The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สื่อทัศนศิลป์ ม.1 หน่วยที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chingchang Chalee, 2023-12-12 02:16:47

สื่อทัศนศิลป์ ม.1 หน่วยที่ 1

สื่อทัศนศิลป์ ม.1 หน่วยที่ 1

สื่อการสอนกล่มสาระการเรียนร ุ ้ศิลปะ ู โรงเรียนสักงามวิทยา รายวิชาทัศนศิลป์พื้นฐาน 1รหัสวิชา ศ21102 คร ู ผ้สอน ู : นางสาวชาลี เปี่ ยมพลอย


หน่วยการเรียนร้ที่ ู ๑


ตัวชี้วัด บรรยายความแตกต ่ างและความคล้ายคลึงกนของงานทัศนศิล ั ป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ (ศ ๑.๑ ม.๑/๑)


เส้น นํ้าหนัก พื้นผิว สี ผังสาระการเรียนรู้ ความแตกต่างและความ คล้ายคลึงกันของงาน ทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างผลงานของ ศิลปิ นกับสิ่งแวดล้อม ทัศนธาต ุ จ ุ ด


ศิลปะ (Art) ๕. วรรณกรรม (Literature) ศิลปะคือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เป็ นสิ่งที่แสดงออกของจินตนาการ ความรู้ ปัญญา และประสบการณ์ แบ่งตามลักษณะของผลงาน ๓. วรรณศิลป์ (Literary) การอ ่ าน แบ่งตามการรับสัมผัส ๔. ดนตรี นาฏกรรม (Music, Drama) ๓. สถาปัตยกรรม (Architecture) ๒. ประติมากรรม (Sculpture) ๑. จิตรกรรม ภาพพิมพ์ (Painting, Print) ๒. โสตศิลป์ (Music) การได้ยิน ๑. ทัศนศิลป์ (Visual Art) การเห็น ศิลปะ


องค์ประกอบศิลป์ เป็ นการนําส่วนประกอบต่ าง ๆ ของทัศนศิลป์ที่ เรียกวา ทัศนธาตุ มาประกอบให้เก ่ ิดผลและสื่อความหมายตามวัตถุประสงค์ องค์ประกอบศิลป์ นับวาเป็ นแกน และโครงสร้างหลักของศิลปะทุกส ่ าขา องค์ประกอบศิลป์ (Composition) ทัศนธาต ุ คือ ส่วนประกอบที่ทําให้เกิ ดงานศิลปะ ซึ่งสามารถมองเห็นได้ด้วยสายตา ประกอบไปด้วย จุด เส้น นํ้ าหนัก พื ้ นผิว สี ทัศนธาต ุ(Visual Elements)


๑. จ ุ ด (Point) จ ุ ด คือ ทัศนธาตุเบื ้องต้นที่สุด ไม่มีมิติ (ไม่มีความกว้าง ความยาว และความลึก) เมื่อนําเส้นมารวมกันจะเกิดเป็ นร ู ปร่าง หรือ ถ้ารวมกันหลายจุดจะเป็ นนํ้าหนัก จ ุ ด เมื่อนํามาเรียงต่อกันจะเกิดเส้น ถ้าอยู่ในรูปทรงจะเกิดเป็ นปริมาตร


๒. เส้น (Line) เส้น เก ิ ดจากการต ่ อกนของจุดที่เรียงต ั ่ อกนเป็ นที่ราบสมํ่ ั าเสมอกนอย ั างมี ่ ทิศทาง เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ลักษณะของเส้น ทิศทางของเส้น


www.themegallery.com ๓. นํ้าหนัก (Tone หรือ Chiaroscuro) นํ้าหนักคือ ระดับความอ่ อน-แก ่ ของสีดําหรือสีอื่น ๆ หรือแสง-เงา นํ ้ าหนัก มีความกว้าง ความยาว เมื่อรวมตัวกนทําให้เก ั ิดความลึก ทําให้รูปทรงมี ปริมาตร นอกจากนี ้ นํ ้ าหนักยังสามารถแสดงอารมณ์ความรู้สึกได้อีกด้วย


‘แสง-เงา’ สมวงศ์ ทัพพรัตน์, สีนํ้ามัน, ๒๕๑๗ ภาพแสง-เงา ศิลปิ นลดทอนรายละเอียดของ หน้าตาและกล้ามเนื้อออกไป แล้วระบายสีเป็น ส ่วนใหญ่ ๆ ของแสงที่สวางมาก สว ่ างน้อย แ ่ ละ ส ่วนที่อยูในเงา ่ ‘ความลี้ลับของอารมณ์ ๒’ ชลสินธ์ ช่อสก ุ ล ุ , แม่พิมพ์กระดาษ, ๒๕๒๖ ภาพความลี ้ลับของอารมณ์ ๒ เป็ นภาพ นามธรรมจากการกลิ ้ งหมึกพิมพ์บนแม่พิมพ์ กระดาษให้เกิดนํ ้ าหนักอ่ อน-แก ่ และปริมาตรความโค้ง


‘วัดโพธิ์’ นิพนธ์ ผริตะโกมล, สีนํ้ามัน, ๒๕๐๕ ภาพวัดโพธิ์ ศิลปิ นลดทอนรายละเอียดแต่ ใช้การระบายสีอ่ อน-แก ่ ตาม แสง-เงา


๔. พื้นผิว (Texture) พื้นผิวคือ ลักษณะภายนอกของสิ่งต ่ าง ๆ ซึ่งสามารถสัมผัส จับ หรือ มองเห็นด้วยสายตาและทําให้เกิดความรู้สึกถึงลักษณะของพื้ นผิวนั ้ น ๆ พื ้ นผิวอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้ นกได้ พื ็ ้ นผิวที่ ต ่ างกนย ั อมทําให้เก ่ ิดความรู้สึกที่แตกต่ างกนออกไป ั พื้นผิวหยาบ พื้นผิวละเอียด พื้นผิวด้าน พื้นผิวมัน


๕. สี (Colour) สามารถกระต้นอารมณ์ ุ และมีอิทธิพลต่อความรู้สึก ได้ต่ างกนออกไปในแต ั ่ ละสี สี เป็ นทัศนธาตุที่มีลักษณะของธาตุทุกอยาง ่ อยูรวมก ่ นครบถ้วน ทั ั ้ งเส้น นํ้ าหนัก ผิว มีความเข้มของสี (Intensity) ซึ่งสามารถ แสดงความสดของสีได้ ตั ้ งแต ่ เข้มที่สุดจนถึง อ ่อนที่สุด มีค ุ ณลักษณะพิเศษ คือ ความเป็ นสี (Hue) ทําให้เราสามารถ แยกแยะแต ่ละสีออก จากกนหรือระบุได้ ั วา ่ เป็ นสีอะไร


สีโทนร้อน และสีโทนเย็น (Warm tone and Cool tone) สีโทนร้อน คือ สีที่ให้ความรู้สึกตื่นเต้นร้อนแรง อบอุ่น ได้แก่ สีเหลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีแดง สีม่วงแดง และสีม่ วง สีโทนเย็น คือ สีที่ให้ความรู้สึกเย็น นิ่ ง สงบ สดชื่น สบาย ได้แก่ สีม่ วง สีม่วงนํ ้ าเงิน สีนํ้ าเงิน สีเขียวนํ้ าเงิน สีเขียว สีเขียวเหลือง และสีเหลือง


‘ทิวทัศน์ที่จอร์แดน’ เพ็ญสิน นีลวัฒนานนท์, สีนํ้ามัน, ๒๕๔๓ (สีประเภทโทนร้อน) ‘ป่ าดงดิบ’ ปิ ยวัฒน์ มังกรวงษ์, สีนํ้า, ๒๕๓๖ (สีประเภทโทนเย็น)


www.themegallery.com วรรณะสีส่วนรวม (Tonality) คือ การใช้สีใดสีหนึ่งเป็ นสีหลักในการสร้างผลงาน สีกลมกลืนกัน (Harmony colour) การใช้สีที่นํ้ าหนักสีหรือค ่ าของสี มีความใกล้เคียงกนในวงจรสี ั


การใช้สีเลียนแบบสีจริงในธรรมชาติ ‘สีในทิวทัศน์ หมายเลข ๔’ จร ูญ บุญสวน, สีนํ้ามัน, ๒๕๒๗ ภาพสีในทิวทัศน์ หมายเลข ๔ เป็ นโครงสีรวม ๆ ไม่ เน้นรายละเอียด ใช้พูก ่ นป้ายอย ั างอิ ่ สระและ ประสานสัมพันธ์กน ั ‘ภาพสะท้อน’ เริงศักดิ์ บ ุญยวาณิชย์กล ุ , สีนํ้ามัน, ๒๕๔๖ ภาพภาพสะท้อน เป็ นภาพเน้นรายละเอียดแบบ เหมือนจริง ระบายสีและเกลี่ยสีให้มีความอ่ อน-แก ่ ตามแสง-เงา


การใช้สีที่เน้นอารมณ์ความร้สึกของศิลปิ น ู ‘ส ุ โขทัย’ ทวี รัชนีกร, สีนํ้ามัน, ๒๕๔๔ ภาพสุโขทัย โครงภาพมีที่มาจากทิวทัศน์ โบราณสถานสมัยสุโขทัย แต่จินตนาการ สีสันใหม่ ภาพ Prince of the Pool สร้างบรรยากาศของ ภาพให้ดูเงียบเหงา น่าสงสัยและตึงเครียด ด้วยโทนสี ‘Prince of the Pool’ ธเนศ อ่าวสินธ์ศิริ ุ , สีอะคริลิก, ๒๕๓๕


ตัวอย่างผลงานของศิลปิ นกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมในแต่ละสถานที่ยอมมีความแตกต ่ ่ างกนออกไป ั เช ่น สิ่งแวดล้อมที่เป็ นภูเขายอมต ่ ่ างจากสิ่งแวดล้อมที่เป็นทะเล การสร้างผลงานศิลปะของศิลปิ นกย ็ อมแตกต ่ ่ างกนออกไปตามอารม ั ณ์ ความรู้สึก ที่ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมตามสถานที่ต ่ าง ๆ ภาพ ๕ ธันวาคม ศิลปิ นใช้ทีพูก ่ นป้ายไ ั ปตาม ทิศทางและรูปร่างที่เห็น ทําให้รู้สึกมีบรรยากาศ ยามคํ่าคืนและการเคลื่อนไหวดูมีชีวิตชีวา ‘๕ ธันวาคม’ สาธิต ทิมวัฒนบรรเทิง, สีนํ้ามัน, ๒๕๔๔


ผังสร ุปสาระสําคัญ ทัศนธาต ุ เส้น นํ้าหนัก พื้นผิว สี ไม่มีความกว้าง ความยาว และความลึก เส้นแต่ละชนิดให้ความรู้สึกที่แตกต่างกนั เป็ นระดับความอ่อน-แก่ของสีทําให้เกิดความลึก รูปทรง มีปริมาตร พื้ นผิวที่ต่างกนทําให้เก ั ิดความรู้สึก ที่ต่างกนั สีโทนร้อน ให้ความรู้สึกร้อนแรง อบอุ่น สีโทนเย็น ให้ความรู้สึกเย็น นิ่ ง สงบ ความแตกต่างและ ความคล้ายคลึงกัน ของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม จ ุ ด


Click to View FlipBook Version