การพฒันาทกัษะการคิดแบบโยนิโสมนสิการโดยการใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 Developing Yonisomanasikarn thinking skills by using participatory activities. of students in grade 3 กมลพรรณ บุญเกิด1* , และธัชวรรธน์ หนูแก้ว2* Kamomphan Bunkerd 1* , and Thatchawat Nookaew 2* สาขาพระพุทธศาสนา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี3* Department of Buddhism, Faculty of Education, Udon Thani Rajabhat University กลุ่มหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี3* Curriculum and Teaching Group, Faculty of Education, Udon Thani Rajabhat University บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนโดยใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม ส าหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการ คิดแบบโยนิโสมนสิการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรมการมีส่วนร่วม ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 72 (เทศบาล 8) ส านักการศึกษาเทศบาลนครอุดรธานี สังกัดกรมสงเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่เรียนรายวิชาพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 14 คน จากห้องเรียนจ านวน 1 ห้อง (ห้อง 2) ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster sampling) เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ จ านวน 4 ข้อ และแบบสอบถาม ความพึงพอใจในการเรียนรู้ ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จ านวน 15 ข้อ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test แบบกลุ่มไม่อิสระ (Dependent Samples t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ทักษะกระบวนการคิดแบบโยนิโสมนสิการส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้ กิจกรรมการมีส่วนร่วม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 93.83/91.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ 2. คะแนนหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะการคิดแบบโยนิโสมนสิโดยใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม สูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 3. ระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ กิจกรรมการมีส่วนร่วม เรื่อง การคิดแบบโยนิโสมนสิการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X= 4.57) * ผู้ประสานงาน : กมลพรรณ บุญเกิด อีเมล [email protected]
Abstract The objectives of this research are 1. To develop learning activities by using engaging activities for students; in Grade 3 with performance according to the criteria to compare the Yonisomnasika thinking skills of Grade 3 students who were provided with learning activities by using participatory activities. During the pre-test and post-test. The subjects used in this research were Grade 3 students at Thai Rath Wittaya 72 School (Municipality 8). Udon Thani Municipal Education Bureau is under the Department of Local Government, Buddhist courses, social studies, religion and culture Semester 1, Academic Year 2023, 14 students from 1 classroom (Room 2) The sample used in the research was obtained by cluster sampling. The learning management plans, 4 items of the practical tests. and a learning satisfaction questionnaire 5-level estimation scale type, 15 items, were the tools to be used in the research. The percentage, mean, standard deviation and Dependent Samples t-test were the statistics to be used in the data analysis. The results found that: 1. The Yonisomnasika thinking skills model for Grade 3 students by using participatory activities had an efficiency of 93.83/91.00, which is higher than the specified threshold. 2. The posttest scores of the 3rd Grade students who learned the Yonisomnasi thinking skills model by using participatory activities was statistically significantly higher than pretest scores at a level of .05. 3 . The satisfaction level of the 3rd-grade students who managed to learn by using participatory activities on the Yonisomnasika thinking skills model was the highest( X= 4.57) บทน ำ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามีมากมายคณานับ และมีความส าคัญต่อการด าเนินชีวิตประจ าวัน อย่างยิ่ง โดยเฉพาะหลักโยนิโสมนสิการถือว่าเป็นหลักธรรมเชิงพิจรารณาหาเหตุผล เพื่อจะได้น ามาแก้ไข ปัญหาของการเสพสื่อได้อย่างถูกวิธีและถูกต้องตามหลักธรรมมะ ดังนั้นการประยุกต์ใช้ หลักโยนิโส มนสิการจึงถือว่ามีความส าคัญต่อสังคมไทยในฐานะชาวพุทธส่วนใหญ่จะได้ศึกษาและท า ความเข้าใจกับ หลักโยนิโสมนสิการยิ่งขึ้น ปัจจุบันพบว่าสังคมไทยเสพสื่อเทคโนโลยีทุกเพศทุกวัย ทั้งที่รู้เท่าทัน คิดวิเคระห์ และพิจราณาถึง โทษภัยของการเสพสื่อ แต่มีบุคคลจ านวนมากเช่นเดียวกันที่ยังเสพสื่อเทคโนโลยีแบบ ไม่วิเคราะห์หา ข้อเสียของการเสพสื่อดังกล่าว ส่งผลให้สังคมไทยถูกมอมเมาด้วยเทคโนโลยีที่นับวันจะแผ่กระจายอย่าง รวดเร็วนับตั้งแต่เทคโนโลยีสารรสนเทศเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจ าวัน การใช้เทคโนโลยีเป็นไป อย่างกว้างขวางซึ่งหมายถึงการใช้เทคโนโลยีไปในด้านต่างๆ ซึ่งแน่นอนที่ทุกสิ่งย่อมมีทั้งคุณและโทษ ภาพยนตร์หลายเรื่องได้สะท้อนความคิดของการน าเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในทางลบผลกระทบ ในทางลบเหล่านี้บางอย่างเป็นเพียงการคาดคะเนเท่านั้นอาจไม่ได้เกิดขึ้นจริง แต่อย่างไรก็ตามย่อมมี
โอกาสเกิดขึ้นได้ ได้แก่ ผลกระทบท าให้เกิดอาชญากรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น หนทางในการก่อ อาชญากรรมได้ โจรผู้ร้ายอาจใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการวางแผนปล้น วางแผน โจรกรรม เป็นต้นฯ ดังนั้นการปลูกฝังจิตส านึกในเรื่องทางจริยธรรมคงจะเป็นสิ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหาในเรื่อง ดังกล่าวได้ในระยะยาวปัญหาที่พบในปัจจุบัน คือ การแพร่ระบาดของเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสม มี จ านวนมากขึ้น อาทิ เช่น เว็บไซต์ลามกอนาจาร เว็บไซต์บริการทางเพศ เว็บไซต์เกี่ยวกับการพนัน เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับยาเสพติดเว็บไซต์ที่ขายของผิดกฏหมายหรือละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งกระบวนการตรวจสอบอย่าง ทั่วถึงเป็นไปได้ยาก เป็นต้น เมื่อสิ่งเหล่านี้ได้เข้ามาโดยไม่มีการพิจารณาถึงผลเสียของการเสพสื่อและ ไมได้ น าหลักโยนิโสมนิสิการ ซึ่งมีรูปแบบบวิธีคิด ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑.วิธีคิดแบบบสืบสาวหาเหตุปัจจัย ๒.วิธี คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ ๓.วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์ ๔.วิธีคิดแบบอริยสัจจ์/คิดแบบ แก้ปัญหา ๕.วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ ๖.วิธี คิดแบบเห็นคุณโทษ และทางออก ๗.วิธีคิดแบบรู้ คุณค่าแท้-คุณค่าเทียม ๘.วิธีคิดแบบเร้าคุณธรรม ๙.วิธี คิดแบบอยู่กับปัจจุบันและ ๑๐.วิธีคิดแบบ วิภัชชวาท ดังจะได้อธิบายในรายละเอียดบทถัดไป ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ดังกล่าว ท าให้มีการแสวงหาและการกระจ่ายข่าวสารข้อมูล รวมทั้งการเรียนรู้สะดวกง่ายและรวดเร็วในหลายรูปแบบวิถีชีวิตต้อง ผูกพันอยู่กับความเจริญด้าน วัตถุ ผู้คนต้องประสบกับอุปสรรคปัญหาชีวิตที่ท้าทายต่อการแก้ปัญหาอย่างฉับพลัน ค่านิยมของคน ส่วนใหญ่ จึงเป็นในด้านตีค่าทาง วัตถุสูงกว่าคุณธรรมเห็นคุณค่าของวัตถุว่าเป็นสิ่งจ าเป็น ส าหรับชีวิตจึงพยายาม กระท าสิ่งต่าง เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ต้องการโดยไม่ค านึงถึงผลเสียที่อาจเกิดขึ้นแก่ผู้อื่น เป็นผลให้สภาพ จิตใจด้านคุณธรรมจริยธรรมตลอดจน อุปนิสัยของประชาชนคนไทยเสื่อมสภาพลง สภาพสังคมที่เคยสงบ สุข มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่โอบอ้อมอารี กลายเป็น สังคมที่ผู้คนมีความเห็นอกเห็นใจกัน น้อยลงมีการเอา รัดเอาเปรียบกันมากขึ้นแฃละเห็นแก่ตัวอยู่แทบทุกหน ทุกแห่ง สภาพดังกล่าว ได้สร้างปัญหาการเสพสื่อ โดยเฉพาะเยาวชนไทย และคนทุกเพศทุกวัย มีสาเหตุของปัญหาทางด้าน การวางท่าทีต่อปัญหาไม่ ถูกต้อง เพราะขาดทักษะการคิด ขาดกระบวนการคิดที่ถูกต้องขาดการคิดที่แยบคายหรือแม้กระทั่งไม่ พยายามคิด ซึ่งปัญหาการคิดนี้ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาอย่างมากมาย ความประพฤติและผลกระทบ ต่อสังคมระดับชาติ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้สนใจที่จะศึกาการประยุกต์ใช้หลักโยนิโสมนสิการในการแก้ไขปัญหา การเสพ สื่อเทคโนโลยีในสังคมไทย เพื่อต้องการศึกษาให้เข้าใจในหลักโยนิโสมนสิการที่คนทุกเพศทุกวัย ควรมีการ เรียนรู้ตระหนักถึงสภาพและปัญหาของการเสพสื่อเทคโนโลยี รวมถึงหาแนวทางการ ประยุกต์ใช้หลัก โยนิโสมนสิการในการแก้ไขปัญหาการเสพสื่อเทคโนโลยีในสังคมไทยต่อไป วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วมส าหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดแบบโยนิโสมนสิการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม เรื่อง การคิดแบบโยนิโสมนสิการ
แนวคิด ทฤษฎี กรอบแนวคิด นครรัฐ โชติพรม (2562: 108-113) ได้ท าการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการคิด แบบโยนิโส มนสิการ ในรายวิชาพระพุทธศาสนา ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โดยมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธีคิด ในรายวิชาพระพุทธศาสนา 2) ประเมินทักษะ การคิด แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธีคิด 3) หาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้ แบบโยนิโสมนสิการ 4) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ โยนิโสมนสิการและ 5) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนที่ก าลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนมวกเหล็กวิทยา จังหวัดสระบุรีจ านวน 29 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่าง แบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ ในรายวิชา พระพุทธศาสนา มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.51) 2) แบบประเมินทักษะการคิด แบบโยนิโส มนสิการ 10 วิธีคิด มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่0.67-1.00 3) แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาพระพุทธศาสนา มีค่าความยากง่าย (p) ระหว่าง 0.26-0.80 และมีค่าอ านาจจ าแนก (r) ระหว่าง 0.20-0.50 ซึ่งแบบทดสอบชุดนี้มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.91 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.72 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ หาค่าดัชนีประสิทธิผล หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธีคิด ในรายวิชาพระพุทธศาสนา ได้แผนการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธีคิด จ านวน 9 หน่วยการเรียนรู้ประกอบด้วย แผนการ จัดการเรียนรู้จ านวน 26 แผน 2) ผลการประเมินทักษะการคิด แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธีคิด ในรายวิชา พระพุทธศาสนาของนักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ได้คะแนนเฉลี่ย 2.60-3.00 3) ผลการหาค่าดัชนี ประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการมีค่าเท่ากับ 0.75 แสดงว่านักเรียนมี ความก้าวหน้าในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 75 4) ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน นักเรียนส่วนใหญ่ มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม และ 5 ) ผลการศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อมีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ แบบโยนิโสมนสิการ ในรายวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ( X = 4.58) นายคมสินธุ์ ต้นสีนนท์ (2561: 5-95) ได้ท าการวิจัย เรื่อง การจัดการเรียนรู้ตามหลักโยนิโส มนสิการในรายวิชาพระพุทธศาสนา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ต าบลสวน พริกไทย อ าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี โดยมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ ๑) เพื่อศึกษาการจัดการ เรียนรู้ตามหลักโยนิโสมนสิการ ในรายวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนหอ วัง ปทุมธานีต าบลสวนพริกไทย อ าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ๒) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ต าบลสวน พริกไทย อ าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีก่อนเรียนและหลังเรียน ตามหลักโยนิโสมนสิการ กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จ านวน ๑ ห้องเรียน คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๒/๘ จ านวน ๓๖ คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ๑) การจัดการเรียนรู้ตาม หลักโยนิโส มนสิการ ๒) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน วิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง “พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชนตัวอย่าง” ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน หอวัง ปทุมธานี ต าบลสวนพริกไทย อ าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี จ านวน ๕๐ ข้อ ๓) แผนการจัดการ
เรียนรู้วิชาวิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง “พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชนตัวอย่าง” จ านวน ๕ แผน ๆ ละ ๑ ชั่วโมง รวม ๕ ชั่วโมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่า (T-test) ผลการวิจัย พบว่า ๑.การจัดการเรียนรู้ตามหลักโยนิโสมนสิการ ในรายวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๒ โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ต าบลสวนพริกไทย อ าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี พบว่า ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มอย่างมีเหตุผล ส่งผลให้เกิดการพัฒนาด้านการคิด วิเคราะห์ได้อย่างเป็นระบบ คิดถูกวิธี คิดในแนวทางที่เป็นกุศล เป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม และ น าวิธีการคิดที่ถูกต้องไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ ๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง “พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชนตัวอย่าง” ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ต าบลสวนพริกไทย อ าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี พบว่า นักเรียนที่เรียน โดยใช้การจัดการ เรียน รู้ตามหลักโยนิโสมนสิการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รู้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ.๐๕ ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ พระพิทักษ์ อริยปุตฺโต (บุญทอง) (2560: 5-80) ได้ท าการวิจัย เรื่อง การสอนแบบโยนิโส มนสิการ วิชาพระพุทธศาสนา นักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น โรงเรียนวัดแม่เฉย จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมี จุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ ๑) เพื่อศึกษาการสอนแบบโยนิโสมนสิการ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดแม่เฉย อ าเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ๒) เพื่อเปรียบเทียบการสอนแบบโยนิโสมนสิการ นักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน วัดแม่เฉย อ าเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยหน่วย การเรียนรู้เรื่องวันส าคัญทาง พระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ๑) ประชากรที่ใช้ใน การศึกษาเรื่องนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ ๒ โรงเรียน วัดแม่เฉย อ าเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ ๒ จ านวน ๑๖ คน ๒) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเรื่องนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาชั้นปีที่ ๒ โรงเรียน วัดแม่เฉย อ าเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ จ านวน ๑๖ คนเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ๑.แผนการจัดการเรียนรู้การสอนแบบโยนิโสมนสิการวิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง วันส าคัญ ทางพระพุทธศาสนา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ จ านวน ๕ แผน แผนละ ๑ ชั่วโมง รวม เวลาเรียน ๕ ชั่วโมง ๒. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ก่อนเรียนกับหลังเรียน เรื่อง วันส าคัญ ทางพระพุทธศาสนา แบบคู่ขนาน จ านวน ชุดละ ๑๐ ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติเชิงอนุมาน คือการเปรียบเทียบ คะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการวิเคราะห์ความแตกต่างของกลุ่มตัวอย่าง (Paired Sample ผลการวิจัย พบว่า ๑. การสอนแบบโยนิโสมนสิการ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัด แม่เฉย อ าเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มอย่างมี เหตุผล น าเสนอ ซักถาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักโยนิโมนสิการได้เป็นอย่างดี ๒. นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑ เรื่องวันมาฆบูชา แผนการ จัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่องวันวิสาขบูชา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง วันอาสาฬหบูชา แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ ๔ เรื่องวันเข้าพรรษา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่องวันออก พรรษา มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่า คะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ ๑๐ นายธนัท อู๊ดน้อย (2558: 5-72) ได้ท าการวิจัย เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ ความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ เรื่อง แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และปัญหา
สังคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการ เรียนรู้ โดยการสร้างศรัทธา และโยนิโสมนสิกา โดยมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และปัญหาสังคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการ เรียนรู้โดย การสร้างศรัทธา และโยนิโสมนสิการ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโส มนสิการ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยการสร้าง ศรัทธา และโยนิโสมนสิการ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการ เรียนรู้โดยการสร้างศรัทธา และโยนิโส มนสิการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนวัดบวรมงคล เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 จ้านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการ จัดการเรียนรู้ เรื่อง แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และปัญหาสังคม 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และปัญหา สังคม 3) แบบทดสอบวัด ความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของ นักเรียนต่อการจัดการ เรียนรู้โดยการสร้างศรัทธา และโยนิโสมนสิการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ( ˉx ) ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test for dependent) และ การ วิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม และปัญหาสังคม ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนด้วยการจัดการ เรียนรู้โดยการสร้างศรัทธา และโยนิโสมนสิการ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนด้วย การ จัดการเรียนรู้โดยการสร้างศรัทธา และโยนิโสมนสิการ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 3. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยการสร้างศรัทธา และโยนิโส มนสิการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ศุภวรรณ ศุภกิจวัฒนา (2550: 2-67) ได้ท าการวิจัย เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์และคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ที่ได้รับการสอนแบบโยนิโสมนสิการ โดยเน้น วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ โดยมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์และคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ที่ได้รับการสอนแบบ กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2549 โรงเรียนมัธยมนาค นาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร จ านวน 1 ห้องเรียน นักเรียนทั้งหมด 40 คน ซึ่งได้มาจาก การสุ่มตัวอย่าง อย่าง ง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับฉลากมา 1 ห้องเรียน จาก 5 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ โดยเน้นวิธีคิดแบบแยกแยะ ส่วนประกอบ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์แบบทดสอบวัด คุณธรรมจริยธรรม โดยใช้แบบแผนการทดลองเป็นแบบ One Group Pretest – Posttest Design สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ใช้วิธีการทางสถิติแบบ t – test Dependent Samples ผลการวิจัย พบว่า 1. นักเรียนที่ได้รับ การสอนแบบโยนิโสมนสิการโดยเน้นวิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สูงขึ้น อย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 2. นกเรียน ที่ได้รับการสอนแบบ โยนิโสมนสการโดยเน้นวิธีคิดแบบแยกแยะ ส่วนประกอบ มีคุณธรรมจริยธรรมสูงขึ้น อย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .01
วิธีด ำเนินกำรวิจัย 1. ขั้นเตรียมก่อนการทดลอง เตรียมกลุ่มตัวอย่าง โดยการจัดท าบัญชีรายชื่อนักเรียน จัดท า ตารางก าหนดวันเวลาในการทดลอง พร้อมทั้งท าเรื่องขออนุญาตทางโรงเรียน จัดเตรียมสถานที่และ เครื่องมือในการทดลอง 2. ขั้นด าเนินการทดลอง ให้กลุ่มตัวอย่างท าแบบทดสอบก่อนเรียน(Pret est) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และได้วิเคราะห์คุณภาพแล้ว ท าการทดลอง โดยให้กลุ่มตัวอย่างเรียนโดยการใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม เรื่อง การคิดแบบโยนิโสมนสิการ ให้กลุ่มตัวอย่างท าแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ซึ่งกระท าทันที เมื่อสิ้นสุดการเรียน ซึ่งแบบทดสอบหลังเรียนเป็นแบบทดสอบข้อเดียวกันกับแบบทดสอบก่อนเรียน แต่มี การสลับข้อ ให้กลุ่มตัวอย่างตอบความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โดยการใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม เรื่อง การคิดแบบโยนิโสมนสิการ ส าหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ผลกำรวิจัย 1. ความสามารถในการคิดแบบโยนิโสมนสิการส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการ ใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 93.83/91.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการคิดแบบโยนิ โสมนสิการส าหรับนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม เรื่อง การคิดแบบโยนิโสมนสิการ มีความพึงพอใจในการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.57) สรุปและอภิปรำยผล 1. ความสามารถในการคิดแบบโยนิโสมนสิการส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการ ใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 93.83/91.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้คือ 70/70 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ความสามารถในการคิดแบบโยนิโสมนสิการส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม ได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ และผู้ศึกษาได้ปรับปรุงแก้ไขให้ ตรงกับจุดประสงค์ สอดคล้องกับเนื้อหา เหมาะสม กับวัยของผู้เรียน โดยผู้ศึกษาได้ศึกษาหลักสูตร คู่มือ เนื้อหา และวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ และด าเนินการสร้างตามหลักสูตรกรมวิชาการ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2554 : 1-91) และได้สร้างแบบฝึกเสริมทักษะตามขั้นตอนที่จัดไว้อย่างเป็น ระบบ โดยเริ่มจากการศึกษาเอกสาร วิเคราะห์เนื้อหา และทักษะที่เป็นปัญหาออกเป็นเนื้อหาย่อย ๆ แล้วด าเนินการสร้าง ตามหลักการสร้างแบบฝึกทักษะที่ดี (อมรรัตน์ คงสมบูรณ์. 2546 : 23; สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์. 2549 : 52-62) อีกทั้งได้น าเอากิจกรรมต่าง ๆ มาช่วยเสริมและ จัด ให้สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน เนื่องจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เป็นนักเรียนในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนั้นกิจกรรมที่ใช้ในแบบฝึกเสริมทักษะจึงเน้นรูปภาพเพื่อให้ผู้เรียนสนใจ ที่จะ เรียนรู้มากขึ้น (สุนันทา สุนทรประเสริฐ. 2544 : 16-17) ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ นครรัฐ โชติพรม (2562: 108-113) ได้ท าการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการคิด แบบโยนิโสมนสิการ ในรายวิชา
พระพุทธศาสนา ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจัยพบว่า ผลการประเมินทักษะการคิด แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธีคิด ในรายวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีได้คะแนน เฉลี่ย 2.60-3.00 3) ผลการหาค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการมีค่า เท่ากับ 0.75 แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 75 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการคิดแบบโยนิโส มนสิการส าหรับนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ทักษะการคิดแบบโยนิโสมนสิการส าหรับนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการมี ส่วนร่วม ได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ และผู้ศึกษาได้ปรับปรุงแก้ไขให้ตรงกับจุดประสงค์ สอดคล้องกับเนื้อหา เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดยผู้ศึกษาได้ศึกษาหลักสูตร คู่มือ เนื้อหา และ วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ และด าเนินการสร้างตามหลักสูตรกรมวิชาการ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2554 : 1-91) จึงส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งผลการ ทดสอบที่ได้มีความน่าเชื่อถือ เนื่องมาจากเครื่องมือที่ใช้คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นได้รับการ ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไข ประเมินตรวจสอบคุณภาพความเหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญ และได้ด าเนินการ เป็นขั้นตอนอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์หาดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบและจุดประสงค์การ เรียนรู้ (IOC) และสาระการเรียนรู้ จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และศึกษาเอกสารการจัดท าแบบฝึกเสริมทักษะ การวัดผลประเมินผลจนเข้าใจ และน าความรู้มาสร้าง แบบทดสอบ ตลอดจนน าไปทดลองใช้ (Try out) แล้วน าแบบทดสอบมาวิเคราะห์หาคุณภาพก่อนที่จะ น าไปใช้จริง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ นายคมสินธุ์ ต้นสีนนท์ (2561: 5-95) ได้ท าการวิจัย เรื่อง การจัดการเรียนรู้ตามหลักโยนิโสมนสิการในรายวิชาพระพุทธศาสนา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ต าบลสวนพริกไทย อ าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนาเรื่อง “พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชน ตัวอย่าง” ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหอวัง ปทุมธานีต าบลสวนพริกไทย อ าเภอเมือง ปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี พบว่า นักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดการ เรียน รู้ตามหลักโยนิโสมนสิการมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รู้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ.05 ซึ่งสอดคล้องกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการใช้กิจกรรมการมีส่วน ร่วม เรื่อง การคิดแบบโยนิโสมนสิการ มีความพึงพอใจในการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก การจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วม เรื่อง การพัฒนาทักษะการคิดแบบโยนิโสมนสิการส าหรับ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นมีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรมที่เหมาะสม หลากหลาย และเร้าใจ มีภาพสีประกอบชัดเจน สวยงาม ใช้ภาษาเข้าใจง่าย และ ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของตนเอง ไม่ต้องรีบเร่ง ตรงกับความต้องการของตนเอง จึงท าให้ นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ นครรัฐ โชติพรม (2562: 108-113) ได้ท าการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการคิด แบบโยนิโสมนสิการ ในรายวิชา พระพุทธศาสนา ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการวิจัยพบว่า ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน
ที่มีต่อมีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ ในรายวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียน ส่วนใหญ่อยู่ใน ระดับพึงพอใจมากที่สุด ( X = 4.58) ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะส ำหรับกำรน ำไปใช้ 1.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรให้ค าแนะน า ดูแลอย่างใกล้ชิด และคอยกระตุ้นให้ นักเรียนมีส่วนร่วม แสดงความคิดเห็น โดยครูกล่าวน าเพื่อสร้างความมั่นใจให้นักเรียน และแสดงความ ชื่นชมในผลการเรียนของนักเรียน 1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วม ไม่ควรก าหนดเวลาให้ นักเรียนท ากิจกรรมการเรียนรู้ให้เสร็จภายในเวลาที่ก าหนด ควรให้นักเรียนได้อ่านและท าแบบฝึกหัดนอก เวลา เช่น ท าการบ้านเสริมนอกเวลาเรียน เป็นต้น 2. ข้อเสนอแนะในกำรวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ส าหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม หลาย ๆ เรื่อง และท าต่อเนื่องทุกระดับชั้น 2.2 ควรน าการคิดแบบโยนิโสมนสิการ โดยการใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วมไปใช้ร่วมกับ เทคนิคการสอนแบบอื่น ๆ เช่น กิจกรรมกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบสาธิต การสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ การสอนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ฯลฯ เอกสำรอ้ำงอิง พระพรหม คุณากรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2550). โยนิโสมนสิกำรวิธีคิดตำมหลักพุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟ ฟริ้นท์. พระมหาสุรศักดิ์มุ่งซ้อนกลาง. (2557). กำรศึกษำผลกำรเรียนรูและกำรคิดแบบคุณโทษและทำงออก เรื่อง หลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโส มนสิการ (วิทยานิพนธ์). มหาวิทยาลัยศิลปากร.พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2547). คิดถูก คิดเป็น. กรุงเทพมหานคร: งานบุญกลุ่มขันธ์ห้า เดือน กุมภาพันธ์. วรรณดาว ศูนย์กลาง. (2550). ผลของกำรฝึกคิดแบบโยนิโสมนสิกำรโดยผ่ำนกิจกรรมกลุ่ม สัมพันธ์เพื่อลดพฤติกรรมก้ำวร้ำงของเยำวชนที่มีระดับสติปัญญำแตกต่ำงกันในศูนย์ฝึกและ อบรมเด็กและ เยำวชนชำย บ้ำนกรุณำ (วิทยำนิพนธ์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิเชียร อินทรสมพันธ์. (2551). การเห็นคุณค่าในตนเอง. วำรสำรสำรสนเทศ, 9 (1). ศศิวิมล อินทปัตถา และเดชา จันทคัต. (2561). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส มนสิการร่วมกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2. วำรสำรกำรวัดผลกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม, 24(2), 209-223. กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). กรอบมำตรฐำนกำรเรียนรู้ และสำระ กำรเรียนรู้หมวดวิชำพัฒนำสังคมและชุมชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว. โกศล สินกิ่ง. (2548). ผลกำรใช้กระบวนกำรเผชิญสถำนกำรณ์ในกำรสอนเรื่อง พระธรรม กลุ่ม
สำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำ ปีที่ 4 วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ศ ษ . ม . ( ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก า ร ส อ น ) . น น ท บุ รี : บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. จรัสศรี ศรีรัตนวิบูลย์. (2548). กำรพัฒนำกระบวนกำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณโดยใช้กระบวนกำร เผชิญสถำนกำรณ์ในวิชำสังคมศึกษำของนักเรียนชั#นประถมศึกษำปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ทิศนา แขมมณีและคณะ. (2540). กำรคิดและกำรสอนเพื่อพัฒนำกระบวนกำรคิด. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย