ด าเนินงาน งบประมาณและทรัพยากร


ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรมีความรู้ในการผลิตปาล์มน้้ามันอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2. เกษตรกรมีปริมาณผลผลิตปาล์มน้้ามันสูงขึ้น 3. เกษตรกรสามารถเพิ่มคุณภาพผลผลิตปาล์มน้้ามันให้สอดคล้องกับความต้องการของโรงงาน


การประเมินผลโครงการ วัตถุประสงค์โครงการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี วัด เกณฑ์/เป้าหมาย 1. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถเพิ่ม ปริมาณผลผลิตปาล์มน้้ามัน เกษตรกรได้รับการพัฒนา ความรู้และทักษะ องค์ความรู้ การเพิ่ม ปริมาณผลผลิตปาล์มน้้ามัน เกษตรกรน้าความรู้มาใช้ ในการเพิ่มปริมาณผลผลิต ปาล์มน้้ามัน เกษตรกรมีความรู้ ความสามารถ และการ จัดการที่เหมาะสม ในการ ผลิตปาล์มน้้ามันเพิ่มขึ้น เกษตรกรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ ความสามารถ ในการพัฒนาประสิทธิภาพ ผลผลิตและการจัดการที่ เหมาะสม ในการผลิตปาล์ม น้้ามันเพิ่มขึ้นได้ 2. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถเพิ่ม คุณภาพผลผลิตปาล์มน้้ามัน เกษตรกรได้รับความรู้ การ เพิ่มคุณภาพผลผลิตปาล์ม น้้ามัน เกษตรกรมีความรู้และเก็บ เกี่ยวผลผลิตปาล์มน้้ามันที่ เปอร์เซ็นต์น้้ามัน ไม่ต่้า กว่า 18 เปอร์เซ็นต์ - การอบรมให้ความรู้ - การเก็บเกี่ยวผลผลิต ปาล์มน้้ามัน - เกษตรกรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ - เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้้ามัน ร้อยละ 80 เก็บเกี่ยวผลผลิต ปาล์มน้้ามันที่เปอร์เซ็นต์ น้้ามัน ไม่ต่้ากว่าร้อยละ 18


ขอบคณุ ค่ะ / ครับ !


Click to View FlipBook Version