The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pinnaradang, 2021-03-24 02:42:21

สื่อเรียนเสมือนจริง

วิชาคณิตศาสตร์

วทิ ยาการวิจยั และวทิ ยาการปญั ญา ปที ่ี 15 ฉบบั ท่ี 2, กรกฎาคม - ธนั วาคม 2560
Research Methodology & Cognitive Science, Vol.15, No.2, July - December 2017

การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ในช้ันเรยี นโดยประยุกต์กระบวนการประเมนิ
เพือ่ พัฒนาผเู้ รียนส�ำ หรับนกั เรยี นระดับประถมศึกษา
Designing Classroom Learning Activity by Implementing a Formative
Assessment Process for Primary School Students

รวชิ ญุฒม์ ทองแมน้ 1* สชุ าดา กรเพชรปาณี 1 ปิยะทพิ ย์ ประดุจพรม 1
Rawichayuth Thongmaen 1*, Suchada Kornpetpanee 1, Piyathip Pradujprom 1

1 College of Research Methodology and Cognitive Science, Burapha University, Thailand

บทคัดยอ่

กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชนั้ เรยี นควรดำ� เนนิ การควบคไู่ ปพรอ้ มกบั การประเมนิ การวจิ ยั นจ้ี งึ มจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ ออกแบบ
กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชนั้ เรยี นโดยประยกุ ตก์ ระบวนการประเมนิ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นสำ� หรบั นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา
และเพอื่ ศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ พ่ี ฒั นาขน้ึ โดยกระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม
พจิ ารณาจากความเข้าใจของครใู นการออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ การวิเคราะหพ์ ฤติกรรมทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป ไดแ้ ก่
พฤตกิ รรมการสอนของครแู ละการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น ปฏสิ มั พนั ธใ์ นชน้ั เรยี นระหวา่ งครกู บั นกั เรยี นและระหวา่ งนกั เรยี น
กบั นกั เรยี น และผลการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น กลมุ่ เปา้ หมายเปน็ ครู จำ� นวน 5 คน นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จำ� นวน
14 คน โรงเรียนบา้ นเกาะแกว้ และครู จ�ำนวน 8 คน นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 จ�ำนวน 21 คน โรงเรยี นบา้ นดู่
จงั หวดั สรุ นิ ทร์ เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดแ้ ก่ แบบสอบถาม แบบวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมการเรยี นรใู้ นชนั้
เรียนจากการบันทึกวีดิทศั น์ และแบบสมั ภาษณ์ วิเคราะหข์ อ้ มลู เชงิ ปริมาณด้วยคา่ เฉลี่ยและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
ขอ้ มลู เชิงคุณภาพใช้การวเิ คราะหเ์ นือ้ หา ผลการวิจยั ปรากฏดงั น้ี

1. กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี นทบ่ี รู ณาการกบั การประเมนิ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นมี 6 ขน้ั ไดแ้ ก่ 1) กำ� หนดเปา้ หมาย
การเรียนรู้ 2) ก�ำหนดเกณฑ์ความสำ� เร็จในการเรยี นรู้ 3) ปฏิบัตกิ ิจกรรมและระบหุ ลักฐานการเรยี นรู้ 4) ประเมินผล
จากหลกั ฐานการเรียนรู้ 5) ใหข้ ้อมูลป้อนกลับ และ 6) สรุปผลการเรยี นรู้

2. หลกั การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรมู้ ี 7 ประการ ไดแ้ ก่ 1) เปดิ ประเดน็ ปญั หานา่ สนใจ ชวนใหอ้ ยากรู้ คน้ ควา้
ตอ่ 2) ไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองและรว่ มคดิ แกป้ ญั หากบั กลมุ่ 3) สรา้ งสรรคผ์ ลงานรว่ มกนั 4) เชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ จรงิ และ
ใชส้ อื่ ในทอ้ งถน่ิ 5) บรู ณาการเนอื้ หาวชิ า 6) สมั พนั ธก์ บั การทำ� งานของสมองสองซกี และ 7) กจิ กรรมทม่ี ลี กั ษณะเชงิ รกุ

3. กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่พี ัฒนาขนึ้ ประกอบดว้ ย 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ในระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 และปีท่ี
4 จำ� นวน 24 รายวชิ าท่ีมีคุณภาพเหมาะสมและสามารถน�ำไปใชจ้ ัดกิจกรรมการเรียนรไู้ ด้

4. ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ีพ่ ฒั นาข้ึนทำ� ใหก้ ารจดั การชนั้ เรยี นเปน็ แบบเคลือ่ นไหว เกดิ การเรียนรูร้ ่วมกนั
ส่งผลให้พฤติกรรมการสอนของครูและการเรียนรู้ของนักเรียนเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน มีปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน
ระหว่างครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนกับนักเรียนมากข้ึน และนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิสูงข้ึน รวมท้ังนักเรียน ครู
ผปู้ กครองและผ้บู ริหารมเี จตคติทดี่ ีมากตอ่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ค�ำสำ� คญั : การประเมินเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รียน, การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้, การเรียนร้แู บบร่วมมอื

*Corresponding author. E-mail: [email protected]
133

รวชิ ญุฒม์ ทองแมน้ และคณะ/ การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ในชั้นเรยี นโดยประยกุ ตก์ ระบวนการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น

ABSTRACT

Appropriate learning activities must be designed and conducted together with an assessment
process. Therefore, this research aimed to design the classroom learning activities by implementing
a formative assessment process for primary school students and to investigate the effectiveness
of classroom learning activities developed by the researcher. The outcomes were considered from
the understanding of teachers in designing activities, the results of analytical review of teaching
and learning behaviors, the interaction in a classroom between teacher and students, students and
students, and the learning outcomes from students who participated in the learning activities. The
target group consisted of 5 teachers and 14 grade-one students from Ban Kokaew School and 8
teachers and 21 grade-four students from Ban Du School, Surin Province. The research instruments
included the assessment of understanding in designing activities form, the classroom behavior
analysis form for assessing the target behaviour from video recording, and the interview form. Data
analyses were done by using means and standard deviations. The qualitative data were analyzed
by means of content analysis.

Results were as follows:
1. The classroom learning activities which integrated with formative assessment composed of six
steps; 1) setting learning goals, 2) setting learning success criteria, 3) performing the activities and
finding/considering the learning outcome evidence, 4) assessing the learning outcomes, 5) providing
learning feedback, and 6) summarizing the learning outcomes.
2. The designing of classroom learning activities comprised seven principles; 1) initiating
interesting problem, motivating curiosity, and searching for answer, 2) performing tasks by themselves
and brainstorming with the group, 3) creating and mutually contributing to the projects, 4) liking
to real-life situation and utilizing local medium, 5) integrating the subject contents, 6) relating to
brain functions, and 7) active learning activities.
3. The developed classroom learning activities consisted of eight modules (24 subjects) for
grade one and four students were suitable to be used.
4. The outcomes of the developed classroom learning activities brought about dynamic classrooms
and mutual learning. These changes improved teachers’ teaching and students’ learning behaviors.
Furthermore, the classroom interaction between teacher and students and among students groups
were also enhanced as well as students’ academic achievement. In addition students, teachers,
parents, and school principal have more positive attitudes toward learning activities.
Keywords: formative assessment, designing classroom learning activities, cooperative learning

134

วทิ ยาการวิจยั และวิทยาการปัญญา ปที ี่ 15 ฉบับท่ี 2

ความนำ� โรงเรยี น (เอกพนั แปน้ ไทย, 2559; พชิ ติ ฤทธจ์ิ รญู , 2559)
การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative
สภาพปจั จบุ นั การจดั การเรยี นการสอนในระบบการ
ศึกษาของประเทศไทย ส่วนใหญ่ครูจะให้ความส�ำคัญ assessment) เป็นการประเมินท่ดี �ำเนนิ การโดยครแู ละ
กับการสอนเน้ือหาสาระความรู้มากกว่าวิธีการแสวงหา นักเรียนในระหว่างการเรียนการสอนเพื่อให้ได้ข้อมูล
ความรู้ โดยสอนเน้อื หาสาระเกินหลักสูตร เปล่ยี นแปลง สำ� หรบั ปรบั ปรงุ การสอนของครแู ละปรบั ปรงุ การเรยี นของ
ไมไ่ ด้ แทจ้ รงิ แลว้ สว่ นสำ� คญั ของหลกั สตู รคอื คณุ ลกั ษณะ ผเู้ รยี น การทจ่ี ะทำ� ใหก้ ารประเมนิ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นประสบ
ที่ต้องการให้เกิดกับนักเรียนโดยมีสาระการเรียนรู้ท่ีเป็น ความสำ� เรจ็ ตอ้ งเกดิ จากความรว่ มมอื ของครกู บั นกั เรยี นซงึ่
เครอื่ งมอื นำ� พานกั เรยี นไปสกู่ ระบวนการพฒั นาคณุ ลกั ษณะ ครจู ะตอ้ งปรบั เปลยี่ นการสอนจนกระทงั่ นกั เรยี นสามารถ
ซง่ึ เนอื้ หาสาระเปน็ สว่ นทเ่ี ปลยี่ นแปลงไดแ้ ละตอ้ งเปลย่ี น เขา้ ใจหรอื เกดิ การเรยี นรบู้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ (McMillan,
ใหส้ อดคลอ้ งกบั นกั เรยี นเพอื่ สรา้ งคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ 2008) และดำ� เนนิ การในหอ้ งเรยี นทกุ วนั ทำ� ใหก้ ารประเมนิ
ใหเ้ กดิ กบั นกั เรยี น ดว้ ยเหตนุ ร้ี ฐั บาลจงึ ไดก้ ำ� หนดนโยบาย มสี ว่ นสำ� คญั ในการจดั การเรยี นรทู้ กุ เวลาในหอ้ งเรยี น (โชตมิ า
ท่ีชัดเจนว่า ต้องปฏิรูปห้องเรียนและปฏิรูปกิจกรรมการ หนพู รกิ , 2557) วจิ ารณ์ พานชิ (2557) กลา่ ววา่ กระบวนการ
เรียนรู้ ท้ังนี้จะต้องอาศัยความเข้าใจและความร่วมมือ เรียนรู้ควรเป็นกระบวนการท่ีครูจัดบรรยากาศการเรียน
จากทุกฝ่าย ผู้บริหารต้องสนใจให้การสนับสนุนและให้ ให้นักเรียนได้เรียน เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับ
ความสำ� คญั ตอ้ งมกี ารนเิ ทศ ตดิ ตามเพอ่ื ใหข้ อ้ เสนอแนะ นักเรียน และนักเรียนกับครู กิจกรรมหรือกระบวนการ
หากผบู้ รหิ ารไมเ่ หน็ ความสำ� คญั กย็ ากทจ่ี ะเปลย่ี นแปลงได้ นี้มีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา เพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิในการ
การปฏิรูปห้องเรียนถ้าท�ำได้ก็จะเป็นจุดเปลี่ยนส�ำคัญที่ เรยี นรขู้ องนกั เรยี นโดยมผี ลของการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาการ
ทำ� ใหก้ ารศกึ ษาไทยมคี ณุ ภาพเทา่ เทยี มกบั นานาประเทศ เรยี นรเู้ ปน็ ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั (Feedback) สำ� หรบั ใชป้ รบั ตวั
ในประชาคมโลก (พนม พงษไ์ พบลู ย,์ 2558) ของครู ของนกั เรยี นแตล่ ะคน และของนกั เรยี นทง้ั ชน้ั ผใู้ ช้
ขอ้ มลู จากการประเมนิ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นคอื ครแู ละนกั เรยี น
การปฏริ ปู การเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี นจะประสบความสำ� เรจ็ ครูใช้เป็นข้อมูลปรับปรุงการสอน นักเรียนใช้เป็นข้อมูล
ได้จ�ำเป็นต้องปฏิรูปห้องเรียน ปฏิรูปส่ือเทคโนโลยีให้ ปรับปรุงการเรียน การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนจึงเป็น
ทันสมัย ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี ปรับ ตัวเชื่อมการสอนกับการเรียนเข้าหากัน ครูจะมีบทบาท
รูปแบบวิธีสอนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ ส�ำคัญยงิ่ กวา่ เดิม แต่ไมใ่ ชใ่ นฐานะผสู้ อนแต่ในฐานะผู้ฝกึ
มีคุณภาพโดยมุ่งเน้นนักเรียนเป็นส�ำคัญ ตลอดจนจัด ใหน้ กั เรยี นไดเ้ กดิ ทกั ษะทจ่ี ำ� เปน็ ซงึ่ ครตู อ้ งเปลย่ี นความคดิ
สภาพแวดลอ้ มในห้องเรยี นใหเ้ อือ้ ต่อการเรียนรู้ (จำ� ลอง ตอ้ งละทง้ิ ความยดึ มนั่ ถอื มนั่ ในเนอื้ หาวชิ าวา่ ถกู ทสี่ ดุ แลว้
เรียงศรีเจริญพร และสุวัฒน์ เงินฉ�่ำ, 2558; หริสา ปรับตัวมาสู่การเป็นผู้ออกแบบการเรียนรู้ต้ังค�ำถามเพ่ือ
ยงวรรณกร, สมชาย เทพแสง และถนัด อนนั ต,์ 2558) กระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นไดค้ ดิ และลงมอื ปฏบิ ตั ิ เพราะการลงมอื
ครจู ะตอ้ งเปลย่ี นบทบาทตนเองจากครผู สู้ อน (Teacher) ท�ำจะช่วยสนับสนุนให้นักเรียนได้เกิดทักษะการเรียนรู้
ไปเปน็ ครฝู กึ (Coach) และตอ้ งเรยี นรทู้ กั ษะการทำ� หนา้ ที่ (Learning skills) โดยการประเมนิ ตอ้ งมกี ารพฒั นาควบคู่
นโี้ ดยการรวมตวั กนั เปน็ กลมุ่ เพอ่ื เรยี นร้รู ่วมกนั อยา่ งเปน็ ไปกับการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน จึงจะท�ำให้
ระบบและต่อเนื่อง (วิจารณ์ พานิช, 2555) เพ่ือช่วยกัน เกิดประสิทธิผลมากขึ้น (สุเทพ อ่วมเจริญ, 2554) ซ่ึง
คิดออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน โรงเรยี นทใ่ี ชก้ ารประเมนิ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นจะชว่ ยพฒั นา
ใหม่ ๆ ควบคกู่ บั การวดั และประเมนิ ผลและใชส้ ารสนเทศ ความสามารถในการเรยี นรแู้ ละทำ� ใหน้ กั เรยี นประสบความ
จากการประเมนิ เพอ่ื ปรบั ปรงุ พฒั นาการจดั การเรยี นรขู้ อง ส�ำเร็จในการเรียนรู้ (OECD, 2005)
ครูและการเรยี นรขู้ องนักเรยี นท่ีมคี วามแตกตา่ งกัน และ
มคี วามเหมาะสมกบั บรบิ ทสงั คมและวฒั นธรรมของแตล่ ะ จากความส�ำคัญท่ีกล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจ

135

รวิชญฒุ ม์ ทองแมน้ และคณะ/ การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นร้ใู นชน้ั เรยี นโดยประยกุ ต์กระบวนการประเมนิ เพือ่ พัฒนาผู้เรยี น

พัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่ด�ำเนินการควบคู่กับ 2.4 วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีได้รับ
การประเมนิ การเรยี นรโู้ ดยประยกุ ตก์ ระบวนการประเมนิ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียนโดยประยุกต์
เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นสำ� หรบั นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา โดย กระบวนการประเมินเพือ่ พัฒนาผเู้ รียนที่พฒั นาขน้ึ
มุ่งศึกษากับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 และปีท่ี 4
ซึ่งเป็นระดับชั้นพื้นฐานของระดับประถมศึกษาตอนต้น กรอบแนวคิดการวิจยั
และตอนปลายตามล�ำดับ เพ่อื เปน็ การสร้างคุณลกั ษณะ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน เป็นกระบวนการ
พื้นฐานด้านการประเมินให้เกิดขึ้นกับนักเรียนเองและ เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนของผู้เรียนอย่าง
น�ำไปประยุกต์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองในช้ันที่ ต่อเน่ือง โดยการประเมินจะต้องได้รับการบูรณาการไป
สูงขึ้นต่อไป ผลการศึกษาน้ีจะท�ำให้เห็นถึงกระบวนการ กับการเรียนการสอนและเกิดขึ้นขณะการเรียนการสอน
เปลย่ี นแปลงการพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ก�ำลังด�ำเนินอยู่ (McMillan, 2008) ท้ังน้ีครูจ�ำเป็นจะ
แนวใหมใ่ นชนั้ เรยี นทคี่ รแู ละนกั เรยี นไดร้ ว่ มกนั ออกแบบ ต้องเรียนรู้และท�ำความเข้าใจเก่ียวกับหลักการ แนวคิด
การเรียนรแู้ ละเรยี นรู้ไปพร้อม ๆ กัน อันจะสง่ ผลใหเ้ กิด ตลอดจนวิธีปฏิบัติท่ีเก่ียวกับการประเมินผลเพื่อพัฒนา
การสรา้ งวฒั นธรรมใหมใ่ นการเรยี นรใู้ นชนั้ เรยี นทพ่ี ฒั นา ผู้เรียนเพ่อื ให้การประเมนิ เกิดประสิทธิผล ซึ่งการจัดการ
ผเู้ รยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายการปฏริ ปู การเรยี นรขู้ อง เรยี นรดู้ งั กลา่ วอาศยั แนวคดิ ทพ่ี ฒั นาขน้ึ จากทฤษฎตี า่ ง ๆ
ประเทศอยา่ งแท้จริง ประกอบดว้ ย
1. กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนของ
วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย Heritage (2010) ประกอบด้วย การก�ำหนดเป้าหมาย
1. เพ่ือออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนโดย การเรียนรู้และเกณฑ์ผลส�ำเร็จ ระบุหลักฐานการเรียนรู้
ประยุกต์กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนส�ำหรับ การตีความหลักฐาน ระบุความแตกต่างระหว่างสถานะ
นกั เรยี นระดับประถมศกึ ษา ทงั้ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ปจั จบุ นั ของผเู้ รยี นกบั เปา้ หมายการเรยี นรู้ ใหข้ อ้ มลู ปอ้ น
2. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้ กลบั ปรบั การเรยี นการสอนใหเ้ หมาะกบั ความตอ้ งการของ
ในช้นั เรียนโดยประยุกตก์ ระบวนการประเมนิ เพอื่ พัฒนา ผเู้ รยี น สรปุ ผลการเรยี นรใู้ หม่ และปิดช่องว่าง
ผเู้ รยี น สำ� หรบั นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาทพี่ ฒั นาขนึ้ โดย 2. ความรแู้ ละทกั ษะของครทู จี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั การประเมนิ
2.1 วเิ คราะหค์ วามเขา้ ใจของครใู นการออกแบบ เพ่ือพฒั นาผู้เรยี น (Bailey & Heritage, 2008) ดังนี้ 1)
กิจกรรมการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ ประกอบดว้ ย (1) ความรเู้ นอ้ื หาทจ่ี ะสอน (2)
2.2 เปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมในชน้ั เรยี นของครแู ละ ความรเู้ กย่ี วกบั การรคู้ ดิ ของผเู้ รยี น ไดแ้ ก่ แรงจงู ใจในตนเอง
นกั เรียน ระหว่างการสอนแบบเดมิ กับการสอนแบบใหม่ และการก�ำกับตนเอง (3) ความรู้เก่ียวกับวิธีการสอนใน
ที่พฒั นาข้ึนน้ี ในประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ เนอ้ื หานนั้ ๆ (4) ความรเู้ กย่ี วกบั พนื้ ความรขู้ องผเู้ รยี น และ
2.2.1 วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมการสอนของครู (5) ความรเู้ กยี่ วกบั การประเมนิ 2) ดา้ นทกั ษะ ประกอบดว้ ย
2.2.2 วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมการเรยี นของนกั เรยี น (1) ทกั ษะการตคี วามหลกั ฐาน (2) ทกั ษะการเลอื กวธิ สี อน
2.2.3 วเิ คราะหป์ ฏสิ มั พนั ธใ์ นชน้ั เรยี นระหวา่ ง ทเ่ี หมาะสมกบั ผเู้ รยี น (3) ทกั ษะการใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั (4)
ครกู ับนักเรียน ทักษะการสอนใหน้ กั เรียนรู้คิด และ (5) ทักษะการสอน
2.2.4 วเิ คราะหป์ ฏสิ มั พนั ธใ์ นชน้ั เรยี นระหวา่ ง วธิ กี ารประเมินกลมุ่ เพอื่ น
นกั เรยี นกบั นกั เรียน 3. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ใช้แนวคิด
2.3 วเิ คราะหเ์ จตคตติ อ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี น ของ Joyce and Weil (1996) ซ่ึงเป็นรูปแบบการ
รใู้ นชน้ั เรยี นโดยประยกุ ตก์ ระบวนการประเมนิ เพอื่ พฒั นา สอนด้วยกระบวนการทางสังคม (Social family) เป็น
ผเู้ รยี นทพ่ี ฒั นาขน้ึ ของนกั เรยี น ครู ผปู้ กครอง และผบู้ รหิ าร รูปแบบการสอนท่ีต้องอาศัยกระบวนการกลุ่มหรือต้อง

136

วิทยาการวิจัยและวทิ ยาการปัญญา ปที ่ี 15 ฉบบั ที่ 2

มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จึงจะท�ำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ศกึ ษา (STEM education) และการเรียนรู้โดยใชส้ มอง
ได้ เช่น มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือร่วมกับผู้อ่ืน เป็นฐาน (Brain-based learning)
ในการค้นคว้าหาความรู้ รูปแบบการสอนแบบน้ีได้แก่ จากแนวคิดท่ีกล่าวมาข้างต้นน�ำมาสังเคราะห์เป็น
รวิชญกุฒารมเ์ รทียอนงแรมู้แ้นบแบลระ่วคมณมะอื/ ก(าCรoออllกaแbบoบrกaิจtกivรeรมlกeาaรเrรnยี iนnรgใู้ )นชก้นัาเรรยี นโดขย้ันปตระอยนกุ กตา์กระจบัดวกนากราเรรปียรนะเกมานิ รเพส่อื อพนัฒในนาชผ้ันูเรเียรนียน (ภาพท่ี 1)
แสดงบทบาทสมมติ การเลน่ เกม เปน็ ตน้ และการจดั การ และหลกั การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกบั
เรยี นรทู้ เี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั การเรยี นรแู้ บบสรา้ งความรู้ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรยี น ไดด้ งั ต่อไปนี้
(Constructive learning) การเรียนรู้ตามแนวสะเต็ม

ขน้ั ที่ 1
กาํ หนดเป้าหมายการเรียนรู้

ข้นั ที่ 6 ข้นั ท่ี 2
สรุปผลการเรยี นรู้ กาํ หนดเกณฑ์ความสาํ เร็จ

ขัน้ ท่ี 5 ในการเรยี นรู้
ให้ข้อมูลป้อนกลับ ขัน้ ท่ี 3
ปฏบิ ตั ิกิจกรรม และ
ขัน้ ที่ 4 ระบุหลกั ฐานการเรยี นรู้
ประเมนิ ผลจากหลกั ฐานการเรียนรู้

หลักการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้
1. เปิดประเด็นปัญหาน่าสนใจ ชวนใหอ้ ยากรู้ ค้นคว้าตอ่ 5. บรู ณาการเนอ้ื หาวชิ า
2. ได้ลงมอื ปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองและร่วมคดิ แกป้ ัญหากบั กลุ่ม 6. สัมพันธ์กบั การทาํ งานของสมองสองซีก
3. สรา้ งสรรค์ผลงานรว่ มกนั 7. กิจกรรมท่มี ลี ักษณะเชงิ รุก
4. เชือ่ มโยงกบั ชีวิตจรงิ และใช้ส่ือในทอ้ งถนิ่

ภาพภาทพี่ 1ท่ีก1จิ กกรจิ รกมรกรามรกเารรยี เนรียรใู้นนรชใู้ นนั้ ชเร้นั ยี เนรียโดนยโดปยระปยรุกะยตุกก์ ตระ์กบระวบนกวนารกปารระปเรมะินเมเพินอื่ เพพือ่ฒั พนฒั าผนู้เารผยี เู้ นรยี 6นข6ั้นข้นั
จากภาพท่ี 1 ผวู้ จิ ยั ไดส้ งั เคราะหเ์ ปน็ ขนั้ ตอนการจดั ขน้ั ท่ี 2 กำ� หนดเกณฑค์ วามสำ� เรจ็ ในการเรยี นรู้ เปน็
กิจกรรมจกาากรภเราียพนทรู้ใี่ น1ชผ้ันู้วเริจียัยนไทดี่บ้สูรังณเคารกาาะรหก์รเปะบ็นวขน้ันกตาอรนกาขรนั้ จทัดคี่ กรตูิจอ้ กงรแรจมง้ เกณารฑเค์รีวยานมรสู้ใำ� นเรชจ็ ั้นในเกรีายรนเรทยี ี่บนูรใู้ณหนา้ กั เารรยี น
กระปบรวะนเกมานิ รเปพรื่อะพเฒัมินนเาพผอ่ื ู้เรพยี ฒั นนเปาน็ผ้เู ร6ยี ขน้นั เปมน็ รี า6ยขลั้นะเมอียราดยดลังะนเ้ีอยี ดรดบั งั ทนร้ี าบรว่ มกนั วา่ นกั เรยี นจะตอ้ งสามารถทำ� อะไรได้ ใน
ขนั้ ขท้ันี่ 1ทก่ี ำ�1หกนําดหเปนา้ ดหเมปา้ายหกมาราเยรกยี นาร้เู เรปียน็ นขรนั้ ู้ ทเปคี่ ็นรรู ขะ้ันบทุ ่ีครรูระะดบบั ุเใปด้าสหำ� หมราบัยการเเรรยี ียนนในรู้ทชว่ัีนโักมเงรนียี้ รนวทมุกทคง้ั เนปจดิ ะโอไดก้ราัสบให้
สาํ หเรปบั า้ กหามราเยรกยี านรใเนรยีชนวั่ โรมทู้ งน่ี นกั ้ี รเรวยี มนทท้ังกุเปคดินโจอะกไาดสร้ ใบั หสน้ ำ� ักหเรยีบั นกซารักถามนเกัพเ่อื รคียวนาซมักเถขา้ มใจเพตรือ่ งคกวนั ามเข้าใจตรงกนั
โนอักกเคเารรสีวยยี ใานนหมรใ้นเนับขักชขทา้ เวั่ใ้ันรรจโียาทมตบนงี่ร2ซรนง่วกัก้ี กรมนัถวํากามหมันทนเวพง้ั ด่าเื่อปเกนคดิ ณักวโอาเฑรมกีย์คเาขนวสา้าจใใหมะจน้สตตํกาั้อรเเงงรรกส็ยจี ันานใมนซากกั ราถถราทเมรําเียพอนะอ่ื รไู้รเไปดเ็นป้ ใขน็นั้นขรขน้ัทะน้ัท่ีคดทคี่รับรูต่ี ใ3จู ้ดอะปสงแแฏําจจหงบิ้ ใ้งรตัหเับกกิน้ กจิณกั ากเรฑรรยี เ์ครนรมวียทแานรมลาใสะบนรําวชะเา่ ่ัวรบน็โจหุมกัใลนงเรนกักยี ี้ฐนารารจวนเะมรกตียทาอ้ น้ังรงเเรปรปู้ใฏยีหิดบิน้ ตัริู้

137

รวชิ ญุฒม์ ทองแมน้ และคณะ/ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียนโดยประยุกตก์ ระบวนการประเมินเพื่อพฒั นาผเู้ รียน

กจิ กรรมอะไรในชวั่ โมงนี้ ซง่ึ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ จี่ ดั ในขนั้ นี้ รูปธรรม สื่อความหมาย สามารถกระตุ้นหรือเร้าความ
เป็นกิจกรรมที่อิงปัญหาเป็นฐานและยึดการเรียนรู้โดย สนใจใหน้ กั เรยี นอยากรู้ และทำ� ใหน้ กั เรยี นไดช้ ว่ ยกนั สบื คน้
ใช้สมองเป็นฐาน นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ เรียนรู้ร่วมกัน ความรหู้ รอื แสวงหาความรดู้ ว้ ยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย และ
และสร้างความรู้ร่วมกันตามหลักการออกแบบกิจกรรม เนน้ ใหน้ กั เรยี นไดค้ น้ ควา้ ดว้ ยสอ่ื อปุ กรณเ์ ทคโนโลยที คี่ รไู ด้
การเรยี นรู้ (7 ประการ) โดยทคี่ รจู ะตอ้ งสรา้ งความเขา้ ใจ จัดเอ้อื ไว้ภายในหอ้ งเรียน
ให้ชัดเจนแก่นักเรียนในเรื่องขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
ตอ่ จากนน้ั นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ลงมอื ปฏบิ ัตแิ ละน�ำผลงาน 2. ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและร่วมคิดแก้ปัญหา
ออกมาน�ำเสนอหน้าช้ันเรียนหรือแลกเปล่ียนเรียนรู้กับ กบั กลมุ่ ลกั ษณะกจิ กรรมคอื นกั เรยี นตอ้ งไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิ
กลุ่มอื่น ๆ ในขณะที่แต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมน้ัน ครู ดว้ ยตนเองทกุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ และรว่ มกนั คดิ แกป้ ญั หา
ต้องเดินสังเกตพฤติกรรมและปฏิสัมพันธ์ของนักเรียน ตามบทบาทหน้าที่ภายในกลุ่มให้ประสบความส�ำเร็จใน
ใหค้ ำ� ชแ้ี นะในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมแกท่ กุ กลมุ่ และคอยให้ การเรียนรู้ โดยมีครูเป็นผู้คอยให้ค�ำช้ีแนะหรือใช้ค�ำถาม
ความชว่ ยเหลอื ตอบข้อซักถามแก่นกั เรยี น กระตนุ้ การเรยี นรู้ ประเมนิ ผลจากชนิ้ งานและการปฏบิ ตั ิ
งานตามสภาพจริง และใหข้ ้อมูลปอ้ นกลบั แก่นกั เรียน
ข้ันท่ี 4 ประเมินผลจากหลักฐานการเรียนรู้ ขั้นนี้
จ�ำแนกวิธีการประเมินเป็น 2 ลักษณะคือ การประเมิน 3. สร้างสรรค์ผลงานร่วมกัน ลักษณะกิจกรรมคือ
โดยผู้สอน ซ่ึงครูจะประเมินหลักฐานการเรียนรู้โดยใช้ นกั เรยี นไดร้ ว่ มกนั คดิ วางแผน ออกแบบ แกป้ ญั หา ลงมอื
ค�ำถามหรือสังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ผลิตช้ินงานและสร้างสรรค์ผลงานขึ้นมาใหม่จากการได้
และการประเมินโดยผู้เรียน ซ่ึงนักเรียนจะประเมินผล เรียนในช่วั โมงนี้
งานของตนเอง และผลการประเมินโดยกลมุ่ เพื่อน ท้งั น้ี
หลกั ฐานของการเรยี นรทู้ ค่ี รแู ละนกั เรยี นใชใ้ นการประเมนิ 4. เชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ จรงิ และใชส้ อ่ื ในทอ้ งถน่ิ ลกั ษณะ
นนั้ ตอ้ งเปน็ ไปตามเกณฑค์ วามสำ� เรจ็ ในการเรยี นรทู้ ก่ี ำ� หนด กิจกรรมคือ เน้นการเชื่อมโยงเน้ือหาที่เรียนเข้ากับ
ไวต้ อนต้นชัว่ โมง ประสบการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ในชวี ติ ประจำ� วนั และมกี ารประยกุ ต์
สอื่ ของจรงิ ทห่ี าไดง้ า่ ยในทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ นชน้ั เรยี น หรอื เรยี น
ขนั้ ที่ 5 ให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั เปน็ ข้นั ที่ครูจะตอ้ งคอย รู้จากแหลง่ เรียนรใู้ นชุมชนใกล้โรงเรยี น
สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนตลอดระยะเวลา
การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการเรยี นรใู้ นขนั้ ท่ี 3 และใหค้ ำ� แนะนำ� 5. บรู ณาการเนอ้ื หาวชิ า ลกั ษณะกจิ กรรมคอื กจิ กรรม
และภายหลังจากการประเมินผลจากหลักฐานของการ ทที่ ำ� ใหน้ กั เรยี นรบั รแู้ ละมคี วามเขา้ ใจในเนอื้ หาวชิ าอน่ื ดว้ ย
เรยี นรแู้ ลว้ ในขนั้ ที่ 4 ครจู ะใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั อกี ครงั้ เพอื่ ไปในตัว โดยเนน้ ความเขา้ ใจศาสตรท์ ่ีเรียนในองค์รวม มี
ให้นักเรยี นเรียนรู้การพัฒนางานให้ดีขึน้ การเชอ่ื มโยงกบั เนอ้ื หาวชิ าอนื่ ๆ ทส่ี ามารถนำ� มาอธบิ าย
ร่วมกบั เน้อื หาท่ีเรยี นในชวั่ โมงนี้
ข้ันที่ 6 สรุปผลการเรียนรู้ เป็นขั้นที่ครูจะต้องจัด
กจิ กรรมทกี่ ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นไดช้ ว่ ยกนั สรปุ ผลการเรยี นรทู้ ี่ 6. สัมพันธก์ ับการท�ำงานของสมองสองซีก ลกั ษณะ
ไดจ้ ากการคน้ ควา้ ลงมอื ปฏบิ ตั แิ ละปรบั ปรงุ การเรยี นรตู้ าม กจิ กรรมคือ กิจกรรมทีม่ ีความสัมพนั ธ์กบั ความถนัดทาง
ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั โดยทคี่ รตู อ้ งตรวจสอบ ผลการเรยี นรใู้ ห้ สมองของนักเรียน โดยบูรณาการให้นักเรียนได้ใช้ความ
เป็นไปตามเปา้ หมายการเรียนรู้ทกี่ ำ� หนดไว้ สามารถในการทำ� งานของสมองทง้ั สองซกี ไปพรอ้ ม ๆ กนั

หลกั การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 7. กิจกรรมที่มีลักษณะเชิงรุก ลักษณะกิจกรรมคือ
1. เปดิ ประเดน็ ปญั หานา่ สนใจ ชวนใหอ้ ยากรู้ คน้ ควา้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติการและอยู่ในสภาพการจัดการ
ตอ่ ลักษณะกิจกรรมคือ เลือกเปิดประเด็นปัญหาท่ีใกล้ ชนั้ เรยี นทเ่ี คลอ่ื นไหวตลอดเวลา ภายในหอ้ งเรยี นมกี ารนำ�
ตวั นกั เรยี นมานำ� เขา้ สบู่ ทเรยี น เปน็ ประเดน็ ปญั หาทเี่ ปน็ เสนอผลงานด้วยวิธีท่ีหลากหลายต่อกลุ่มเพื่อน ๆ และ
แลกเปลี่ยนเรยี นร้ซู งึ่ กันและกัน

138

วทิ ยาการวจิ ัยและวิทยาการปญั ญา ปีที่ 15 ฉบบั ท่ี 2

วธิ ดี ำ�เนินการวจิ ัย (Professional Learning Community: PLC) โดยเชิญ
การน�ำกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน 6 ขั้น และ ครทู มี่ คี วามเช่ียวชาญในการสอนคอื นายภูษิต ผาสุก ครู
หลักการออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ 7 ประการที่ผู้วิจยั โรงเรยี นแตลศริ วิ ทิ ยา นายชชู ยั ประดบั สขุ ศกึ ษานเิ ทศก์
สงั เคราะหข์ น้ึ ไปทดลองใชใ้ นชนั้ เรยี นโดยกระบวนการวจิ ยั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 1
เชิงปฏิบัตกิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม ดำ� เนนิ การดงั น้ี ฝา่ ยวชิ าการโรงเรยี น และคณาจารยจ์ ากวทิ ยาลยั วทิ ยาการ
วิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา มาร่วม
กลมุ่ เป้าหมาย สนทนา แล้วน�ำไปตรวจสอบคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
1. ครทู กุ คนทส่ี อนในรายวชิ าของชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี และไปทดลองใช้ จากนั้นจึงน�ำไปจัดกิจกรรมการเรียน
1 ของโรงเรยี นบา้ นเกาะแกว้ จำ� นวน 5 คน และชน้ั ประถม การสอนตามขน้ั ตอนทอ่ี อกแบบไว้ ครผู สู้ อนจะไดร้ บั การ
ศึกษาปีที่ 4 ของโรงเรียนบ้านดู่ จ�ำนวน 8 คน อ�ำเภอ สังเกตช้ันเรียนจากผู้บริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์ ครู
ส�ำโรงทาบ จังหวัดสุรนิ ทร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา เชยี่ วชาญ อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั และสะทอ้ นผลกลบั เพอื่
2559 เหตุผลที่เลือกทั้งสองโรงเรียนเป็นกลุ่มเป้าหมาย ปรับปรุงการสอน
เนอื่ งจากผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นทงั้ สองโรง มคี วามยนิ ดแี ละ
อนญุ าตใหผ้ วู้ จิ ยั เขา้ ทำ� วจิ ยั ทโ่ี รงเรยี น และครยู นิ ยอมทจ่ี ะ เคร่อื งมอื ทใ่ี ชเ้ ก็บรวบรวมข้อมลู
เข้าร่วมโครงการเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ 1. แบบวดั ความเขา้ ใจของครใู นการออกแบบกจิ กรรม
การปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้ของโรงเรยี น การเรียนรู้ มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ “ใช่”
2. นักเรียนท่ีก�ำลังศึกษาภาคเรียนที่ 2 ปีการ และ “ไมใ่ ช”่
ศกึ ษา 2559 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 จ�ำนวน 14 คน ของ 2. แบบสัมภาษณ์ครู มีประเด็นสัมภาษณ์เก่ียวกับ
โรงเรียนบ้านเกาะแก้ว และช้ันประถมศึกษาปีที่ 4/2 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามขน้ั ตอน พฤตกิ รรมการสอน
จำ� นวน 21 คน ของโรงเรียนบา้ นดู่ เหตผุ ลทเี่ ลอื กทง้ั สอง ของตนทเ่ี ปลย่ี นไป ขอ้ คน้ พบทไี่ ดจ้ ากการสอน และปญั หา
ระดับช้ันนี้เป็นกลุ่มเป้าหมาย เพราะเป็นระดับช้ันเรียน อปุ สรรค
ปีแรกในระดับช้ันประถมศึกษาตอนต้นและช้ันประถม 3. แบบสมั ภาษณน์ กั เรยี น มปี ระเดน็ สมั ภาษณเ์ กยี่ วกบั
ศึกษาตอนปลาย ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียน วิธีการประเมิน
ผลงานในชนั้ เรยี น ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งนกั เรยี นกบั ครู และ
แบบแผนการวิจยั นกั เรียนกบั นักเรยี น
การวจิ ยั นด้ี ำ� เนนิ การตามกระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิ
การแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Action Research: 4. แบบสมั ภาษณผ์ ปู้ กครอง มปี ระเดน็ สมั ภาษณเ์ กยี่ วกบั
PAR) ผู้วิจัยลงพื้นท่ีเพ่ือปฏิบัติการวิจัยและร่วมมือกับ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีเปล่ียนไป
ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ฝา่ ยวชิ าการ ครู นกั เรยี นและผปู้ กครอง และประสบการณ์จากหอ้ งเรียน
โดยเรม่ิ จากประชมุ ชีแ้ จงเตรียมความพรอ้ ม จดั อบรมให้
ความรคู้ รเู รอ่ื งการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น การจดั การ 5. แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา มีประเด็น
เรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั เชน่ สะเตม็ ศกึ ษา โครงงาน สมั ภาษณเ์ กยี่ วกบั บทบาทในการนเิ ทศ กำ� กบั ตดิ ตาม การ
และการเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน ผวู้ จิ ยั และครรู ว่ มมอื สนบั สนนุ ปญั หาและอปุ สรรคในการดำ� เนนิ กจิ กรรมวจิ ยั
ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี นโดย
ประยุกต์กระบวนการประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนส�ำหรับ 6. มาตรวัดเจตคติ มีลักษณะเป็นมาตราส่วน
นักเรียนระดับประถมศึกษา และพัฒนากิจกรรมการ ประมาณค่า 5 ระดบั
เรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี
7. การบันทึกวีดิทัศน์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน
139 ชน้ั เรยี นของครู โดยตดิ ตงั้ กลอ้ งไวด้ า้ นหลงั ชน้ั เรยี น และ
บนั ทกึ ตลอดระยะเวลาดำ� เนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ในชัว่ โมงท่คี รสู มคั รใจและยนิ ยอมใหบ้ ันทึก

รวิชญุฒม์ ทองแมน้ และคณะ/ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูใ้ นช้ันเรยี นโดยประยกุ ต์กระบวนการประเมินเพอ่ื พัฒนาผเู้ รยี น

8. แบบวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมการเรยี นรใู้ นชนั้ เรยี น ศึกษาทีพ่ ัฒนาข้ึน รวมทั้งจดั หาและพัฒนาสอื่ การเรียนรู้
ของครูและนักเรียน (จากการบันทึกวีดิทัศน์ การเรียน ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามกำ� หนดการ
การสอนในชน้ั เรยี น) มลี กั ษณะเป็นแบบแจกแจงจ�ำนวน สอนภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 ของตารางเรยี นแตล่ ะ
กจิ กรรมของครแู ละนกั เรยี น ตง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้ จนสนิ้ สดุ กจิ กรรม ชน้ั โดยครูเร่มิ ปฏบิ ตั ิการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน
การเรียนการสอนใน 1 ชวั่ โมง ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2559 ถงึ วนั ที่ 10 มนี าคม
พ.ศ. 2560 เปน็ เวลา 20 สปั ดาห์ ทง้ั นรี้ ะหวา่ งดำ� เนนิ การ
การดำ�เนินการทดลอง จดั กิจกรรมการเรียนการสอนตลอดภาคเรียนที่ 2 ปกี าร
ผวู้ จิ ยั ดำ� เนนิ การทดลองและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตาม ศึกษา 2559 น้ัน ผู้วิจัยและคณะผู้เชี่ยวชาญ ประกอบ
ข้ันตอนดังน้ี ดว้ ย ศกึ ษานเิ ทศก์ คณาจารยจ์ ากวทิ ยาลยั วทิ ยาการวจิ ยั
1. ดำ� เนนิ การประชมุ ชแ้ี จงและเตรยี มความพรอ้ มกบั และวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา ครูที่มีความ
ครกู ลมุ่ เปา้ หมายกอ่ นเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 เช่ียวชาญด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน เข้าร่วม
2. ครูกลุ่มเป้าหมายและผู้วิจัยด�ำเนินการออกแบบ สังเกตช้ันเรียนและให้ข้อสะท้อนผลการจัดกิจกรรมเพ่ือ
กิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ตามหลักการออกแบบ การปรับปรงุ การสอนของครู เป็นระยะ ๆ รวมทงั้ ผวู้ ิจัย
กิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนโดยประยุกต์กระบวนการ ขอความรว่ มมอื ครกู ลมุ่ เปา้ หมายทสี่ มคั รใจใหส้ งั เกตการ
ประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนส�ำหรับนักเรียนระดับประถม เรียนการสอนด้วยการบนั ทกึ วีดทิ ัศน์ ดังภาพท่ี 2

ภาพท่ี 2 กจิ กรรมการเรยี นรู้ของนักเรียนกลุ่มเปา้ หมาย
3. ผู้วิจัยด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู ความคดิ เห็น ขอ้ คน้ พบตา่ ง ๆ และการบรรยายเปรยี บเทยี บพฤตกิ รรม
เก่ียวกับพฤติกรรมของครูและนักเรียนในชั้นเรียนจากผู้ ของครูและนกั เรยี นในช้ันเรยี น

บเสชเกเดสพกกนั้ว่นาน้ัว่ยี็บอื่นรเยททรวหรสเวกนึ21ยีขกบวาัมิธว..นาอ้บคายี่ ีดภกีกกกขงรา่รงทิาาาาลสวอเวไรรบรศษัุม่ดถเิมงววทคนนคณติแ้ไเิเิ กี่์หรคดคมรพิก์าาแูร้จรลา่นื้กรผะาลาตาาสฐาะู้ปะหะกรกาอรหหนกฐก์ขนหนวข์าข์คกัาิเล้อนไอ้ใคอ้รรเชดรามสมอมรว้ยีแ้ยัูลงลูางลูธินกเนะเกีเกไช่ชคหักาแดตงิงิรวเล์ผ้ปแครวาะลสียกรเณุิมคปมิัมงน่ถรภฏาากภี่าผนารณสิาะาอพู้้บนมัรหษยใรดใพักเ์ณชลนชิหา้ นเัว้ ะอ้นรื้แ์าธิธีแยหรบพคกีใ์ สลนานา่ฤบาถะเชสรตสฉาถแทงน้ัักิลอนเอลาเครย่ีบรศดงะรรยีสถกึแเกมานทถษะาลาใทปนติหมะรา1ี่ิ์ 40ผนกคโอแกชปดาลำ้นัอ�อืัรกลยรหะะกเเ1รเกรในรยแร1นีย)ียะยีาุกดบ.นขขนบนรเตผบกัน้มั้นรหุรลว์กกณีะตู้ทกล5จิร6จิ ดอี่ฑา)ะกักัยับน3รขใบฐค์รหอ้นัขปารววขม้อนอมานรอ้คกีหมกงใะกมือแนกลสาถาลูบชจิรัำ�กมร1ปเบเกน้ัปกรศร)อ้รกเยีจ็ารึกรกนรจิรในะยีษำ�มนกกอเรนหามใลกรอู้นน4รินบัาโกแดช)มดรเแแบพปเยน้ักเรปบลข่างรเื่อยี ระา้รบอะนั้พนยีหเเอ6ตกรรัฒมนมย)ีกอิจู้ นิ3นสานแเนก)ผปยรารลขรปลปุใผ้็ูนะรอกนฏจผู้เมงราช2าบิล2กกีรยกนั้)กตัจิเานหหรเปากิกรรสียรลลจิยรีเรเ�ำนรกักักะรนรหียรยฐีมเรกโดนู้รดารนใา2ับ็นนนมยรรร)ูู้้

วิทยาการวิจยั และวทิ ยาการปัญญา ปีที่ 15 ฉบับท่ี 2

7 ประการ ได้แก่ 1) เปิดประเด็นปัญหาน่าสนใจ ชวน ช้ันเรียนโดยประยุกต์กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนา
ให้อยากรู้ คน้ คว้าตอ่ 2) ไดล้ งมอื ปฏบิ ัติด้วยตนเองและ ผเู้ รยี น พจิ ารณาจากผลการประเมนิ ครดู า้ นความเขา้ ใจใน
ร่วมคิดแก้ปัญหากับกลุ่ม 3) สร้างสรรค์ผลงานร่วมกัน การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ปรากฏวา่ มคี ะแนนเฉลยี่
4) เชอื่ มโยงกบั ชวี ติ จรงิ และใชส้ อื่ ในทอ้ งถนิ่ 5) บรู ณาการ เทา่ กบั 22.69 จากคะแนนเตม็ 25 คะแนน บง่ ชวี้ า่ ครกู ลมุ่
เนื้อหาวิชา 6) สัมพันธ์กับการท�ำงานของสมองสองซีก เปา้ หมายสามารถนำ� ความรไู้ ปออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้
และ 7) กิจกรรมท่มี ลี ักษณะเชิงรกุ และจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี นทเ่ี หมาะสมกบั ประเมนิ
เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นได้ และสามารถถา่ ยทอดความเขา้ ใจใน
การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ม่ี คี ณุ ภาพเหมาะสม การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละประสบการณจ์ ากการ
รวม 24 วชิ าใน 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรขู้ อง ชน้ั ประถมศกึ ษา ลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ไปสเู่ พอื่ นครใู นโรงเรยี นและโรงเรยี นอน่ื ได้
ปที ่ี 1 และปีที่ 4 รวมทง้ั ส้นิ 960 กจิ กรรม ซึ่งท่ีมีเน้ือหา
ทใี่ ชส้ อนในภาคเรยี นที่ 2 สำ� หรบั ครใู นชนั้ ประถมศกึ ษาปี 3. ผลการเปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมการสอนในชน้ั เรยี น
ที่ 1 และปีท่ี 4 สามารถน�ำไปใชจ้ ัดกิจกรรมการเรียนร้ไู ด้ ของครูระหว่างการสอนแบบเดิมกับการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ในช้ันเรียนโดยประยุกต์กระบวนการประเมินเพ่ือ
2. ครูกลุ่มเป้าหมายทุกคนมีความเข้าใจและมี พัฒนาผเู้ รยี น แสดงดังตารางที่ 1
มโนทัศน์ที่ถูกต้องในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ใน

ตารางท่ี 1 การเปรียบเทยี บพฤตกิ รรมการสอนในช้นั เรยี นของครูระหว่างการสอนแบบเดิมกบั การจัดกิจกรรมการ
เรยี นรใู้ นชัน้ เรียนโดยประยุกตก์ ระบวนการประเมินเพ่อื พัฒนาผู้เรียน

พฤตกิ รรมการสอนในชน้ั เรยี นของครู

ดา้ น การสอนแบบเดิม การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ในชน้ั เรียนโดยประยุกต์
กระบวนการประเมนิ เพือ่ พัฒนาผเู้ รยี น

1. การบริหาร 1. ครูเป็นผู้บรรยายใหค้ วามรู้ 1. นกั เรยี นเป็นผู้สรา้ งความรจู้ ากกิจกรรมทค่ี รูออกแบบจัดเตรยี มให้
จดั การชั้นเรียน 2. มีความเข้มงวดกบั การสอนให้เป็นไป 2. เน้นการสร้างบรรยากาศทีผ่ ่อนคลาย มีความเปน็ กันเอง
ตามหลักสูตรทต่ี ายตัวและไม่ยืดหยนุ่ 3. การจดั ชั้นเรยี นเปล่ยี นได้ตลอดเวลาตามกจิ กรรมการเรียนรูข้ อง
3. จดั ห้องเรียนแบบนงั่ ฟังบรรยาย แตล่ ะวิชา มีการเคล่อื นไหว
เรียงหนา้ กระดาน ไม่มีการเคล่อื นไหว

2. ลกั ษณะ 1. นำ� หลักสตู รไปใช้ในระดบั ช้นั เรียนท่ี 1. การนำ� หลักสตู รไปใช้ในระดับชัน้ เรียนที่เนน้ การบูรณาการเนื้อหา
กิจกรรม แยกส่วน ขาดการบูรณาการ วิชา และการน�ำไปใชใ้ นชีวติ ประจ�ำวัน
การเรียน 2. กิจกรรมการสอนทอี่ ิงตำ� ราหรือ 2. พยายามจัดกจิ กรรมท่ีเนน้ ใหน้ ักเรยี นสืบคน้ ข้อมูล และลงมอื
การสอน หนังสอื แบบเรยี น ใบความร้ทู ่ีเตรยี มไว้ ปฏบิ ัตดิ ้วยตนเอง
และแบบฝึกทักษะ และเน้นการสอนให้ 3. เนน้ การอธบิ ายขนั้ ตอนของกิจกรรมให้ชัดเจนเพ่อื ให้นักเรยี นเขา้ ใจ
จบตามตำ� รา ตรงกนั
3. ท�ำหน้าทีถ่ า่ ยทอดความรู้ทตี่ นมีให้แก่ 4. จดั กิจกรรมให้นักเรยี นไดส้ นทนาภายในกลมุ่
นกั เรยี นโดยตรง มกี ารน�ำเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น
4. มีการเสรมิ แรงคอ่ นข้างนอ้ ยมาก 5. ครูเปน็ ผคู้ อยชแ้ี นะและมีกิจกรรมสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นได้ใช้
กระบวนการคิดข้ันสูงและเน้นสร้างชิน้ งานใหม่ ๆ จากองคค์ วามรู้ท่ี
ได้เรยี นและใช้วธิ กี ารเสรมิ แรง

141

รวิชญฒุ ม์ ทองแม้น และคณะ/ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใ้ นชั้นเรยี นโดยประยุกต์กระบวนการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น

ตารางที่ 1 (ตอ่ )

พฤตกิ รรมการสอนในช้นั เรียนของครู

ด้าน การสอนแบบเดิม การจดั กิจกรรมการเรยี นรูใ้ นชน้ั เรยี นโดยประยุกต์
กระบวนการประเมนิ เพื่อพัฒนาผูเ้ รยี น

3. การ 1. แยกออกจากการสอนอย่างชัดเจน 1. มกี ารแจ้งเปา้ หมายและเกณฑ์ความสำ� เร็จในการเรียนรเู้ พอ่ื ให้
ประเมินผล 2. สว่ นใหญ่เนน้ การประเมนิ เพื่อตัดสนิ นักเรียนไดร้ บั ทราบและเข้าใจตรงกันกอ่ นการเรียน
ในชัน้ เรยี น ผล โดยดจู ากการท�ำแบบทดสอบและ 2. ครเู ดินตรวจสอบการท�ำงานของนกั เรยี น เมื่อสังเกตเหน็ วา่ การ
มีคะแนนชัดเจน เพือ่ ให้เกรดเฉลย่ี สูง ๆ ทำ� งานไม่ถกู ต้องหรือไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย ตอ้ งพยายามชว่ ยเหลอื
จะได้ใช้ในการเรยี นตอ่ ใช้ค�ำถามเพอ่ื การประเมินและใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลับเพื่อปรบั ปรงุ การสอน
และการเรยี น
3. เนน้ ประเมินหลากหลายวธิ ีทั้งผู้เรยี นประเมินตนเอง เพ่ือนประเมิน
ครูประเมิน และเป็นไปตามสภาพจริงท่เี กดิ ขน้ึ ระหว่างเรยี น

4. การใช้ส่อื 1. ส่อื หลกั คือหนังสอื แบบเรียน ต�ำรา 1. เสาะแสวงหาส่อื การเรยี นรูท้ กุ ชนิดท้ังส่ือในทอ้ งถิ่นท่ีสมั พันธ์กับชีวติ
การเรยี นรู้ ใบความรู้ ประกอบการบรรยาย อธิบาย จรงิ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเกดิ ความคิดรวบยอดและเกิดการเรยี นรู้
โดยครทู ยี่ ืนอยหู่ น้าชัน้ เรียน 2. เน้นใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการใชส้ อ่ื
2. ไม่เนน้ สือ่ เทคโนโลยี 3. จัดหอ้ งเรียนให้เอื้อตอ่ การเรียนรู้ด้วยสือ่ ท่ีทันสมยั
3. เน้นการใช้ใบความรู้และใบงาน

4. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการเรียนรู้ในช้ัน เรยี นรดู้ ว้ ยจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี นโดยประยกุ ต์
เรียนของนักเรียนระหว่างการเรียนรู้แบบเดิมกับ การ กระบวนการประเมนิ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี น แสดงดงั ตารางที่ 2

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยี บพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ในช้ันเรยี นของนกั เรยี นระหวา่ งการเรียนรแู้ บบเดมิ กบั การเรยี นรู้
ด้วยกิจกรรมการเรียนรใู้ นชนั้ เรียนโดยประยุกต์กระบวนการประเมินเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น

ด้าน พฤติกรรมการเรียนร้ใู นชั้นเรยี นของนกั เรียน

การเรียนรูแ้ บบเดิม การเรียนรู้ด้วยการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีพัฒนาข้ึนใหม่
(Passive learning) (Active learning)

1. การเรียนรู้ รอรบั การถา่ ยทอดจากครูและ เกิดจากการลงมอื ท�ำและสรา้ งความร้ดู ว้ ยตนเอง
ยึดจากหนังสือต�ำราเท่านัน้ ใช้ข้อมลู ป้อนกลบั ของครเู พอื่ การปรบั ปรงุ การเรยี นร้ขู องตน

2. ทักษะการประเมนิ ผล ไมม่ กี ารประเมนิ ตนเอง และ ทกุ คนมที กั ษะการประเมนิ ตนเอง ประเมินผลงานของเพือ่ นและ
ไมม่ กี ารประเมนิ จากเพื่อน สามารถใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั เพือ่ ให้ผลงานมีความสมบรู ณข์ ้ึน

3. กระบวนการกลมุ่ นักเรียนเกง่ ที่สดุ ของกล่มุ จะ ทกุ คนมีบทบาทหนา้ ทท่ี แี่ ตกต่างกันตามความสามารถ นักเรียน
เปน็ ผรู้ บั ภาระหนา้ ทท่ี �ำทกุ อยา่ ง แต่ละคนจะแสดงบทบาทและมีภาวะผูน้ ำ� ผูต้ ามทีด่ ี และทกุ คนให้
สมาชิกไมค่ อ่ ยใหค้ วามรว่ มมอื ความร่วมมอื เรยี นรรู้ ่วมกัน

4. ปฏิสมั พนั ธ์ นักเรียนสว่ นใหญเ่ รยี นและทำ� งาน นักเรียนมปี ฏสิ มั พันธก์ นั คอ่ นขา้ งสูง เนื่องจากตอ้ งวางแผนทำ� งาน
คนเดยี ว ไม่มปี ฏสิ มั พันธก์ ับเพอ่ื น รว่ มกนั ลงมอื ปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่มและแลกเปล่ยี นนำ� เสนองาน
หรือครู รวมทงั้ มปี ฏสิ ัมพนั ธ์กับครู

5. การนำ� เสนองาน เมอื่ ทำ� งานเสรจ็ นักเรียนสง่ ครู ผลงานจะไดร้ บั การเสนอต่อกลมุ่ ยอมรับและเปดิ โอกาสให้เพ่ือนได้
ทันที วิพากษ์ ชีแ้ นะเพอื่ การปรบั ปรุง

142

วทิ ยาการวจิ ยั และวิทยาการปัญญา ปีท่ี 15 ฉบับที่ 2

5. ผลของการนำ� กิจกรรมการเรียนรใู้ นชน้ั เรยี นโดย วทิ ยาศาสตร์ มคี ะแนนเฉลย่ี สงู สดุ (Mean = 57.33) รอง
ประยกุ ตก์ ระบวนการประเมนิ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นทพี่ ฒั นา ลงมาคอื วิชาคณิตศาสตร์ และวชิ าภาษาไทย
ขนึ้ ไปใช้
การอภปิ รายผล
5.1 ครกู บั นกั เรยี นกลมุ่ เปา้ หมายมปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั
ในชนั้ เรยี นสงู ขนึ้ พจิ ารณาจากการสงั เกตพฤตกิ รรมในชน้ั ผลการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียนโดย
เรยี นพบวา่ ครมู กี ารซกั ถาม สนทนากบั นกั เรยี น ในขณะที่ ประยุกต์กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนส�ำหรับ
เดนิ เขา้ ไปตรวจสอบพจิ ารณาการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม รายคน นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาปรากฏวา่ ครผู สู้ อนในชนั้ ประถม
และตามกลมุ่ ครูมีการใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลับแกน่ กั เรยี น ครู ศกึ ษาปที ่ี 1 และปที ี่ 4 สามารถนำ� ไปใชจ้ ัดกจิ กรรมการ
ไดช้ แ้ี นะชว่ ยเหลอื นกั เรยี นในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและการ เรยี นรไู้ ด้ ทง้ั นเ้ี นอ่ื งจากกระบวนการออกแบบกจิ กรรมการ
ใช้สือ่ อุปกรณ์การเรยี นรู้ และมกี ารเสริมแรงแก่นกั เรียน เรยี นรไู้ ดว้ างแผนการออกแบบและพฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบ
และเปน็ ไปตามลำ� ดบั ขนั้ เปน็ ไปตามแนวคดิ การประเมนิ
5.2 นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กันในชั้นเรียนมากข้ึน เพื่อพัฒนาผู้เรียนของ Heritage (2010) และผลการ
พิจารณาจากการสังเกตพฤตกิ รรมพบวา่ นักเรยี นพูดคยุ สงั เคราะหห์ ลกั การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละดำ� เนนิ
ซักถาม ปรึกษา แลกเปล่ียนกับเพื่อนภายในกลุ่มและ การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรนู้ น้ั ใชก้ ระบวนการชมุ ชน
ระหวา่ งกลุ่มมากขน้ึ มีการช่วยเหลอื สนบั สนุน แบ่งปนั แห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ในการพัฒนากจิ กรรม
และจติ อาสาต่อเพื่อนต่อกลุ่ม เหน็ ถงึ ความกระตือรือร้น ที่ออกแบบไว้โดยเชิญครูท่ีมีความเชี่ยวชาญในการสอน
และความสนุกกับการเรียนรู้ร่วมกัน ได้น�ำเสนอผลงาน ศึกษานิเทศก์ และฝ่ายวิชาการโรงเรียน มาร่วมสนทนา
ร่วมกัน ได้ใช้ทักษะการประเมินและให้ข้อมูลป้อนกลับ กลมุ่ เพอื่ ใหข้ อ้ คดิ เหน็ และเสนอแนะ แลว้ นำ� ไปตรวจสอบ
แก่กนั และกัน รวมทั้งมกี ารเสริมแรงซ่ึงกนั และกนั คณุ ภาพโดยผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผา่ นการปรับปรงุ กจิ กรรมและ
นำ� ไปทดลองใชก้ บั ครแู ละนกั เรยี นทไี่ มใ่ ชก่ ลมุ่ ตวั อยา่ ง แลว้
5.3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และปีที่ 4 จึงนำ� มาปรับปรงุ และจัดท�ำเปน็ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
กลมุ่ ตวั อยา่ งมเี จตคตทิ ดี่ มี ากตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
(Mean = 4.73 และ 4.71) ครมู เี จตคตทิ ด่ี มี ากตอ่ การจดั ครกู ลมุ่ เปา้ หมายทกุ คนมคี วามเขา้ ใจและมมี โนทศั น์
กิจกรรมการเรียนรู้ (Mean = 4.69) และผลสัมภาษณ์ ท่ีถูกต้องในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
ผู้ปกครองและผู้บริหารปรากฏว่า มีเจตคติที่ดีมากต่อ โดยประยกุ ตก์ ระบวนการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น ทงั้ นี้
การจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ นลักษณะน้ีเชน่ เดยี วกนั เป็นเพราะครูกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ลงมือปฏิบัติการสอน
ด้วยตนเอง สอนด้วยกระบวนการตามข้ันตอนท่ีก�ำหนด
5.4 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และปีที่ 4 นี้ทุกวัน จนเป็นวิถีชีวิตในช้ันเรียน และสามารถบอก
กลมุ่ ตวั อยา่ งมผี ลการเรยี นรู้ เชน่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ขน้ั ตอนการออกแบบกจิ กรรมและมคี วามเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ในการล�ำดับกิจกรรมการสอน ซ่ึงเดิมนั้นมีความเข้าใจ
มีคะแนนเฉลยี่ สงู กว่าร้อยละ 70 ผลการทดสอบทางการ อยู่ในระดับหนึ่งเท่านั้นจากกิจกรรมระดมความคิดเห็น
ศกึ ษาระดบั ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ผลการทดสอบการอา่ นออกเขยี น พิจารณากิจกรรมการเรยี นรู้ และแลกเปล่ียนเรียนรู้ดว้ ย
ได้ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ได้คะแนนเฉลี่ย กระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ใน
รวมเท่ากับ 71.95 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ส่วน ช่วงก่อนเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559 แต่เมื่อ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ภายหลังจากได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ัน
ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ปรากฏวา่ ทงั้ 3 วิชา เรยี นโดยประยกุ ตก์ ระบวนการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น
ได้แก่ วิชาวทิ ยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษา ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น โดยครูได้ลงมือปฏิบัติการสอนด้วย
ไทย มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่
การศกึ ษา เมือ่ พจิ ารณาคะแนนเฉล่ียรายวชิ าพบวา่ วิชา

143

รวชิ ญุฒม์ ทองแมน้ และคณะ/ การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ในชัน้ เรยี นโดยประยกุ ต์กระบวนการประเมนิ เพ่อื พัฒนาผเู้ รยี น

ตนเองเปน็ รายชวั่ โมงตามกจิ กรรมการเรยี นรจู้ นครบตาม และความส�ำเร็จตามเป้าหมายการเรียนรู้ของแต่ละวัน
จำ� นวนทก่ี ำ� หนดไว้ และไดร้ บั การสงั เกตชนั้ เรยี น แลว้ รบั ครูไดส้ นทนา สอื่ สารกับนกั เรยี น และให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั
การสะท้อนผลเพื่อให้ข้อมูลป้อนกลับจากผู้บริหาร ฝ่าย มีการด�ำเนินการ ทุกวันโดยครูทุกคนกับนักเรียนทุกคน
วชิ าการ ผวู้ จิ ยั และผเู้ ชยี่ วชาญในระหวา่ งจดั กจิ กรรมตลอด จึงส่งผลให้การมีปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนมีพัฒนาการที่ดี
ภาคเรยี น ทำ� ใหค้ รกู ลมุ่ เปา้ หมายมคี วามเขา้ ใจเพม่ิ ขนึ้ และ ขนึ้ ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั ผลการวจิ ยั ของ Anton, Kari, Olga,
มีมโนทัศน์ท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการ and Kristine (2012) ทไ่ี ดศ้ กึ ษาเรอื่ ง ผลของการประเมนิ
เรียนรู้ในชั้นเรียนโดยประยุกต์กระบวนการประเมินเพ่ือ เพื่อพัฒนาผู้เรียนและการให้ข้อมูลป้อนกลับที่ส่งผลให้
พัฒนาผู้เรียน ซ่ึงสอดคล้องกับ วาทิณี จิตรส�ำรวย, เสรี เกิดการเรยี นร้เู ชงิ ประจักษ์ ปรากฏวา่ ครูและนักเรยี นมี
ชดั แชม้ , ภัทราวดี มากมี และสริ กิ รานต์ จนั ทเปรมจติ ต์ ความตระหนกั และรบั รถู้ งึ การนำ� ผลทไี่ ดจ้ ากการใหข้ อ้ มลู
(2560) ทพ่ี บวา่ ครทู จี่ ะจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชนั้ เรยี น ยอ้ นกลบั และใชป้ รบั ปรงุ การสอนของครแู ละทำ� ใหน้ กั เรยี น
โดยประยกุ ตก์ ระบวนการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น ควร เกิดการเรยี นรู้
จะตอ้ งมคี วามรู้ 5 ดา้ นคอื ดา้ นความรเู้ กยี่ วกบั การกำ� หนด
เปา้ หมายการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ดา้ นความรเู้ กย่ี วกบั การให้ ผลของการนำ� กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี นทพี่ ฒั นา
ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั แกผ่ เู้ รยี น ดา้ นความรเู้ กยี่ วกบั การประเมนิ ขน้ึ ไปใชท้ กุ รายวชิ า ทำ� ใหก้ ารเรยี นรแู้ บบใหมเ่ ปน็ วถิ ชี วี ติ
เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี น ดา้ นความรใู้ นเนอื้ หาผนวกวธิ สี อน และ ของนกั เรยี น สง่ ผลใหน้ กั เรยี น ครู ผปู้ กครองและผบู้ รหิ ารมี
ด้านความรู้เกยี่ วกับประสบการณ์เรียนรู้ของผ้เู รียน เจตคตทิ ดี่ มี ากตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ สดงใหเ้ หน็ วา่
ทกุ คนเหน็ ถงึ การเปลยี่ นแปลงไปในทางทด่ี ขี นึ้ จงึ มเี จตคติ
พฤติกรรมการสอนของครูและพฤติกรรมการเรียน ทด่ี มี ากตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นลกั ษณะน้ี บง่ ชไี้ ด้
รู้ในชั้นเรียนของนักเรียนเปลี่ยนไปจากการเรียนรู้แบบ วา่ ทกุ คนมคี วามตระหนกั และเลง็ เหน็ ถงึ ผลประโยชนท์ ไี่ ด้
เดิมไปเป็นการเรียนรู้แบบร่วมมือและสร้างความรู้ท�ำให้ รับจากการเขา้ ร่วมกิจกรรมวิจยั
ครูกับนักเรียน และนักเรียนกับนักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กัน
ในช้ันเรียนมากข้ึน ครูมีการซักถาม สนทนากับนักเรียน ข้อเสนอแนะในการนำ�ผลการวิจยั ไปใช้
ในขณะทเี่ ดนิ ไปตรวจสอบการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมรายคนและ
ตามกลมุ่ ครไู ดใ้ หข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั แกน่ กั เรยี น ครไู ดช้ แ้ี นะ 1. ครู บุคลากรทางการศึกษาและนักวิชาการทาง
ช่วยเหลือนักเรียนในการปฏิบัติกิจกรรมและการใช้สื่อ ดา้ นการศกึ ษาหรอื ดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา
อปุ กรณก์ ารเรยี นรู้ และมกี ารเสรมิ แรงแกน่ กั เรยี น ในสว่ น สามารถนำ� แนวคดิ และกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี นโดย
ของปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งนกั เรยี นกบั นกั เรยี นพบวา่ นกั เรยี น ประยุกต์กระบวนการประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนส�ำหรับ
พดู คยุ ซกั ถาม ปรกึ ษาแลกเปลย่ี นกบั เพอื่ นภายในกลมุ่ และ นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาทพี่ ฒั นาขน้ึ และมปี ระสทิ ธภิ าพ
ระหวา่ งกลุ่ม นักเรียนมกี ารชว่ ยเหลือ สนบั สนุน แบง่ ปนั ชุดนี้ไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนได้
และ จติ อาสาตอ่ เพอ่ื นตอ่ กลมุ่ เหน็ ถงึ ความกระตอื รอื รน้
และความสนุกกับการเรียนรู้ร่วมกัน ได้น�ำเสนอผลงาน 2. ผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐและเอกชนระดับ
ร่วมกัน ได้ใช้ทักษะการประเมินและให้ข้อมูลป้อนกลับ ต่าง ๆ สามารถน�ำไปเป็นแนวทางก�ำหนดเชิงนโยบาย
แก่กันและกัน รวมท้ังมีการเสริมแรงซึ่งกันและกัน ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมและปฏิรูปการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
นา่ จะเปน็ เพราะลกั ษณะกจิ กรรมการเรยี นรทู้ อี่ อกแบบใหม่ ในช้ันเรยี นอนั จะเป็นประโยชนต์ อ่ วงการศกึ ษา
นน้ั เปน็ กจิ กรรมทเ่ี นน้ การมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทกุ ขน้ั ตอน
เนน้ ใหน้ กั เรยี นไดล้ งมอื ทำ� โดยครทู ำ� หนา้ ทคี่ อยเดนิ เขา้ ไป 3. ผลการศกึ ษานจี้ ะเปน็ ฐานคดิ เพอ่ื สรา้ งความตระหนกั
สังเกตพฤติกรรมขณะเรียนของนักเรียน พฤติกรรมกลุ่ม และเปลยี่ นเจตคตขิ องครแู ละนกั เรยี นใหเ้ หน็ ถงึ กระบวนการ
เปลย่ี นแปลงทจี่ ะพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ดี่ ำ� เนนิ
การควบคู่กับการประเมิน โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ใน
ชั้นเรียนแบบใหม่ท่ีครูและนักเรียนได้ร่วมกันออกแบบ

144

วทิ ยาการวจิ ัยและวิทยาการปญั ญา ปีท่ี 15 ฉบับที่ 2

การเรยี นรแู้ ละรว่ มกนั เรยี นรวู้ ธิ กี ารเรยี นรไู้ ปพรอ้ ม ๆ กนั เรยี นส�ำหรบั นกั เรียนทุกระดับช้นั
โดยทค่ี รจู ะเปลยี่ นบทบาทตนเองจากครผู สู้ อน (Teacher) 3. ควรมกี ารวจิ ยั เปรยี บเทยี บผลของการจดั กจิ กรรม
เปน็ ครูนกั นวัตกรรม (Innovative teacher) ท่ที �ำหนา้ ที่
ออกแบบ กำ� กบั และชีแ้ นะการเรียนรใู้ ห้กับนักเรยี น การเรียนรู้ในชั้นเรียนโดยประยุกต์กระบวนการประเมิน
เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นระหวา่ งกลมุ่ ตวั อยา่ งสองกลมุ่ เพอื่ ศกึ ษา
ขอ้ เสนอแนะในการทำ�วิจัยตอ่ ไป และยนื ยนั ความมปี ระสทิ ธผิ ลของวธิ กี ารจดั กจิ กรรมและ
ศกึ ษาตวั แปรอน่ื เชน่ กระบวนการกลมุ่ ทกั ษะทางสงั คม
1. ควรศกึ ษาผลของการจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชนั้ รวมท้ังศึกษาในกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นนักเรียนบกพร่องทาง
เรยี นโดยประยกุ ตก์ ระบวนการประเมนิ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี น การเรยี นรปู้ ระเภทต่าง ๆ
ส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาในระยะยาว (2-3 ปี
การศึกษา) มีการวัดและประเมินผลซำ้� เป็นระยะ ๆ เพือ่ 4. ควรมีการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และวิธีการ
ตรวจสอบความคงทนของพฤติกรรมครูและพฤติกรรม ประเมนิ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นบนเครอื ขา่ ยระบบเปดิ (Online)
นักเรียน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้ทักษะ และพัฒนาเป็นโปรแกรมอัจฉริยะที่มีการให้ข้อมูลป้อน
กระบวนการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นในการจดั กจิ กรรม กลับแบบทนั ที (Real time)
การเรยี นรใู้ นชนั้ เรยี นทกุ รายวชิ า และวฒั นธรรมการเรยี น
รู้ในช้ันเรียนท่ีย่ังยืนที่เป็นผลมาจากวิธีการจัดกิจกรรม กติ ติกรรมประกาศ
การเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกบั การประเมนิ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นน้ี
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยระดับบัณฑิต
2. ควรศกึ ษาประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้ใน ศกึ ษา จากสำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ ประจำ�
ช้ันเรียนโดยประยุกต์กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้ ปีงบประมาณ 2560

เอกสารอ้างองิ วจิ ารณ์ พานชิ . (2557). การประเมนิ เพอ่ื มอบอำ� นาจการเรยี นร.ู้
กรุงเทพฯ: สำ� นักพมิ พส์ านอกั ษร.
จ�ำลอง เรียงศรเี จริญพร และสุวฒั น์ เงินฉ�่ำ. (2558). ปจั จยั เชงิ
สาเหตุท่ีมีผลต่อการปฏิรูปการจัดการเรียนรู้ของครูใน สุเทพ อว่ มเจริญ. (2554). การพฒั นารูปแบบการประเมนิ การ
สถานศกึ ษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น เรยี นรขู้ องนกั เรยี นและการสอนของครรู ะดบั การศกึ ษาขนั้
พน้ื ฐาน. วารสารวชิ าการมหาวทิ ยาลยั อสี เทริ น์ เอเซยี ฉบบั พน้ื ฐาน. วารสารศลิ ปากรศกึ ษาศาสตรว์ จิ ยั , 3(1), 24-37.
สังคมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร,์ 5(1), 54-62.
หรสิ า ยงวรรณกร, สมชาย เทพแสง และถนัด อนันต์. (2558).
โชตมิ า หนพู รกิ . (2557). การวดั และประเมนิ ผลในชนั้ เรยี น: การ การปฏริ ปู การเรยี นรขู้ องครใู นยคุ โลกาภวิ ตั น.์ วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู
ประเมนิ เพอื่ พฒั นาการเรยี นร.ู้ วารสารวชิ าการ, 7(3), 3-17. 1 กรกฎาคม 2559, เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://ejournals.swu.
ac.th/index.php/EAJ/article/viewFile/4122
พนม พงษ์ไพบูลย์. (2558). มาปฏิรูปห้องเรียนกันเถิด.
วันที่ค้นข้อมูล 1 กรกฎาคม 2559, เข้าถึงได้จาก เอกพัน แป้นไทย. (2559). ปั้นครูแห่งอนาคต สร้างห้องเรียน
http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail. ศตวรรษที่ 21 เกิดข้ึนจริง-ย่ังยืน บนเวที TELS 2016.
php?NewsID=42226&Key=news_research วนั ที่คน้ ข้อมูล 1 ธนั วาคม 2559, เข้าถึงไดจ้ าก http://
www.77jowo.com/contents/2855
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2559). การประเมินเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้.
วารสารศกึ ษาศาสตร์ มสธ, 9(1), 1-17. Anton, H., Kari, S.B., Olga, D.B., & Kristine, L. (2012).
Formative Assessment and Feedback: Making
วาทณิ ี จติ รสำ� รวย, เสรี ชดั แชม้ , ภทั ราวดี มากมี และ สริ กิ รานต์ Learning Visible. Studies in Educational Evaluation,
จนั ทเปรมจติ ต.์ (2560). การพฒั นาเกณฑก์ ารประเมนิ เพอ่ื 38(1), 21–27.
พัฒนาผู้เรียนของครูระดับประถมศึกษา. วิทยาการวิจัย
และวิทยาการปญั ญา, 15(1), 102-116.

วิจารณ์ พานิช. (2555). งานส�ำคัญของการศึกษาไทยสร้าง
ทกั ษะใหผ้ เู้ รยี นพรอ้ มสศู่ ตวรรษท่ี 21. School in focus,
4(11), 6-7.

145

รวชิ ญฒุ ม์ ทองแมน้ และคณะ/ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ในช้ันเรยี นโดยประยุกต์กระบวนการประเมินเพอ่ื พฒั นาผ้เู รียน

Bailey, A., & Heritage, M. (2008). Formative assessment McMillan, J. H. (2008). Formative Classroom Assessment:
for literacy, grades K-6: Building reading and The keys to Improving Student Achievement. In J.
academic language skills across the curriculum. McMillan (Ed.), Formative Classroom Assessment
California: Corwin Press. (pp. 1-7). New York: Teachers College.

Heritage, M. (2010). Formative Assessment Making It Organisation for Economic Co-operation and
Happen in the Classroom. California: Corwin Press. Development. (2005). Formative assessment:
Improving learning in secondary classrooms.
Joyce, B., & Weil, M. (1996). Models of Teaching. (5th OECD Publishing, 2005.
ed.). Boston: Allyn and Bacon.

146


Click to View FlipBook Version