รายงานผลการดาเนินงาน
โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน
การศกึ ษาแบบชัน้ เรียนวิชาชพี (31 ชว่ั โมง ข้ึนไป)
หลักสตู ร ช่างทาสี จานวน 32 ช่ัวโมง
กศน.ตาบลเขาหลวง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอวงั สะพุง
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย
สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
คานา
การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือ
การมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม อาชีพเฉพาะทาง การบริการ
พร้อมทง้ั ผทู้ ีไ่ ม่มงี านทา ที่สอดคล้องกับศกั ยภาพของผเู้ รียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพ้ืนที่ ตลอดจน
สรา้ งความเข้มแข็งให้กับศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน โดยจดั ให้มีหนึ่งอาชีพเดน่ หน่ึงศูนยฝ์ ึกอาชพี รวมทั้งให้มีการกับกับ
ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รวมทั้งมุ่งใช้
กระบวนการศึกษาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาสังคมและชุมชนให้พ่ึงตนเองได้ ตามหลกั ปรชั ญาคิดเป็นและหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
กศน.ตาบลเขาหลวง ได้เหน็ ความสาคัญกบั การจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา จงึ จัดการศึกษาเพ่ือ
พัฒนาอาชีพ วิชาชีพระยะสั้น รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ ช่างทาสี จานวน 32 ชั่วโมง ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เกิดจาก
ความตอ้ งการของชุมชนในพื้นที่ตาบลวงั สะพงุ ทส่ี ามารถนาความรู้ที่ได้รบั ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั และสามารถทา
เป็นอาชีพเสริมสร้างรายได้กับตนเองแครอบครัวได้ และรายงานผลการดาเนินงานเล่มนี้ได้รวบรวมข้อมูล
เนอื้ หา และภาพกิจกรรมไว้อยา่ งสมบรู ณ์และหวังเป็นอยา่ งย่งิ วา่ รายงานฉบบั นี้ จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้สนใจเป็น
อย่างดี
จดั ทาโดย
กศน.ตาบลเขาหลวง
สารบญั หนา้
ก
คานา ข
สารบัญ 1
บทท่ี 1 บทนา
บทที่ 2 เอกสารท่เี ก่ียวขอ้ ง 4
บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนนิ การ
บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 7
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
ภาคผนวก 10
- หลักสตู รอาชพี ชา่ งทาสี จานวน 32 ช่ัวโมง 14
- แผนการจดั การเรียนรู้
- คาส่งั แต่งตง้ั วทิ ยากร
- หนังสือเชญิ วทิ ยากร
- บญั ชลี งเวลาวิทยากร
- บัญชลี งเวลาผู้เรียน
- ทะเบยี นผู้จบหลักสตู รการจัดการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง
- แบบตดิ ตามผู้เรยี นหลังจบหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง
- แบบประเมินผลการจดั การศกึ ษาต่อเน่อื ง
- แบบรายงานผลการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง
- แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
- รปู ภาพกจิ กรรม
คณะผจู้ ัดทา
1
บทท่ี 1 บทนา
1.1 ความเป็นมา
ตามทรี่ ัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร (นางสาวตรีนชุ เทยี นทอง) กาหนดนโยบายการจดั การศกึ ษา
และภารกิจเร่งดว่ น เพ่อื ขับเคล่ือนการศกึ ษาท่ีมงุ่ พัฒนาทักษะอาชีพ สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาท่ีเนน้ พัฒนาทักษะ
อาชีพของผู้เรียนเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวิต สรา้ งอาชีพและรายได้ รวมทั้งเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน
ของประเทศ โดยดาเนินการส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาพัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างมีคณุ ภาพท่ัวถึงและเท่า
เทียมกัน ประชาชนมีรายได้ม่ันคง ม่ังคั่ง และมีงานทาอย่างยั่งยืน ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตใน
รปู แบบใหมท่ ่สี ร้างความมน่ั คงใหแ้ ก่ประชาชน
เพอ่ื ให้สอดคล้องกับวิสัยทศั น์ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในการผลติ และพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรของชาติ
เพื่อสร้างความเป็นอยู่ท่ีดี และสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ และความม่ันคงทางสังคมให้กับประเทศ ด้วย
ฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และศักยภาพของประเทศ ตามที่ สานักงาน กศน. ได้จัดทา หลักสูตรช่างทาสี
ปจั จุบันสงั คมไทยเปน็ ครอบครัวขยาย มกี ารปลูกสรา้ งบ้านพกั อาศัยมากข้นึ ทาให้ต้องมีการทาสี เพ่ือตกแต่งบา้ น
ให้มีความสวยงาม อาชีพช่างทาสีจึงมีความจาเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน เพราะเป็นอาชีพที่ใช้ ทักษะความรู้
และความชานาญ สามารถทาเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม สร้างงาน สร้างรายได้ ให้กับ ครอบครัวได้อย่าง
มน่ั คง
1.2 หลักการของหลักสูตร
1.เป็นหลักสูตรท่ีเนน้ การจดั การศึกษาอาชพี เพ่อื การมงี านทา
2.เปน็ หลกั สูตรที่เนน้ การเรยี นรูจ้ ากการปฏบิ ัติจรงิ เพอ่ื ประโยชน์ในการประกอบอาชีพไดจ้ รงิ
1.3 จดุ หมาย
ผเู้ รียนมีความรมู้ ที ักษะในการทาสีและประกอบอาชีพอย่างมีคุณธรรม สามารถประกอบอาชีพเลี้ยง
ตนเองและครอบครัวได้
1.4 กลุ่มเปา้ หมาย
กลุ่มเป้าหมายคอื ประชาชนในพืน้ ทต่ี าบลเขาหลวง
1.ผู้ทีไ่ มม่ ีอาชพี
2.ผู้ท่มี ีอาชพี และต้องการพัฒนาอาชพี
1.5 ระยะเวลาการสอน 11 ชวั่ โมง
1.4.1 ภาคทฤษฎี 21 ช่ัวโมง
1.4.2 ภาคปฏบิ ัติ 32 ช่วั โมง
รวมทัง้ สิน้
2
1.5 ขอบเขตพนื้ ท่ีการจัดกจิ กรรม
กศน.ตาบลเขาหลวง อาเภอวังสะพุง จงั หวัดเลย
1.6 ขอบเขตระยะเวลาการจดั กจิ กรรม
วันที่ 4 - 18 มกราคม 2565 เวลา 09.00 น. - 12.00 น. จานวน 11 วัน ๆ ละ 3 ช่ัวโมง
1.7 ระยะเวลา จานวน 32 ช่ัวโมง
ทฤษฎี จานวน 11 ชวั่ โมง
ปฏิบตั ิ จานวน 21 ชั่วโมง
โครงสร้างหลกั สตู ร จานวน 11 ชัว่ โมง
1.ชอ่ งทางการประกอบอาชพี ชา่ งทาสเี บ้ืองต้น
1.ความสาคัญและประโยชน์ของการทาสี
1.1 การประกอบอาชพี ช่างทาสีคุณธรรม จรยิ ธรรมสาหรับอาชีพชา่ งทาสี
1.2 ความรเู้ บอื้ งต้นเกยี่ วกบั การทาสี
1.2.1 ชนิดของสี 1.สีรองพืน้ 2. สีทาภายนอก 3. สํนี ้ามนั 4. สํีน้าอะคริลคิ 5. สยี ้อมไม้ 6. สเี คลือบไม้
7. สกี นั สนิม
1.3 ประเภทของเครือ่ งมือทใี่ ชท้ าสีและวธิ ีใช้
1.4 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องมอื อุปกรณ์
2.ทกั ษะการประกอบอาชพี จานวน 9 ชั่วโมง
2.1การเตรยี มพน้ื ท่ี
2.2การเตรียมอุปกรณ์นงั่ ร้าน
2.3การเตรียมสี และวสั ดอุ ปุ กรณ์
2.4การทาสีรองพ้นื และสที ับหนา้
2.5วธิ กี ารเก็บรายละเอยี ดของช้ินงาน
3.การบริหารจดั การในการ ประกอบอาชีพ จานวน 12 ชัว่ โมง
1.การคานวณพ้นื ทแ่ี ละคานวณราคา
2.การประชาสมั พันธ์และการหาลกู ค้า
3.การควบคุมมาตรฐานของการบริการ
4.การเจรจาตอ่ รองราคากับลูกค้า
3
บทที่ 2 เอกสารท่เี กยี่ วข้อง
งานช่างสี เปน็ งานช่างขั้นสุดท้ายของงานช่างหลายแขนง เช่น งานไม้ งานปนู และงานโลหะ เพ่ือ
ตกแต่งงานท่ีจัดทาสาเร็จแล้ว ให้ดูเรียบร้อยสวยงาม งานช่างสีนอกจากจะทาให้เกิดความสวยงามเรียบร้อย
แล้ว ยังช่วยให้งานแต่ละช้ินมีความคงทนถาวรย่ิงข้ึน ยืดอายุ การใช้งานให้ยาวนานข้ึน งานช่างสีมีหลัก
วธิ กี าร เคร่ืองมือเครือ่ งใช้และวัสดุที่ต้องศึกษา จึงจะสามารถทางานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ งานช่างสเี ป็นงาน
ทท่ี าไดท้ ัง้ ชายและหญิง
1 ความปลอดภยั ในการปฎิบัตงิ านสี
การปฎบิ ตั งิ านที่เก่ียวขอ้ งกบั สารเคมีนัน้ เปน็ งานท่ีอนั ตรายอยา่ งย่ิง ถา้ ไม่รจู้ กั วิธีป้อง
กนั ตัวเองจากสารเคมเี หลา่ นั้นกจ็ ะส่งผลกระทบต่อรา่ งกายทั้งในขณะปฎิบัตแิ ละในอนาคต การป้องกันทีด่ ี
และสามารถทาไดก้ ค็ อื การสวมใสอ่ ปุ กรณ์ปอ้ งกันเพือ่ ปกปดิ ร่างกายไมใ่ หส้ มั ผัสกับสารเคมเี หล่าน้นั โดยตรง
2.ข้นั ตอนที่ควรร้ใู นการทาสีบา้ นใหม่
9 ขน้ั ตอนทค่ี วรรู้ในการทาสีบา้ นใหม่การรักษาบ้านใหด้ ูใหมอ่ ยูเ่ สมอไมใ่ ช่เรื่องยาก เพียงแต่รู้วธิ ีอย่าง เช่น
การเปลยี่ นสีสนั ของบา้ นหรอื เปลย่ี นเครื่องใช้เฟอร์นิเจอร์ ก็ทาให้บ้านดูสวยได้แล้ว เรามคี าแนะนา 9 ขอ้ ทีน่ า่ รใู้ นการทาสี
ให้ดสู ดใสโดดเด่นทาสบี ้าน
1. เตรยี มงบประมาณ
อยา่ งแรกต้องคานึงถึง เงนิ ทีเ่ ราสามารถใช้จา่ ย ว่าเรามงี บประมาณอยเู่ ทา่ ไหร่ซงึ่ จะตอ้ งรวมท้งั ค่าสี คา่ ช่างทาสี
รวมถึงอปุ กรณต์ ่าง ๆ
2. ถามผเู้ ชี่ยวชาญ
ในการทาสีบ้านเราตอ้ งรวู้ ่าเราจะทาสีลงบนพน้ื ผิวประเภทใด ผวิ ปนู หรือ ผิวไม้ ใชท้ าสภี ายในหรอื ภายนอก
หากเราไม่แน่ใจว่าจะใช้ ว่าจะใช้สอี ะไรดี ควรจะปรกึ ษาผู้เชีย่ วชาญ สถาปนกิ หรอื ชา่ งทาสี ซ่งึ จะมีคาแนะนาดี ๆ
ในการใช้สีให้ถูกประเภท และลักษณะการใชง้ าน
3. เลือกสี
เม่ือสอบถามผเู้ ชย่ี วชาญจนแน่ใจในเรอ่ื งการใช้สีใหถ้ กู ตอ้ งแลว้ เลอื กสีทต่ี ัวเองชอบ ยง่ิ เป็นสที าภายในควรใหก้ ลมกลนื กับ
ขอบประตู-หนา้ ตา่ ง ละถ้าพ้นื ผิวภายนอกเป็นปูนควรเลือกใช้สที ี่มีคุณภาพสงู ท่สี ามารถยืดอายุการ ใชง้ านใหน้ านปกป้อง
สีบา้ นจากการซีดจางท่ีเกิดจากแสงแดด ทนทานต่อสภาวะอากาศต่อต้านการเกิดเชอื้ รา ตะไครน่ า้ รวมทงั้
ไม่จับฝุ่นซ่งึ จะทาความสะอาดได้ง่าย
4. เตรยี มพืน้ ผิว
ก่อนจะลงมือทาสคี วร ทาความสะอาดฝนุ่ ละออง และใช้แปรงแซะสีเกา่ ท่ีหลุดลอกออกเชด็ ใหส้ ะอาด แล้วปลอ่ ยให้แหง้ สนิท
การเตรยี มพน้ื ผิวทถ่ี กู ต้องจะช่วยให้สีท่ที าตดิ นานยิง่ ข้นึ
4
5. ทาสีรองพน้ื
การทาสรี องพื้นรกอ่ นจะชว่ ยยดึ เกาะกับผนงั ได้ดไี ม่หลุดออกง่าย ๆ เลือกสรี องพ้ืนชนดิ ทเี่ หมาะสมกับสภาพพนื้ ผิว
เพราะสรี องพ้นื สาหรบั พ้ืนทยี่ งั ไมเ่ คยทาสมี าก่อน ควรใช้สีรองพน้ื ทีส่ ามารถป้องกันด่างหรอื การใช้สีรองพืน้
สาหรบั พนื้ ผิวเนื้ออ่อน และไม้เนอื้ แข็งที่อาจมียางซมึ ออกมาได้ ควรทาสรี องพืน้ ท่สี ามารถกันยางและเชอ้ื รา
6. อุปกรณท์ าสี
แปรงทาสี และลกู กล้ิงมีความแตกต่างกัน แปรงทาสี สามารถเขา้ ได้ทกุ ซอกมุมของพืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งการทาจงึ เหมาะกับในกรณี
ท่เี ตรียมพ้นื ผิวแบบหยาบ ๆ หรอื ผิวท่ไี มเ่ รยี บ การใช้แปรงทาจะทาให้สีสัมผัสกบั ผวิ ผนังในซอกมุมต่าง ๆ ไดด้ ี
ลกู กลิง้ เหมาะสาหรับการทาในพื้นท่ีกว้าง ๆ ซึ่งสามารถทาให้การทาสีทาได้เร็วกว่า แตล่ ูกกล้งิ จะใช้ปริมาณมากกวา่ การทา
ดว้ ยแปรง
7. อปุ กรณ์จาเปน็ อื่น ๆ
สง่ิ ที่ลืมไมไ่ ดเ้ ลยคือผ้าปูผ้ืนกันเป้อื นเพอื่ ปอ้ งกันสกี ระเด็นหรือตกหลน่ พ้ืน บนั ไดส้ าหรบั ทาท่ีสูงและเพดาน ถาดผสมสี
และอปุ กรณ์ทาความสะอาดต่าง ๆ
8. เกบ็ รายละเอยี ด
เม่ือทาเสร็จแลว้ ควรตรวจสอบหาขอ้ บกพร่อง เช่น สที ่ที าอาจจะไม่สมา่ เสมอกัน หรือยังไม่ไดท้ าในส่วนท่เี ป็นซอกเปน็ มุม
จากน้ันเก็บรายละเอียดของงานใหล้ ะเอยี ดของงานใหเ้ รียบร้อย เทา่ น้ีก็จะไดบ้ ้านท่ีดูใหม่ และสดใสข้ึนโดยไมต่ ้องมี
การตกแตง่ อะไรใหส้ ้นิ เปลอื ง
9. การเกบ็ รกั ษาสี
หากใช้สีไม่หมดแตเ่ หลอื จานวนสีไมม่ าก และอยากเกบ็ สีไว้ใชต้ ่อครั้งหน้า ควรจะเทสีใสก่ ระป๋องที่มีขนาดเล็กปิดฝาให้แนน่
เพ่ือปอ้ งกนั การแขง็ ตวั ของสบี นพนื้ ผวิ
3.การเตรยี มพนื้ ผวิ เพอื่ การทาสี
ปัจจบุ ันผนงั บา้ นของเรามักจะเปน็ ผนงั ก่ออิฐฉาบปนู เรยี บ (จรงิ หรอื เปล่า) ทาสีการทาสีผนงั แบบน้จี ะแบง่ สี
ออกเปน็ 2 ชนดิ การเตรยี มพน้ื ผวิ ท่จี ะทาสกี อ่ นทาการทาสีควรตรวจสอบดูก่อนวา่ ผนงั เก่าของคณุ มีรอยร้าวหรือไม่
หากพบว่ามรี อยแตกรา้ วกส็ ามารถทาการโป้วดว้ ยอะครลิ กิ ซลิ โิ คน (สขี าว) หากพบสีหลุดร่อนกท็ าการขดู ออกเสยี กอ่ น
ทจ่ี ะขดั ดว้ ยกระดาษทรายเบอร์ 4 อกี คร้งั เพ่อื ความเรียบเนยี นของพิ้นผวิ เมอ่ื ทราบขั้นตอนการเตรียมพ้นื ผิวแลว้
สีท่ใี ช้สาหรบั งานปนู ไดแ้ ก่ สีทารองพื้นและสีจริง แตกตา่ งกนั อย่างไร
1. สีทารองพน้ื มีอยู่ 2 ชนดิ ด้วยกนั ครบั ได้แก่
– สที ารองพน้ื ชนิดที่ทาจากอะคริลกิ ซง่ึ จะช่วยปอ้ งกนั เชื้อราใชท้ ารองพน้ื ผนงั ปูนฉาบทว่ั ๆ ไป
กอ่ นทาควรผสมนา้ เจือจางประมาณ 20% ของสี
– สที ารองพนื้ ชนดิ ท่ีทามาจากอลั คาไล
สชี นดิ นี้นอกจากจะปอ้ งกนั เช้ือราได้ดีแล้ว ยงั ปอ้ งกนั ความช้ืนไดด้ กี ว่าสีทารองพ้นื ชนิดทที่ าจากอะครลิ ิก
การใช้งานกับบ้านเกา่ ควรเลอื กสปี ระเภทน้ี ชนดิ รองพื้นปนู เก่าผสมนา้ 20% ทารองพนื้ ก่อนทาสจี รงิ
5
2. สจี รงิ หรอื ที่เราเคยได้ยนิ กันติดหูวา่ สนี า้ พลาสติกนนั่ ล่ะครบั
สพี วกน้ที ามาจากสารจาพวกลาเท็กซ์และอะคริลิก มีการยดึ เกาะและยดื หยุ่นทด่ี ี มีสว่ นผสมท่ีสามารถตอ่ ตา้ นเช้ือรา
เหมาะกับสภาพอากาศเมืองรอ้ นอยา่ งบ้านเรา ทาความสะอาดง่าย กอ่ นใชค้ วรผสมน้าใหไ้ ด้สดั ส่วนท่ีเหมาะสมตามที่
ผผู้ ลิตสแี นะนาไว้ สที ีใ่ ช้สาหรบั งานไม้ สชี นิดน้ีมีประโยชน์ในด้านการป้องกัน ไมใ่ หค้ วามชืน้ จากภายนอกเข้าไป
ทาลายเน้ือไม้และยงั ช่วยรักษาความช้นื สัมพัทธข์ องเนอื้ ไม้เอาไวไ้ ด้ดีไม้จงึ ไมเ่ กดิ การแตกร้าวหากไดร้ บั การทาสอี ย่างถูกวธิ ี
สที าไม้แบ่งออกเป็น 2 ชนิดเช่นเดยี วกบั สีทาปนู คือสรี องพนื้ และสีจรงิ
1.สที ารองพ้นื ไม้ มีอยู่ 2 ชนดิ ด้วยกนั ครับ ได้แก่ สีทารองพ้ืนไม้ชนดิ ผสมอะลูมเิ นยี ม ใชท้ ารองพน้ื ไม้ชน้ั แรก
เพอ่ื ปอ้ งกันยางไม้และความชน้ื ภายในไมใ่ หไ้ หลออกมาปะปนกบั สจี ริง สที ารองพนื้ ไมส้ ีน้ามัน เป็นสที ี่แหง้ เรว็ เน่ืองจาก
มที ินเนอร์เปน็ สว่ นผสมทาให้สเี จอื จางเหมาะสาหรบั ทารองพ้ืนคร้ังแรกหรอื ทาทับไมท้ ่เี คยทาสีอืน่ มากอ่ น
สีชนดิ นที้ นทานตอ่ รอยขีดข่วนดี และทนความรอ้ นได้สูงถงึ 90 องศาเซลเซยี ส
2. สจี ริง คือสีทท่ี าลงไปชนั้ นอกสดุ เพือ่ ความสวยงาม สามารถเลอื กไดว้ ่าจะใช้สีโทนไหน จะเอาหวานแหวว
หรือเข้มขรมึ สักแค่ไหนแลว้ แต่ความชอบของแต่ละท่านสว่ นใหญ่ทามาจากใยสงั เคราะห์ เนอ้ื สที ่ที าแลว้ จะมคี วามมัน
เป็นเงางาม มกี ารตา้ นทานเชอ้ื ราท่ีดีทนการขีดข่วนพอสมควร บางชนดิ ทนความร้อนได้สงู ถึง 93 องศาเซลเซียส
สีท่ีใชส้ าหรับงานโลหะ จัดแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือสที ารองพนื้ และสจี รงิ
1. สีทารองพื้นโลหะ มอี ยู่ 2 ชนดิ ดว้ ยกันครบั ไดแ้ ก่ สที ารองพื้นโลหะชนดิ ผสมผงซิงคโ์ ครเมท ภาษาชาวบา้ น
ก็คือสีกนั สนมิ สชี นิดน้ี จะทาหนา้ ที่ปอ้ งกันไม่ใหเ้ หล็กสญู เสยี อิเลก็ ตรอนให้กบั อากาศ ดงั นนั้ เหลก็ จึงไมเ่ กดิ สนิม
ก่อนทาควรกาจัดสนิมให้หมดเสียก่อนแล้วผสมให้เจอื จางดว้ ยทนิ เนอร์ สีทารองพน้ื โลหะชนิดทีท่ ามาจากอีพอกซ่ี
ใช้ทารองพ้นื ผิวท่เี ปน็ เหล็กป้องกันการกัดกรอ่ นไดด้ มี าก สีชนดิ นสี้ ่วนใหญจ่ ะใช้ทารองพื้นโลหะในเรือเดินสมทุ ร
2. สีจริง เปน็ สีที่ใช้ทาทับเพ่ือความสวยงาม เปน็ สีนา้ ชนดิ เดยี วกับทีใ่ ช้ทาไม้ เน่ืองจากสนี ้ามนั มคี ณุ สมบตั ิการยดึ เกาะ
ได้ดีทั้งไม้ ปนู และโลหะ (ผวิ ไม่เรยี บ) อปุ กรณ์ทาสี เคร่อื งไมเ้ ครือ่ งมือทคี่ ณุ จะต้องเตรียมสาหรับการทาสี เป็นความรใู้ น
การเลือกซ้ือถูกจะไดไ้ ม่ต้องเสยี เงนิ ฟรี หรอื เสยี เวลาเอาไปเปลีย่ นการทาสีน้ามัน แปรงสาหรับทาสีนา้ มนั มีขนาดความกว้าง
หลายขนาด หากพน้ื ทีก่ ว้างกเ็ ลอื กชนิดหนา้ กว้าง หากพ้ืนที่แคบกเ็ ลือกขนาดเล็ก ๆ สักหน่อยสีจะไดไ้ ม่เลอะส่วนทอี่ ย่ใู กล้
เคียงบริเวณที่จะทาภาชนะผสมสี ควรเตรียมให้มีขนาดทเี่ หมาะสม เพราะการผสมสีต้องผา่ นกรรมวธิ กี ารคนสใี หเ้ ข้ากบั
ทินเนอร์กอ่ นทา ไมค่ วรใช้ภาชนะพลาสติกนะครบั เพราะทินเนอรห์ รอื นา้ มนั สนนน้ั จะกดั เนอ้ื ผิวพลาสตกิ จนละลาย
ภาชนะแช่และล้างแปรง เมอื่ ทาสเี สรจ็ เรยี บรอ้ ย แปรงตา่ ง ๆ ยงั คงสามารถเกบ็ ไว้ใชไ้ ด้ ดงั นั้นเราควรมภี าชนะสาหรบั
แชแ่ ละทาความสะอาดแปรงด้วย ภาชนะไมค่ วรเป็นพลาสตกิ เพราะทนิ เนอรห์ รือนา้ มันสนนั้นจะกดั เนอื้ ผิวพลาสติก
จนละลายเช่นกัน การทาสีนา้ พลาสตกิ มีอุปกรณ์ตา่ งออกไปจากสีน้ามนั ดังน้ี
แปรงดอกหญ้า (ทามาจากดอกหญ้า) ชนิดเดียวกบั ที่เราใชก้ วาดบ้าน แต่จะไมม่ ีด้ามมัดใหป้ ลายดอกบานออก
ใช้จ่มุ สีทาได้ ชา่ งมอื อาชีพสว่ นใหญจ่ ะใช้แปรงชนิดนี้แปรงชนดิ น้ีใช้แรก ๆ มกั จะมสี ีเหลืองตกออกมา
ดงั น้ันควรแช่นา้ ให้สตี กออกมาเสยี กอ่ นจงึ นาไปใช้ทาสไี ด้
ลกู กลงิ้ จะดกี ว่าแปรงตรงทีท่ าสีไดส้ มา่ เสมอและรวดเรว็ กว่าแต่ลกู กล้ิงไม่สามารถทาแทรกเข้าไปตามซอกมมุ ได้
ดังน้นั จงึ ตอ้ งใชแ้ ปรงช่วยในการเกบ็ งานอกี ครงั้ หนง่ึ
6
การเตรียมพ้ืนผวิ
ผวิ โลหะ :
ถ้าเป็นสนิม อย่ามองข้ามใหก้ าจัด (ใหส้ น้ิ ซาก) ให้หมดกอ่ นดว้ ยการใช้กระดาษทรายขดั บรเิ วณทเี่ ป็นสนิม
แลว้ ทารองพน้ื กันสนมิ กอ่ นทาสีจรงิ ทับ
ผิวไม้ :
ต้องม่ันใจว่าไมน้ ้นั แห้งสนิทแลว้ จึงทาการขัดดว้ ยกระดาษทรายใหเ้ รียบ เช็ดฝุ่นผงไม้ทเ่ี กดิ จากการขัดออกใหห้ มด
กอ่ นทาทบั ด้วยสีรองพน้ื ไมก้ ันเช้อื รา หากเป็นไม้เก่าทผี่ ่านการทาสมี าแล้ว แต่สภาพดีก็สามารถใช้กระดาษทราย
ละเอียดขดั ไดเ้ ลย ก่อนล้างฝุ่นออกรอใหแ้ ห้งสนทิ แล้วจงึ ทาสีทบั ต่อไป แตถ่ า้ สีเดิมมกี ารหลดุ รอ่ น แตกลาย
จะต้องใชน้ ้ายากดั สเี ก่าออกก่อน นา้ ยากดั สตี วั น้ีแรงนะครบั ก่อนใช้ต้องมกี ารป้องกันร่างกายของเราด้วยการใส่ถงุ มอื
และระวงั อยา่ ใหก้ ระเดน็ ถกู สว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย เพราะวา่ จะแสบมาก
ผิวปนู :
หากเป็นผนังปนู ใหมต่ อ้ งรอใหผ้ นังแหง้ ดีเสยี ก่อน แล้วใช้กระดาษทรายลบู เพ่อื ใหเ้ มด็ ทรายหรอื คราบน้าปนู หลดุ ออกก่อน
ทาทับดว้ ยสีรองพ้นื และสจี ริงตามลาดับหากเปน็ ผนงั เกา่ ให้ตรวจดูสภาพ หากชารุดมากให้ทาการล้างและขดั ออก
ดว้ ยแปรงลวดจากนัน้ อดุ โปว้ รอยรา้ วก่อนทาการขัดดว้ ยกระดาษทรายทารองพื้นดว้ ยสีรองพนื้ ปูนเกา่ 1 ครง้ั และสจี ริง
4.สว่ นประกอบของสที าบ้าน
ส่วนประกอบของสที าบา้ น
โดยทั่วไปจะประกอบด้วย
1. สารยึดเกาะหรือ อะครีลิคซง่ึ เป็นสว่ นทสี่ าคญั ทส่ี ดุ ของสี
2. ผงสีซึง่ จะทาให้เกิดความสวยงาม
3. ตวั ทาละลายซ่งึ จะเปน็ ตัวทาละลายทาให้เป็นเน้ือเดียวกนั
4. สารปรุงแตง่ ต่าง ๆ ที่ใช้สาหรับปรับปรุงคณุ ภาพสี เชน่ สารกนั บดู สารกันเชอ้ื รา
5.แนวคดิ ในการเลือกใชส้ ี
สใี นทอ้ งตลาดมมี ากมายหลายชนิด แบ่งแยกตามจดุ ประสงคก์ ารใช้งาน แนวคดิ กวา้ งๆในการเลือกใช้สีต้องเลือกใชส้ ี
ทเี่ หมาะสมกบั จดุ ประสงค์การใช้งานเพ่ือประโยชน์สงู สุดทไ่ี ด้รับ การเลอื กสสี าหรับอาคารนน้ั ต้องเลือกใหต้ รงตาม
วัตถปุ ระสงคท์ ใ่ี ช้ โดยแยกตามประโยชนแ์ ละหนา้ ท่ีเฉพาะของสโี ดยมีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้
1. ทาสีเพ่ือปกป้องพื้นผิว
การทาสีนน้ั นอกจากทาเพ่ือความเรียบร้อยสวยงามแล้วยังช่วยปกป้องและปอ้ งกันความเสียหายอนั เกิดกบั
พ้นื ผิวของวัสดุต่างๆ ของอาคารจากการกดั กรอ่ นของธรรมชาติ ไดแ้ ก่ แสงแดด ฝน สภาวะอากาศ
รวมถงึ ทั้งสารเคมี และการสัมผัส เช็ด ถู ขูดขีด เป็นตน้
7
2. เพื่อสุขลกั ษณะและความสะอาด
การทาสีท่ีผ่านการเลือกใช้อยา่ งดี ถกู ตอ้ งตามลักษณะการใช้สอยของพืน้ ทีใ่ นส่วนตา่ ง ๆ แล้ว
จะช่วยทาให้ผิวหนา้ ของพ้นื ผิวเมื่อมีการใช้งานจะทาความสะอาดได้ง่ายไมด่ ดู ซมึ นา้ และสารละลายตา่ งๆ ได้
เช่น ครัว ควรใช้สที ่ีทาความสะอาดง่ายเชน่ สนี ้ามัน หรือ สีAcrylic อยา่ งดี, ห้อง LAB หรอื ห้องทดลองทางวทิ ยาศาสตร์
ควรใช้สีที่มีความทนทานตอ่ สารเคมี และห้องน้า ควรใชส้ ีท่ีทนตอ่ น้าและความชน้ื ได้ดี ทาความสะอาดง่าย เป็นตน้
3. เพอ่ื ปรับความเขม้ ของแสง
บรรดาเฉดสีต่างๆ นอกจากจะมผี ลตอ่ อารมณ์ความรู้สึกของผู้อยอู่ าศัย เช่น ทาใหด้ โู ล่งกว้าง ดหู นักแนน่
หรือดูเรา้ ใจ เป็นต้นแล้วกย็ งั จะมสี ว่ นช่วยในการปรับ ความเขม้ จาง ของแสงจากแสงแดดและแสงไฟฟ้า
เฉดของสีมสี ่วนชว่ ยเพ่ิมหรอื ลดความเขม้ ของแสงในอาคารได้ เช่น ในห้องอา่ นหนงั สือทีต่ ้องการแสงสวา่ งมาก ๆ
ก็ควรใชเ้ ฉดสสี วา่ ง เช่น สีขาว ในขณะท่ีห้องชมภาพยนตร์ ควรจะเลือกใชเ้ ฉดสีท่มี ดื ไมร่ บกวนการชมภาพยนตร์ เป็นตน้
4. สัญลกั ษณเ์ ครือ่ งหมาย
บางครั้งกม็ ีการใช้สีสอื่ ความหมาย เป็นเครื่องหมายสญั ลักษณ์ ในรูปกราฟฟกิ สบี างชนิดจะมกี ารส่ือความหมาย
เปน็ แบบมาตรฐานสากลได้ เชน่ ปา้ ยจราจร สญั ลักษณ์ ระวังอันตรายตา่ งๆ เป็นต้น
5. ความสวยงาม
ประการสุดท้ายซ่งึ เป็นประการสาคัญในการเลือกใช้สี คือเรือ่ งของความสวยงามความพอใจ ซึ่งเป็นผลโดยตรง
และเห็นได้ชดั เจนท่ีสดุ สาหรับงานทางสถาปัตยกรรมอาคารบา้ นเรือนตา่ งๆ การเลือกชนดิ ของสี และ เฉดสีอาจชว่ ยเนน้
ใหแ้ นวความคิดในการออกแบบแสดงออกมาไดด้ ยี ิ่งข้ึน
8
บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินการ
3.1 วธิ กี ารดาเนินการตามระบบการดาเนนิ งานครบวงจร (PDCA)
การวางแผน (Plan)
1. ประชมุ รับนโยบายการดาเนนิ งาน
บุคลากร กศน.ตาบลเขาหลวง ประชุมเพ่ือวางแผนจัดโครงการตามแผนการดาเนินงาน กาหนดช่ือ
โครงการ กาหนดกลุ่มเป้าหมาย เพ่อื ดาเนนิ การสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
2. สารวจความต้องการของกล่มุ เป้าหมายในพื้นที่
กศน.ตาบลเขาหลวง สารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ โดยการใช้แบบสารวจความ
ต้องการในการเข้าร่วมโครงการ และได้กลุ่มเปา้ หมายตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้
3. วิเคราะห์ข้อมูลเพอ่ื นาไปใชใ้ นการดาเนินงาน
กศน.ตาบลเขาหลวง วิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจความต้องการสของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนท่ี และ
นาข้อมูลทว่ี ิเคราะห์ดาเนินการจดั เตรียมขอ้ มลู เพื่อจดั ทาส่อื ตา่ ง ๆ
4. จัดเตรยี มข้อมลู รายละเอยี ดและส่ือตา่ งๆเพื่อนาไปใช้ในการประชาสมั พันธ์รับสมัคร
กศน.ตาบลเขาหลวง นาข้อมูลที่วิเคราะห์ดาเนินการจัดเตรียมข้อมูล เพ่ือจัดทาส่ือต่าง ๆ และ
ประชาสมั พนั ธร์ บั สมคั รให้ประชาชนในพ้ืนท่ีเขา้ ร่วมโครงการ
การนาไปปฏบิ ัติ (DO)
1. สรุปข้อมูลพ้ืนฐานและความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย
กศน.ตาบลเขาหลวง ได้นาข้อมลู จากการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพนื้ ท่ี สรปุ ข้อมูล
พน้ื ฐานและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจดั ทาโครงการ
2. จัดทาโครงการเพ่อื ขออนมุ ัติ
กศน.ตาบลเขาหลวง จัดทาโครงการ หลักการและเหตุผล กาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขต
ในการทากจิ กรรม ขอบเขตพน้ื ทีก่ ารจดั กิจกรรม ขอบเขตระยะเวลาการจดั กจิ กรรม และเครือข่าย
3. ประสานเครอื ขา่ ย / วิทยากร
กศน.ตาบลเขาหลวง ดาเนินการจัดทาหนังสือเชิญวิทยากรเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในพ้ืนที่ และ
ประสานเครือข่ายในการขอความความอนเุ คราะหใ์ ช้สถานทีใ่ นการจดั โครงการ
4. ดาเนินการฝกึ อบรมตามโครงการ
กศน.ตาบลเขาหลวง ดาเนินการจดั โครงการตามแผนท่กี าหนดไว้ โดยมีกล่มุ เป้าหมายเป็นประชาชน
ในตาบลวงั สะพงุ เข้าอบรมในโครงการ
5. สรุปและรายงานผลการดาเนนิ งาน
กศน.ตาบลเขาหลวง จัดทารายงานผลการดาเนินงานโดยการสรุปผล อภิปรายผล หลังเสร็จส้ิน
โครงการ และนาเสนอรายผลการดาเนินงานตอ่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
9
การตรวจสอบ (Check)
1. ดาเนนิ การประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการทมี่ ตี ่อการจดั กระบวนการเรยี นรู้
กศน.ตาบลเขาหลวง ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีต่อการจัด
กระบวนการเรียนรู้ โดยใหผ้ เู้ ข้าร่วมโครงการทาแบบประเมินความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมโครงการ
2. ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรท่ีมีต่อความสาเร็จของโครงการและกระบวนการ
บรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา
กศน.ตาบลเขาหลวง ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรที่มีต่อความสาเร็จของ
โครงการและกระบวนการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา โดยให้ผเู้ ข้ารว่ มโครงการทาแบบประเมินความพึงพอใจ
ในการเข้ารว่ มโครงการ
3. นิเทศติดตามผลโครงการ
กศน.ตาบลเขาหลวง ไดล้ งพืน้ ที่เพอ่ื นเิ ทศตดิ ตามผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากการจัดโครงการเสร็จส้ิน
โดยใช้แบบนเิ ทศตดิ ตามผู้เข้าร่วมโครงการหลงั จากการจัดโครงการเสร็จส้นิ
ปรับปรงุ แก้ไข (Act)
1. วเิ คราะห์ปญั หา/ข้อเสนอแนะ
กศน.ตาบลเขาหลวง นาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการมาวิเคราะห์ข้อมูล
จากแบบประเมนิ ความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมโครงการ
2. สรุปปัญหา/ขอ้ เสนอแนะ
กศน.ตาบลเขาหลวง สรปุ ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการมาวเิ คราะห์ขอ้ มูล
จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการเขา้ รว่ มโครงการ
3. หาวิธีการดาเนนิ การปรับปรุง แก้ไข โครงการ/กิจกรรมต่อไป
กศน.ตาบลเขาหลวง นาปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะจากผเู้ ข้ารว่ มโครงการ เพ่ือดาเนนิ การ
ปรับปรุง แกไ้ ข โครงการ/กจิ กรรมตอ่ ไป โดยการจดั กิจกรรมใหเ้ หมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมายให้มากขึ้น
3.2 ดชั นชี ้วี ดั ผลสาเร็จของโครงการ
ตัวชวี้ ัดผลผลติ
ประชาชนทวั่ ไปในตาบลเขาหลวง จานวน 12 คน เขา้ รว่ มโครงการ
ตัวช้วี ัดผลลัพธ์
ประชาชนตาบลวังสะพุง มีความรู้ ความเข้าใจ พื้นฐานความรู้ในวิชาอาชีพช่างทาสี และมีสามารถ
ทางานชา่ งทาสีได้
10
3.3 วิธกี ารดาเนินการ
กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เป้าหมาย พื้นท่ีดาเนนิ การ ระยะเวลา
บคุ ลากร 2 คน กศน.อาเภอ 20 ธ.ค.
1.ประชุมบคุ ลากรผู้ที่ ขอมติที่ประชมุ 1 คน วงั สะพุง 2564
เจา้ หน้าที่งาน 2 คน กศน.อาเภอ 23 ธ.ค.
เกี่ยวขอ้ ง 2 คน วงั สะพงุ 2564
บุคลากร กศน.อาเภอ 27 ธ.ค.
2.เขียนโครงการเสนอ ขออนุมัติโครงการ 12 คน วังสะพงุ 2564
กศน.ตาบล 3 ม.ค.
ขออนุมตั ิ 3 คน เขาหลวง 2565
3.แตง่ ต้ังคณะทางาน มอบหมายงาน
4.จดั เตรยี มสถานท่ี จัดเตรียมเอกสารทใ่ี ช้ใน บุคลากร
วัสดุ สอ่ื และอุปกรณ์ โครงการฯ สถานท่ี วัสดุ
อุปกรณ์ ตามหน้าที่
5.ดาเนนิ การตาม 1. เพื่อให้ประชาชนตาบล ประชาชนท่วั ไป กศน.ตาบล 4-18 ม.ค.
โครงการฯ เขาหลวง มีความรู้ ความ ตาบลเขาหลวง เขาหลวง 2565
ตามกาหนดการทีแ่ นบ เข้าใจ พนื้ ฐานความรูใ้ นวิชา
อาชพี ชา่ งทาสี และมี
สามารถทางานช่างไม้ได้
6.ตดิ ตามประเมินผล ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน - ผู้นิเทศตดิ ตาม กศน.ตาบล 19 ม.ค.
เขาหลวง 2565
/ สรุปรายงาน เม่อื แล้วเสรจ็ - ครู กศน.ตาบล
11
บทท่ี 4 ผลการดาเนินการ
ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป
ตารางท่ี 1 แสดงเพศผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ จานวน (คน)
12
เพศ
ชาย
หญิง -
รวมท้ังหมด 12
จากตารางท่ี 1 ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเพศชาย จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และเพศหญิง
จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ซึง่ รวมท้ังหมด 12 คน
ตารางท่ี 2 แสดงอายุเข้ารว่ มโครงการ
อายุ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 – 60 ปี 61 ปขี ้ึนไป รวมทง้ั หมด
จานวน (คน) 11 1 - - - 12
จากตารางท่ี 2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีอายุ 15 - 30 ปี จานวน 11 คน คดิ เป็นร้อยละ 91.67 อายุ 31-40
ปี จานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 8.33 ซ่ึงรวมชว่ งอายทุ ง้ั หมด 12 คน
ตารางที่ 3 แสดงระดับการศกึ ษาเข้าร่วมโครงการ จานวน (คน)
-
ระดบั การศึกษา
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น 7
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 5
รวมทัง้ หมด 12
จากตารางที่ 3 ผู้เข้าร่วมโครงการกาลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน11 คน คิดเป็น
ร้อยละ 91.67 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 ซ่ึงรวมทั้ง 2 ระดับชั้น
ท้ังหมด 12 คน
ตารางที่ 4 แสดงอาชพี เขา้ ร่วมโครงการ
อาชีพ ธุรกิจสว่ นตวั รบั จา้ ง เกษตรกร อ่นื ๆ รวมท้ังหมด
จานวน (คน) - 12 - - 12
จากตารางท่ี 4 ผู้เขา้ ร่วมโครงการ ประกอบอาชีพรับจ้าง จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และ ซึ่ง
รวมผูป้ ระกอบอาชีพทง้ั หมด 12 คน
12
ตอนท่ี 2 ระดบั ความพงึ พอใจ
ตารางที่ 5 แสดงระดบั ความพึงพอใจด้านเนอ้ื หา
ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย
เหตุ
ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจด้านเนอื้ หา มากทีส่ ุด มาก ปาน นอ้ ย น้อย
1 เน้ือหาตรงตามความตอ้ งการ กลาง ท่สี ุด
10= 83.33% 2= 16.67%
2 เน้ือหาเพยี งพอต่อความต้องการ 11= 91.67% 1= 8.33%
3 เนื้อหาปจั จบุ นั ทันสมยั 11= 91.67% 1= 8.33%
4 เน้อื หามปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ 12=100%
สรปุ 91.67% 8.33%
จากตารางท่ี 5 ผู้เข้าร่วมโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
วชิ าชีพระยะส้ัน รูปแบบช้นั เรียนวชิ าชีพ ชา่ งทาสี จานวน 32 ชัว่ โมง โดยมปี ระเด็นวัดความพึงพอใจด้านเน้อื หา
ดงั นี้ เนื้อหามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชวี ิต คิดเป็นร้อยละ 100 เน้ือหาเพยี งพอตอ่ ความ
ต้องการ และเน้ือหาปัจจุบัน ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 91.67 และเนื้อหาตรงตามความต้องการ คิดเป็นร้อยละ
83.33 ตามลาดับ
ตารางที่ 6 แสดงระดับความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม
ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย
เหตุ
มากทส่ี ดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย
กลาง ท่ีสดุ
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม
1 การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรม 9=75% 3=25%
2 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 7=58.33% 5=41.67%
3 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 10= 83.33% 2= 16.67%
4 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 12=100%
5 วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 11= 91.67% 1= 8.33%
สรุป 81.67% 18.33%
จากตารางที่ 6 ผู้เข้าร่วมโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ
วิชาชีพระยะส้ัน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ ช่างทาสี จานวน 32 ชั่วโมง โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจด้าน
กระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ดังนี้ การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย คิดเป็นร้อยละ 100 วิธีการ
13
วัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ คิดเป็นร้อยละ 91.67 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา คิดเป็น
ร้อยละ 83.33 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม คิดเป็นร้อยละ 75 และการออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับ
วัตถปุ ระสงค์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.33 ตามลาดบั
ตารางท่ี 7 แสดงระดับความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร
ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย
เหตุ
ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร มากท่ีสุด มาก ปาน นอ้ ย น้อย
1 วทิ ยากรมคี วามร้คู วามสามารถในการถา่ ยทอด กลาง ที่สุด
2 วทิ ยากรมีเทคนิคในการถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม
3 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซกั ถาม 11= 91.67% 1= 8.33%
10= 83.33% 2= 16.67%
10= 83.33% 2= 16.67%
สรุป 86.11% 13.89%
จากตารางที่ 7 ผู้เข้าร่วมโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ
วิชาชพี ระยะสน้ั รปู แบบชั้นเรยี นวิชาชีพ ช่างทาสี จานวน 32 ชัว่ โมง โดยมีประเดน็ วัดความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร
ดังน้ี วิทยากรมีความรคู้ วามสามารถในการถ่ายทอด คิดเป็นร้อยละ 91.67 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนร่วมและ
ซักถาม และวทิ ยากรมเี ทคนคิ ในการถา่ ยทอดใชส้ ือ่ เหมาะสม คิดเปน็ รอ้ ยละ 83.33 ตามลาดบั
ตารางท่ี 8 แสดงระดับความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก
ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย
เหตุ
ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก มากทส่ี ุด มาก ปาน น้อย น้อย
1 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อานวยความสะดวก กลาง ทส่ี ดุ
10= 83.33% 2= 16.67%
2 การสอ่ื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่อื ให้เกิดกาเรยี นรู้ 11= 91.67% 1= 8.33%
3 การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ญั หา 12=100%
สรปุ 91.67% 8.33%
จากตารางท่ี 8 ผู้เข้าร่วมโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
วชิ าชีพระยะสั้น รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ ช่างทาสี จานวน 32 ชั่วโมง โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจด้านการ
อานวยความสะดวก ดังน้ี การบรกิ าร การช่วยเหลอื และการแก้ปัญหา คดิ เป็นร้อยละ 100 การส่อื สาร การสรา้ ง
บรรยากาศเพื่อให้เกิดกาเรยี นรู้ คดิ เป็นร้อยละ 91.67 และสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวกคิด
เปน็ รอ้ ยละ 83.33 ตามลาดับ
14
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผล
ผเู้ ข้าร่วมการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ วิชาชีพระยะสนั้ รูปแบบช้ันเรียนวชิ าชีพ ช่างทาสี จานวน
32 ชั่วโมง เป็นเพศชาย จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งกาลังศึกษาอยู่ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น จานวน
11 คน คิดเป็นร้อยละ 91.67 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 ผู้เข้าร่วม
โครงการเป็นประชาชนทั่วไปในตาบลเขาหลวง พร้อมท้ังประกอบอาชีพรับจ้าง จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ
100 และมปี ระเดน็ วัดความพึงพอใจในการจดั โครงการฯ ดงั น้ี ความพงึ พอใจด้านเนอ้ื หา และความพึงพอใจด้าน
การอานวยความสะดวก คิดเป็นร้อยละ 91.67 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร คิดเป็นรอ้ ยละ 86.11 และความพึง
พอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม คิดเป็นร้อยละ 81.67 ตามลาดับ จากผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด
12 คน
5.2 อภิปรายผล
การจัดการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ วชิ าชพี ระยะสั้น รูปแบบชั้นเรยี นวิชาชพี ชา่ งทาสี จานวน 32
ชัว่ โมง ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในด้านเน้ือหาท่ีมีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
และมีการจดั กิจกรรมท่ีเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย
การจัดการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพ วชิ าชีพระยะสนั้ รูปแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ ชา่ งทาสี จานวน 32
ชวั่ โมง ได้ดาเนินการตามเป้าหมายของโครงการ โดยเน้นให้ผู้เข้าร่วมอบรมบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
ซึง่ วิทยากรได้ถา่ ยทอดความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของงานสี ประเภทของงานสี และวสั ดุอุปกรณ์ของการทางานสี
เพ่ือให้ผูเ้ รยี นไดน้ าความร้ทู ี่ไดร้ ับไปใช้ในการปฏิบตั ิงานไม้ในลาดบั ต่อไป
ผเู้ ข้าร่วมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ วิชาชีพระยะส้นั รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ ช่างทาสี จานวน
32 ช่ัวโมง สามารถปฏิบัติทางานระแนงบังแดดจากไม้ได้ เน่ืองจากผู้เรียนทุกคนไดล้ งมือปฏิบัติทางานทาสี ด้วย
ตนเอง โดยมกี ารควบคุม ดูแล ให้คาแนะนาจากวิทยากรผ้เู ชีย่ วชาญดา้ นงานสี และมผี ลงานออกมาถูกต้องและมี
ประสิทธิภาพ สามารถใชง้ านได้จรงิ ตามความต้องการของผเู้ รยี น
5.3 ข้อเสนอแนะ
ผู้เข้ารว่ มการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาอาชีพ วิชาชีพระยะสั้น รปู แบบชน้ั เรยี นวชิ าชพี ชา่ งทาสี จานวน
32 ชว่ั โมง ไม่มีขอ้ เสนอแนะในการจัดกิจกรรม
15
ภาคผนวก
16
หลกั สตู รอาชพี ชา่ งทาสี
จานวน 32 ชั่วโมง
ความเป็นมา
ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรีนุช เทียนทอง) กาหนดนโยบายการจัด
การศึกษาและภารกิจเร่งด่วน เพ่ือขบั เคลื่อนการศึกษาท่ีมุ่งพัฒนาทักษะอาชีพ สง่ เสริมการจัดการศึกษาที่เน้น
พัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียนเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชีวิต สรา้ งอาชพี และรายได้ รวมท้ังเพ่อื เพ่ิมขดี ความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศ โดยดาเนินการส่งเสริมการจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างมี
คุณภาพท่ัวถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มั่นคง ม่ังคั่ง และมีงานทาอย่างย่ังยืน ซึ่งจะเป็นการจัด
การศกึ ษาตลอดชีวติ ในรูปแบบใหม่ท่สี ร้างความม่ันคงใหแ้ กป่ ระชาชน
เพอ่ื ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศนข์ องกระทรวงศึกษาธกิ าร ในการผลติ และพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรของ
ชาติ เพอื่ สร้างความเปน็ อย่ทู ีด่ ี และสร้างความม่ังคง่ั ทางเศรษฐกจิ และความมัน่ คงทางสังคมให้กับประเทศ
ด้วยฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และศักยภาพของประเทศ ตามท่ี สานกั งาน กศน. ได้จัดทา หลักสตู รช่าง
ทาสี ปัจจบุ นั สงั คมไทยเปน็ ครอบครัวขยาย มกี ารปลกู สรา้ งบา้ นพักอาศยั มากข้ึน ทาใหต้ อ้ งมีการทาสี เพือ่
ตกแตง่ บ้านให้มีความสวยงาม อาชพี ช่างทาสีจงึ มคี วามจาเปน็ อย่างมากในยุคปจั จบุ นั เพราะเป็นอาชพี ทใ่ี ช้
ทักษะความร้แู ละความชานาญ สามารถทาเปน็ อาชพี หลกั และอาชีพเสริม สร้างงาน สรา้ งรายได้ ใหก้ บั
ครอบครวั ไดอ้ ยา่ งมน่ั คง
หลกั การของหลักสตู ร
1.เป็นหลกั สูตรที่เน้นการจัดการศึกษาอาชพี เพ่อื การมงี านทา
2.เปน็ หลักสตู รท่ีเน้นการเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ัติจริง เพอ่ื ประโยชน์ในการประกอบอาชพี ได้จรงิ
จุดหมาย
ผู้เรยี นมีความรูม้ ที กั ษะในการทาสแี ละประกอบอาชพี อย่างมคี ณุ ธรรม สามารถประกอบอาชพี เลี้ยง
ตนเองและครอบครัวได้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเปา้ หมายคือประชาชนในพื้นท่ตี าบลเขาหลวง
1.ผ้ทู ่ไี ม่มีอาชีพ
2.ผทู้ ่ีมีอาชพี และต้องการพฒั นาอาชพี
17
ระยะเวลา จานวน 32 ชัว่ โมง
ทฤษฎี จานวน 11 ชวั่ โมง
ปฏบิ ตั ิ จานวน 21 ชัว่ โมง
โครงสร้างหลกั สูตร จานวน 11 ชวั่ โมง
1.ช่องทางการประกอบอาชพี ช่างทาสีเบอ้ื งตน้
1.ความสาคญั และประโยชน์ของการทาสี
1.1 การประกอบอาชีพช่างทาสีคณุ ธรรม จริยธรรมสาหรบั อาชีพช่างทาสี
1.2 ความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกบั การทาสี
1.2.1 ชนิดของสี 1.สีรองพนื้ 2. สีทาภายนอก 3. สํีนา้ มัน 4. สํีน้าอะคริลคิ 5. สียอ้ มไม้
6. สเี คลือบไม้ 7. สกี ันสนมิ
1.3 ประเภทของเคร่อื งมือทีใ่ ชท้ าสแี ละวธิ ใี ช้
1.4 ความปลอดภัยในการใชเ้ ครอ่ื งมืออปุ กรณ์
2.ทักษะการประกอบอาชพี จานวน 9 ช่ัวโมง
2.1การเตรยี มพน้ื ท่ี
2.2การเตรียมอุปกรณ์น่งั รา้ น
2.3การเตรียมสี และวสั ดอุ ปุ กรณ์
2.4การทาสีรองพนื้ และสที บั หน้า
2.5วธิ กี ารเกบ็ รายละเอยี ดของชนิ้ งาน
3.การบริหารจดั การในการ ประกอบอาชพี จานวน 12 ชวั่ โมง
1.การคานวณพ้นื ทแี่ ละคานวณราคา
2.การประชาสัมพันธ์และการหาลกู ค้า
3.การควบคมุ มาตรฐานของการบรกิ าร
4.การเจรจาต่อรองราคากับลูกค้า
การจดั กระบวนการเรยี นรู้
1. จดั กจิ กรรมสารวจและวิเคราะหต์ นเอง ทรพั ยากร อาชีพ และความตอ้ งการของตลาด เพอ่ื ให้
ผู้เรยี นได้เห็นช่องทางการประกอบอาชพี
2.จัดกจิ กรรมวเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้กระบวนการ SWOT รวมทั้งการศกึ ษาดงู าน เพอ่ื กาหนดทิศ
ทางการพัฒนาประกอบอาชีพ
3. ฝกึ ทักษะการประกอบอาชีพ
- เรียนร้จู ากวิทยากร
- เรียนรู้จากการลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ
18
ส่อื การเรียนรู้
1. เอกสารการงานก่อสรา้ ง (ทาสี)
2. วทิ ยากรผู้เชยี่ วชาญ
3. วัสดจุ รงิ
4. Youtube
การวัดและประเมินผล
1. การประเมินความรภู้ าคทฤษฎีระหว่างเรยี นและจบหลกั สูตร
2. การประเมนิ ผลงานระหว่างเรียนจาการปฏิบตั ิ ได้ผลงานท่มี คี ุณภาพสามารถสรา้ งรายได้ และ
จบหลักสตู ร
การจบหลกั สูตร
1. มีเวลาเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มผี ลการประเมินตลอดหลกั สูตร ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60
3. มีผลงานท่มี คี ุณภาพ
เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา
1. หลักฐานการประเมินผล
2. ทะเบียนคมุ วุฒบิ ตั ร
3. วฒุ ิบตั รการศึกษาออกโดยสถานศกึ ษา
การเทยี บโอน
ผู้เรยี นท่ีจบหลกั สตู รนีส้ ามารถนาไปเทียบโอนผลการเรยี นรกู้ บั หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชพี วชิ าเลอื กท่ีสถานศึกษาไดจ้ ดั ทาขึ้น
รายละเอียดโครงสร้า
เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหา
1.ชอ่ งทางการ
ประกอบอาชพี 1.ผู้เรยี นบอกความสาคัญและ 1.ความสาคัญและประโยชน
ช่างทาสีเบ้อื งต้น
ประโยชน์ของ การทาสที ง้ั ภายใน ทาสี
2.ทกั ษะการ
ประกอบอาชพี และภายนอกอาคารได้ 1.1 การประกอบอาชีพช่า
2.วิเคราะห์ตนเองในการประกอบ คณุ ธรรม จริยธรรมสาหรบั อ
อาชพี ชา่ ง ทาสีสามารถบอก ทาสี
คณุ ธรรมจริยธรรม สาหรับ อาชพี 1.2 ความรูเ้ บือ้ งตน้ เกี่ยวก
ชา่ งทาสไี ด้ 1.2.1 ชนิดของสี 1.สรี อ
3.บอกชนิดของสี วัสดุ ทาสีและ ทาภายนอก 3. สํีนา้ มนั 4. ส
ประเภทของ เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการ อะคริลิค 5. สีย้อมไม้ 6. สีเค
ทาสไี ด้ สกี นั สนมิ
4.อธบิ ายวธิ กี ารรักษาความ 1.3 ประเภทของเครื่องม
ปลอดภยั จากการ ใชเ้ ครื่องมือ และวธิ ีใช้
วสั ดุ อุปกรณ์ได้ 1.4 ความปลอดภยั ในกา
เคร่ืองมืออปุ กรณ์
1.เตรยี มพ้นื ที่ ทาสี วสั ดุอปุ กรณ์ 2.1การเตรยี มพ้ืนที่
และ เครอ่ื งมอื ในการทาสีได้ 2.2การเตรียมอุปกรณ์นั่งร้าน
2.ทาสีรองพน้ื และสที บั ได้อย่าง 2.3การเตรียมสี และวัสดุอุป
ถกู ต้อง 2.4การทาสีรองพน้ื และสีทบั
างหลักสูตร ชา่ งทาสี
นข์ องการ การจดั กระบวนการเรียนรู้ จานวนชั่วโมง
างทาสี 1. ผ้เู รียนศกึ ษาสอื่ เอกสาร ใบความรูส้ ่ือ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
อาชีพช่าง อนิ เทอรเ์ นต็ เก่ยี วกบั ความสาคญั ประโยชน์ ความรู้ 38
เบ้ืองต้น คณุ ธรรม จริยธรรมเก่ียวกับ การทาสี
กับการทาสี 2. ผู้เรียนสอบสมั ภาษณ์พูดคุยกับชา่ งทาสี เกีย่ วกบั
องพน้ื 2. สี อาชีพช่างทาสี
สํนี ้า 3. นาข้อมลู จากการศึกษาสื่อ และจากการ
คลอื บไม้ 7. สัมภาษณม์ าวเิ คราะหต์ นเอง เพ่อื ตดั สนิ ใจ
ประกอบอาชพี
มือท่ีใช้ทาสี 4. นาผลการวิเคราะห์มาแลกเปล่ียนกบั ผูร้ ู้ เพ่ือน
ในกลุม่ และวิทยากร
ารใช้ 5.สรปุ ช่องทางการประกอบอาชีพและการ
ตัดสินใจของตนเอง
1.ผูเ้ รยี นศกึ ษาใบความรู้เก่ียวกับประเภทของ ทาสี 4 5
น วธิ ีการทาสีทุกวิธี
ปกรณ์ 2.ผู้เรยี นชมการสาธติ ของวิทยากรพร้อม สมั ภาษณ์
บหนา้ ข้ันตอนและวธิ ีการทาสที กุ วธิ ี
เร่ือง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหา
2.5วธิ กี ารเก็บรายละเอียดข
3.การบริหาร 3.เก็บรายละเอียดของงานได้
จัดการในการ เรียบร้อยสวยงาม 1.การคานวณพื้นท่แี ละคาน
ประกอบอาชพี 4.สรุปขน้ั ตอนและเทคนิคการ 2.การประชาสมั พันธ์และกา
ทางานได้ครบ ทกุ ขน้ั ตอน 3.การควบคมุ มาตรฐานของ
1.คานวณพ้ืนที่และราคาค่าแรง 4.การเจรจาตอ่ รองราคากบั
ค่าวัสดุการ ประมาณราคางานสี
2.หาลกู คา้ และประชาสัมพันธ์
งานทาสีด์
3.อธิบายมาตรฐานของการ
บรกิ ารทาสีได้ 4.เจราจาต่อรอง
ราคากับลกู ค้าได้อย่างราบรืน่
การจดั กระบวนการเรียนรู้ จานวนชว่ั โมง
ของชนิ้ งาน 3.ผูเ้ รียนฝึกทาสีทุกวธิ ี และฝักเก็บ รายละเอียด ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
ของงานตามใบงานจนชานาญ
4.ผู้เรียนและผสู้ อนรว่ มกนั สรปุ ขัน้ ตอนและ เทคนิค
การทางานไดค้ รบทกุ ข้ันตอน
นวณราคา 1.ผเู้ รียนศกึ ษาใบความรู้เรือ่ งการคานวณ พนื้ ท่ีและ 4 8
ารหาลกู ค้า การคานวณราคาค่าแรงและวัสดุ การหาลูกค่า การ
งการบรกิ าร ประชาสมั พนั ธ์มาตรฐาน ของการบริการและการ
ลกู คา้ เจรจาตอ่ รองราคา
2.ผูเ้ รียนฝกึ คานวณพืน้ ที่ราคาคา่ แรง และวัสดุ
การหาลูกคา้ และวธิ กี ารประชาสมั พนั ธ์
3.ผู้เรยี นฝกึ รบั งาน และฝกึ เจรจาตอ่ รองราคา กับ
ลกู ค้า โดยใช้บทบาทสมมติ และถาน การณ์จรงิ
4.ผเู้ รียนและผู้สอน สรปุ กระบวนการบรหิ าร
จัดการในการประกอบอาชีพชา่ งทาสี
(นายสเุ มธ สุเมโท) (นางสาวกช
วทิ ยากร ครู กศน.
(นางพิชามญช
ผ้อู านวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบแล
ช กิตติภัคโภคิน) (นางบัวคา จันทวนั )
ตาบลเขาหลวง เจ้าหน้าทงี่ านการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง
ชุ์ ลามะนา)
ละการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอวังสะพงุ
แบบ กศ.ตน.12
แผนการจัดการเรยี นรู้
วิทยากร นายสเุ มธ สุเมโท
หลักสูตร ช่างทาสี จานวน 32 ชัว่ โมง (เรยี นวนั ละ 3 ชัว่ โมง)
ระหว่างวนั ที่ 4-18 มกราคม 2565 เวลาเรียน 09.00 - 12.00 น.
สถานท่ีจัดการเรียน กศน.ตาบลเขาหลวง หม5ู่ บ้านนาซาแซง ตาบลเขาหลวง อาเภอวงั สะพุง จังหวดั เลย
วัน เดอื น ปี เวลา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ หมายเหตุ
4 มกราคม 2565 09.00 - 12.00 น. 1.วทิ ยากรอธบิ ายใหค้ วามรู้ และให้ผ้เู รียนศึกษาสื่อ เอกสาร เรยี นวันละ 3 ชม.
5 มกราคม 2565 ใบความรู้ส่ือ อินเทอรเ์ นต็ เกีย่ วกับความสาคญั ประโยชน์
6 มกราคม 2565
7 มกราคม 2565 ความรเู้ บ้ืองตน้
10 มกราคม 2565
2.ผู้เรยี นสอบสมั ภาษณ์พดู คุยกับชา่ งทาสี เก่ียวกบั อาชพี
ช่างทาสี
3.วิทยากรนาข้อมูลจากการศึกษาสอ่ื และจากการ
สมั ภาษณ์มาวเิ คราะห์ตนเอง เพื่อตัดสนิ ใจ ประกอบอาชีพ
4.วิทยากรนาผลการวเิ คราะห์มาแลกเปลยี่ นกบั ผู้รู้ เพอ่ื น
ในกล่มุ และวทิ ยากร
09.00 - 12.00 น. 1.วิทยากรอธิบายใหค้ วามรเู้ บอื้ งต้นเกยี่ วกบั การทาสี เรยี นวันละ 3 ชม.
- ชนดิ ของสี 1.สีรองพ้ืน 2. สีทาภายนอก 3. สีนา้ มนั
4. สีน้าอะครลิ ิค 5. สยี อ้ มไม้ 6. สเี คลอื บไม้ 7. สีกนั สนมิ
-ประเภทของเครอื่ งมือท่ใี ช้ทาสีและวิธีใช้
-ความปลอดภัยในการใช้เครือ่ งมอื อปุ กรณ์
09.00 - 12.00 น. 1.วทิ ยากรอธบิ ายและสาธติ พร้อมฝกึ ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิ เรียนวันละ 3 ชม.
การเตรยี มพน้ื ที่
การเตรยี มอุปกรณ์น่ังร้าน
การเตรียมสี และวัสดอุ ปุ กรณ์
09.00 - 12.00 น. 1.วิทยากรอธบิ ายและสาธติ พร้อมฝึกผเู้ รยี นปฏบิ ัติ เรียนวนั ละ 3 ชม.
การทาสรี องพ้ืนและสีทับหนา้
วิธกี ารเก็บรายละเอยี ดของช้นิ งาน
09.00 - 12.00 น. 1.ผูเ้ รยี นศึกษาใบความรูเ้ ก่ยี วกบั ประเภทของ ทาสี วิธกี าร เรยี นวันละ 3 ชม.
ทาสีทกุ วธิ ี
2.ผเู้ รียนชมการสาธติ ของวทิ ยากรพร้อม สมั ภาษณ์ขนั้ ตอน
และวิธกี ารทาสที ุกวิธี
11 มกราคม 2565 09.00 - 12.00 น. 1.ผ้เู รียนฝึกทาสที ุกวิธี และฝกั เก็บ รายละเอยี ด ของงาน เรียนวนั ละ 3 ชม.
12 มกราคม 2565 09.00 - 12.00 น. ตามใบงานจนชานาญ ภายนอกอาคาร เรยี นวันละ 3 ชม.
13 มกราคม 2565 09.00 - 12.00 น. 1.ผ้เู รียนฝึกทาสที กุ วธิ ี และฝกั เก็บ รายละเอยี ด ของงาน เรียนวนั ละ 3 ชม.
14 มกราคม 2565 09.00 - 12.00 น. ตามใบงานจนชานาญ ภายนอกอาคาร (ตอ่ ) เรยี นวันละ 3 ชม.
17 มกราคม 2565 09.00 - 12.00 น. 1.ผู้เรียนฝึกทาสีทุกวิธี และฝักเก็บ รายละเอียด ของงาน เรยี นวันละ 3 ชม.
ตามใบงานจนชานาญ ภายในอาคาร
18 มกราคม 2565 09.00 - 10.00 น. 1.ผูเ้ รียนฝึกทาสีทุกวิธี และฝักเกบ็ รายละเอียด ของงาน เรียนวันละ 2 ชม.
ตามใบงานจนชานาญ ภายในอาคาร (ตอ่ )
1.ผูเ้ รียนศึกษาใบความรู้เรอื่ งการคานวณ พื้นท่แี ละการ
คานวณราคาค่าแรงและวัสดุ การหาลูกคา่ การ
ประชาสมั พันธ์มาตรฐาน ของการบรกิ ารและการเจรจา
ต่อรองราคา
2.ผู้เรยี นฝึกคานวณพ้ืนท่รี าคาคา่ แรง และวสั ดุ การหา
ลกู คา้ และวิธีการประชาสัมพนั ธ์
3.ผู้เรยี นฝึกรับงานและฝกึ เจรจาตอ่ รองราคากับลูกคา้
-วิทยากรและผู้เรียน ร่วมกันสรุปข้ันตอนและ เทคนิคการ
ทางานได้ครบทุกขั้นตอนและแลกเปล่ียนเรียนรู้ พร้อม
ประเมนิ ผลงาน
(นายสเุ มธ สุเมโท) (นางสาวกช กติ ติภัคโภคนิ ) (นางบวั คา จนั ทวัน)
วิทยากร ครู กศน.ตาบลเขาหลวง เจ้าหน้าทีง่ านการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง
(นางพชิ ามญชุ์ ลามะนา)
ผอู้ านวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอวังสะพงุ
คาสง่ั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอวงั สะพุง
ท่ี 229 / 2564
เรื่อง แต่งตั้งวทิ ยากรการศกึ ษาตอ่ เน่ือง รูปแบบชั้นเรียนวชิ าชีพ
.............................................................................................................................................................
ง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอวงั สะพุง ตาบลวังสะพุง ดาเนินการจัดการ
ศึกษาต่อเน่ือง รปู แบบกลุ่มสนใจ รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตรวิชา ช่างไม้ จานวน 32 ชั่วโมง ให้กับ
ประชาชนท่ัวไปท่ีสนใจ ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สถานที่จัด ณ กศน.ตาบลเขาหลวง อาเภอวังสะพุง จังหวัด
เลย ระหว่างวันที่ 4 - 18 มกราคม พ.ศ. 2565 ตั้งแต่เวลา 09.00 น. ถึง เวลา 12.00 น. เว้นวัน เสาร์-
อาทิตย์ เรียนวันละ 3 ชั่วโมง จานวนวันที่เปิดสอน 11 วัน มีผู้เรียนเป็นชาย 6 คน หญิง 6 คน รวม
จานวนผเู้ รยี น 12 คน
อาศัยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเน่ือง พ.ศ. 2554 จึงแต่งต้ังให้ นาย
รุ้งปรีดา ลิจันทร์ เป็นวิทยากรโดยให้วิทยากรเบิกค่าตอบแทนตามเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังและสานักงาน
สง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกาหนด
ทัง้ น้ี ตงั้ แต่วันท่ี 4 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2565 ถงึ วันท่ี 18 เดือน มกราคม พ.ศ. 2565
สง่ั ณ วันท่ี 23 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564
(นางพิชามญชุ์ ลามะนา)
ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอวังสะพุง
ที่ ศธ 0210.6912/1003 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั อาเภอวังสะพงุ จังหวดั เลย 42130
23 ธนั วาคม 2564
เร่ือง เชญิ เป็นวทิ ยากร
เรียน นายสเุ มธ สุเมโท
ด้วย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอวังสะพุง โดย กศน.ตาบลเขา
หลวง กาหนดจดั การศึกษาต่อเน่ือง เพื่อจัดแบบช้ันเรียนวิชาชีพ วิชา ช่างทาสี จานวนผู้เรียน 12 คน โดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในการพัฒนาอาชีพหรือต่อยอดอาชีพเดิม
สามารถพึ่งตนเองได้ และใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั สะพุง พิจารณาแล้วเห็นวา่ ท่านเป็น
ผู้มีความสามารถและประสบการณ์ท่ีจะให้ความรู้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เป็นอย่างดี จึงขอเชิญท่าน เป็น
วิทยากรสอนวิชาชีพระยะสั้น หลักสูตรวิชา ช่างทาสี จานวน 32 ชั่วโมง สอนวันละ 3 ชั่วโมง ระหว่างวันท่ี 4 -
18 มกราคม 2565 ต้งั แต่เวลา 09.00 น. ถึงเวลา 12.00 น. ณ กศน.ตาบลเขาหลวง อาเภอวังสะพงุ จังหวัด
เลย
จึงเรยี นมาเพื่อพิจารณารบั เชิญเป็นวิทยากร และขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี
ขอแสดงความนับถือ
(นางพิชามญช์ุ ลามะนา)
ผู้อานวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอวังสะพงุ
ทะเบียนผ้จู บหลกั สูตรการจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง
หลกั สตู ร ช่างทาสี จานวน 32 ชั่วโมง
ระหว่างวนั ท่ี 4-18 มกราคม 2565 สถานที่จัด กศน.ตาบลเขาหลวง อาเภอวังสะพงุ จังหวดั เลย .
ท่ี ชือ่ -นามสกุล เลขประจาตวั อายุ วุฒิ อาชพี ที่อยปู่ จั จุบนั ผลการ เลขที่
ประชาชน การศึกษา ประเมนิ หลกั ฐาน
1 นายสุระชยั ต้นพนม สาคัญ
2 นายวีระพงษ์ จนั ทวงษ์ ผ่าน ไม่
3 นายมนษุ ิณทร์ ปินาถา 3420901382251 46 ม.ปลาย รับจ้าง 48 ม.7 ต.เขาหลวง ผา่ น
4 นายณัฐศาสตร์ วันทอง 1103100760147 19 ม.ตน้ รบั จ้าง 630 ม.11 ต.เขาหลวง
1420901389719 18 ม.ตน้ รบั จ้าง 134 ม.13 ต.เขาหลวง
สังข์ 1420901396839 17 ม.ต้น รบั จา้ ง 27 ม.4 ต.เขาหลวง
5 นายวีระพงษ์ จตุ ตะโน
6 นายวิศรุต เรณู
7 นายพิชติ พล สนธมิ ลู
8 นายธนาวฒุ ิ ธนศู ลิ ป์
9 นายญาณวฒุ ิ ศรีมูลคา 1429900384843 21 ม.ตน้ รบั จา้ ง 204 ม.5 ต.เขาหลวง
10 นายสรุ ะศักดิ์ บญุ ทนั 1103702983217 21 ม.ตน้ รบั จา้ ง 251 ม.11 ต.เขาหลวง
11 นายวสนั ต์ อาระษา 1429900532494 17 ม.ต้น รับจา้ ง 128 ม.5 ต.เขาหลวง
12 นายอภสิ ทิ ธิ์ ศรีบุรินทร์ 1420901400291 17 ม.ต้น รับจ้าง 214 ม.3 ต.เขาหลวง
1429900426503 19 ม.ตน้ รับจ้าง 491 ม.3 ต.เขาหลวง
1420900197069 30 ม.ต้น รบั จา้ ง 302 ม.6 ต.เขาหลวง
1420901389544 18 ม.ต้น รับจา้ ง 103 ม.4 ต.เขาหลวง
1420901380291 20 ม.ตน้ รับจ้าง 29/1 ม.4 ต.เขาหลวง
(ลงช่อื ).......................................................
(นางสาวกช กิตตภิ ัคโภคิน)
ครู กศน.ตาบลเขาหลวง
แบบ กศ.ตน.22
แบบติดตามผเู้ รยี นหลงั จบหลักสตู รการศกึ ษาต่อเนือ่ ง
กศน.ตาบล/แขวง วังสะพุง กศน.เขต/อาเภอ วงั สะพงุ จังหวดั เลย .
หลักสตู ร ช่างสี รูปแบบ ชั้นเรียนวิชาชพี จานวน 32 ชัว่ โมง
ระหว่างวนั ที่ 4 - 18 มกราคม 2565 ชอื่ วิทยากร นายสเุ มธ สุเมโท .
คาช้ีแจง
1. แบบตดิ ตามผเู้ รยี นจบหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อรวบรวมข้อมลู ของผู้เรียนในการนาความรไู้ ป
ใชป้ ระโยชน์หลังจากจบหลกั สตู รแล้วดงั นี้
1.1 จัดทาทะเบียนผ้เู รยี นเข้าเรียนและจบหลักสตู รอาชพี ตั้งแต่ 6 ช่ัวโมงข้ึนไป
1.2 ติดตามหรือสอบถามผ้จู บหลกั สูตรต้ังแต่ 6 ชั่วโมงขึ้นไป ดาเนินการโดยสอบถามจากใบสมัคร และเมื่อจบ
หลกั สตู รระยะเวลา 1 เดือน
2. ประเดน็ การนาไปใช้ประโยชนจ์ ะข้ึนอยู่กับลักษณะหลกั สตู รที่จดั
2.1 ด้านพฒั นาอาชีพเช่น เพิม่ รายได้ ลดรายจ่าย สร้างอาชพี ใหม่ ตอ้ งการได้รับการพฒั นา และ
ตอ่ ยอดอาชพี เดมิ ทาเป็นอาชพี เสรมิ
2.2 ดา้ นพัฒนาทักษะชวี ติ เช่น พฒั นาสขุ ภาพกาย พัฒนาสขุ ภาพจติ พฒั นาการคิดวเิ คราะห์
2.3 ด้านพัฒนาสังคมและชุมชนเช่น ร่วมพัฒนาชุมชนแก้ปัญหาภยั แลง้ ดา้ นการประหยัดพลงั งาน
การนาไปใชป้ ระโยชน์
ที่ ชือ่ – นามสกุลผเู้ รยี น ต้องการ ต้องการ ต้องการไดร้ บั ใช้เวลาวา่ งให้ อ่นื ๆ หมายเหตุ
มีรายได้ มีอาชพี การพัฒนา เกิดประโยชน์ โปรดระบุ
1 นายสุระชัย ต้นพนม
2 นายวีระพงษ์ จนั ทวงษ์
3 นายมนษุ ิณทร์ ปินาถา
4 นายณฐั ศาสตร์ วันทองสังข์
5 นายวรี ะพงษ์ จุตตะโน
6 นายวศิ รุต เรณู
7 นายพชิ ติ พล สนธิมลู
8 นายธนาวุฒิ ธนูศลิ ป์
9 นายญาณวฒุ ิ ศรีมลู คา
10 นายสรุ ะศกั ด์ิ บุญทัน
11 นายวสนั ต์ อาระษา
12 นายอภสิ ทิ ธ์ิ ศรบี ุรินทร์
ลงชื่อ..............................................ผู้รายงาน
(นางสาวกช กิตตภิ ัคโภคนิ )
ครู กศน.ตาบลเขาหลวง
แบบประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเน่อื ง
หลกั สตู ร ช่างสี จานวน 32 ชวั่ โมง
ระหวา่ งวนั ที่ 4 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2565 ถงึ วันที่ 18 เดือน มกราคม พ.ศ. 2565 .
สถานทจ่ี ัด ณ กศน.ตาบลเขาหลวง อาเภอ วังสะพุง จังหวัด เลย .
ลาดบั ที่ เลขประจาตวั ประชาชน ช่อื – สกุล 1. ความร้คู วาม 2.ทกั ษะการ 3.คณุ ภาพของ 4.ผลการ ระดบั การ
เขา้ ใจในเน้อื หา ปฏบิ ตั ิ(40) ผลงาน/ผลการ ประเมินรวม ประเมิน
1 3420901382251 นายสรุ ะชยั ต้นพนม (ผ่าน/ไม่ผา่ น)
2 1103100760147 นายวีระพงษ์ จนั ทวงษ์ สาระ(20) 37 ปฏบิ ตั ิ(40) (100)
3 1420901389719 นายมนุษิณทร์ ปินาถา 38 ผา่ น
4 1420901396839 นายณฐั ศาสตร์ วันทองสังข์ 18 39 39 94 ผา่ น
5 1429900384843 นายวรี ะพงษ์ จุตตะโน 19 39 39 96 ผา่ น
6 1103702983217 นายวศิ รตุ เรณู 17 39 39 95 ผา่ น
7 1429900532494 นายพชิ ิตพล สนธิมูล 16 39 39 94 ผ่าน
8 1420901400291 นายธนาวุฒิ ธนศู ิลป์ 18 37 39 96 ผ่าน
9 1429900426503 นายญาณวุฒิ ศรมี ูลคา 18 39 39 96 ผ่าน
10 1420900197069 นายสรุ ะศกั ดิ์ บญุ ทัน 17 37 38 92 ผ่าน
11 1420901389544 นายวสันต์ อาระษา 19 38 39 97 ผา่ น
12 1420901380291 นายอภสิ ทิ ธิ์ ศรบี รุ ินทร์ 17 38 38 92 ผา่ น
18 38 39 95 ผ่าน
18 38 94 ผ่าน
18 39 95
หมายเหตุ การประเมนิ ผลการจบหลักสูตรอาจดาเนินการได้ ดังน้ี
การประเมนิ ระหวา่ งเรยี น และเมอ่ื จบหลักสตู ร
ประเมนิ ครั้งเดียวกอ่ นจบหลักสูตร
ท้ังน้ี เกณฑก์ ารจบหลักสูตร จะต้องได้คะแนนรวมไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 จึงจะผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
ลงช่อื ........................................วทิ ยากร ลงชอ่ื ....................................ครอู าสาสมัครฯ
(นายสุเมธ สเุ มโท) (นางบัวคา จันทวนั )
ลงชือ่ .................................................ผู้อนมุ ตั ิ
(นางพชิ ามญช์ุ ลามะนา)
ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอวังสะพุง
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
หลักสูตร/โครงการ ช่างทาสี ระหว่างวันที่ 4 - 18 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2565 .
สถานที่จดั กศน.ตาบลเขาหลวง อาเภอ/เขต วังสะพงุ จังหวัด เลย .
ข้อมูลพื้นฐานของผู้ประเมนิ ความพึงพอใจ
เพศ ชาย หญงิ อายุ...........ปี วฒุ กิ ารศึกษา.........................อาชพี ..................................
คาชแ้ี จง 1. แบบประเมินความพึงพอใจ มี 4 ตอน
2. โปรดแสดงเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งวา่ งระดับความพึงพอใจตามความคิดเห็นของทา่ น
ระดบั ความพงึ พอใจ
ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย หมายเหตุ
ท่สี ดุ กลาง
ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอื้ หา ท่สี ดุ
1 เน้ือหาตรงตามความตอ้ งการ
2 เน้ือหาเพียงพอต่อความต้องการ
3 เนื้อหาปจั จบุ นั ทันสมัย
4 เน้อื หามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ
ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม
5 การเตรยี มความพรอ้ มก่อนอบรม
6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์
7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา
8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย
9 วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์
ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร
10 วทิ ยากรมีความรูค้ วามสามารถในการถ่ายทอด
11 วิทยากรมเี ทคนคิ ในการถา่ ยทอดใช้สอ่ื เหมาะสม
12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นร่วมและซกั ถาม
ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก
13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และส่งิ อานวยความสะดวก
14 การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพอื่ ใหเ้ กิดกาเรียนรู้
15 การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา
ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
รูปภาพกจิ กรรม
การจดั การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาอาชพี วิชาชีพระยะส้ัน รปู แบบชน้ั เรยี นวชิ าชีพ
ช่างทาสี จานวน 32 ช่ัวโมง
ระหว่างวนั ท่ี 4 - 18 มกราคม 2565 ณ กศน.ตาบลเขาหลวง อาเภอวงั สะพงุ จงั หวัดเลย
ทป่ี รึกษา ลามะนา คณะผู้จดั ทา
นางพชิ ามญช์ุ เหลาสพุ ะ
นายทวีวฒั น์ สุขบัว ผอ.กศน.อาเภอวงั สะพุง
นางดวงเดอื น จันทวนั ครู
นางบวั คา อันทะระ ครผู ้ชู ่วย
นางลาไย ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน
ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน
คณะทางาน
นายธรี รัตน์ วีระวัฒน์ หัวหนา้ กศน.ตาบลเขาหลวง
นางสาวกช กิตตภิ คั โภคิน ครู กศน.ตาบลเขาหลวง
รวบรวม / เรยี บเรียงขอ้ มูล หวั หน้า กศน.ตาบลเขาหลวง
นายธรี รัตน์ วีระวฒั น์ ครู กศน.ตาบลเขาหลวง
นางสาวกช กิตติภัคโภคนิ
หัวหนา้ กศน.ตาบลเขาหลวง
ภาพประกอบออกแบบรปู เลม่ /พมิ พ์ ครู กศน.ตาบลเขาหลวง
นายธรี รัตน์ วรี ะวัฒน์
นางสาวกช กิตติภัคโภคิน