The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคเหนือ จังหวัดลำปาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natcha42197, 2021-07-26 22:13:57

คู่มือมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.)

ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคเหนือ จังหวัดลำปาง

เอกสาร “คู่มือมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.)” จัดทา
โดยศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคเหนือ จังหวัดลาปาง ได้เห็นความสาคัญในการ
พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มสตรีและครอบครัว ให้มีมาตรฐานเป็นที่ต้องการของตลาด
สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและชุมชน จึงได้มีการริเริ่มโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์
กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.) ขึ้นเป็นหน่วยงานแรก เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพและ
มีมาตรฐานโดยการนาความรู้ ความสามารถ มาพัฒนาออกแบบ ให้มีรูปแบบผลิตภัณฑ์ท่ีทันสมัย
มีความน่าสนใจ นาไปสู่ผลิตภัณฑ์ที่เป็นสากล เป็นที่ยอมรับ และมีการส่งต่อแนวทางการพัฒนา
ผลติ ภัณฑ์ให้แก่สตรีและครอบครัวในชุมชน สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ของพื้นท่ีแต่ละ
บรบิ ท เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ คณะกรรมการ และคณะทางานระดับ
พ้ืนท่ี รวมท้ังเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับ ได้มีหลักเกณฑ์ในการดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตอ่ ไป

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรีและครอบครวั ภาคเหนอื จังหวดั ลาปาง หวังเปน็ อย่างย่งิ ว่า เอกสาร
ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่ และผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องได้นาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้
อย่างเหมาะสม สง่ ผลให้เกิดประสทิ ธิภาพในการขับเคลื่อนงาน และเปน็ แนวทางในการดาเนินงานพัฒนา
ศักยภาพของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้ม่ันคง เสริมสร้างสถาบัน
ครอบครัวให้เขม้ แขง็ ตลอดจนยงั เป็นการส่งเสริมใหเ้ กิดสงั คมที่มั่นคง เศรษฐกิจ มงั่ คงั่ ยัง่ ยนื ต่อไป

ศูนยเ์ รยี นรู้การพัฒนาสตรีและครอบครวั ภาคเหนอื จังหวดั ลาปาง
มิถุนายน 2564

เรอื่ ง หนา้

คานา

สารบญั

สว่ นท่ี 1 บทนา………………………………………………………………………………………………………… 1
ประวัติ ความเปน็ มาของมาตรฐานผลติ ภัณฑ์…………………………………………… 1
วตั ถุประสงค์………………………………………………………………………………………………… 2

นิยามศพั ท์…………………………………………………………………………………………………… 3

ส่วนที่ 2 ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน………………………………………………………………………………… 5

1) การพิจารณาคัดเลือกผูเ้ ข้าร่วมประเมินมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ 5
กล่มุ อาชีพสตรแี ละครอบครวั (มสค.)……………………………………………………

1.1) คุณสมบัติ……………………………………………………………………………………… 5

1.2) หลกั การเงอ่ื นไขในการเขา้ รว่ มการประเมิน……………………………………… 5

1.3) ขั้นตอนการยน่ื ขอแจ้งความประสงคข์ อรับการประเมินมาตรฐาน… 6

1.4) รายละเอยี ดการสง่ ผลิตภัณฑ์ของผเู้ ขา้ ร่วมประเมิน……………………… 7

1.5) สทิ ธปิ ระโยชน์ทจี่ ะได้รบั จากการเข้าร่วมการประเมิน……………………… 8

2) ประเภทของผลิตภัณฑ์…………………………………………………………………………… 10

2.1) ประเภทอาหาร………………………………………………………………………………… 10

2.2) ประเภทเครอ่ื งดมื่ …………………………………………………………………………… 12

2.3) ประเภทผา้ เครอื่ งแต่งกาย……………………………………………………………… 13

2.4) ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของทรี่ ะลกึ ………………………………………… 14

2.5) ประเภทสมนุ ไพรท่ไี มใ่ ชอ่ าหาร……………………………………………………… 16

3) เกณฑก์ ารประเมนิ มาตรฐานผลติ ภัณฑก์ ล่มุ อาชพี สตรีและ 17
ครอบครัว (มสค.)…………………………………………………………………………………

4) แนวทางการดาเนนิ งานระดบั หน่วยงาน…………………………………………………… 18

เรอ่ื ง หนา้

สว่ นที่ 3 หลักเกณฑก์ ารประเมนิ ผลติ ภณั ฑก์ ลมุ่ อาชพี สตรแี ละครอบครัว (มสค.) 19
- เกณฑ์การใหค้ ะแนน……………………………………………………………………………… 20
ส่วน 1 ด้านผลติ ภัณฑ์และความเข้มแข็งของชมุ ชน…………………………… 21
ส่วน 2 ดา้ นการตลาดและความเปน็ มาของผลิตภัณฑ์……………………… 24
ส่วน 3 ดา้ นคุณภาพลกั ษณะของผลิตภัณฑ์…………………………………… 26

ภาคผนวก 40
- แบบประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจคู่มือ (pre-test, post-test) 41
- มสค. ROAD MAP…………………………………………………………………………………
- แบบฟอร์มการย่นื ขอคัดสรรผลติ ภัณฑก์ ลุ่มอาชีพสตรแี ละครอบครวั 42
(มสค.)…………………………………………………………………………………………………

1

ประวตั ิ ความเปน็ มาของมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์

รัฐบาลตระหนักและเห็นความสาคัญของปัญหาสตรีและครอบครัว
ท่ีขาดโอกาสทางสังคม การยกระดับศักยภาพด้านสตรีให้มีความเข้มแข็ง เน่ืองจากภาวะ
เศรษฐกิจ ปัญหาครอบครัว การว่างงาน การขาดรายได้ระหว่างรอการทาเกษตรกรรม
รวมถึงปัญหาอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง จึงได้กาหนดแนวทาง และงบประมาณในการสนับสนุน
การฝึกอาชีพใหแ้ กส่ ตรแี ละครอบครวั ที่ขาดโอกาสทางสังคมให้ได้มีความรู้และทักษะอาชีพ
ในการหารายได้เพ่ือความเป็นอยู่ที่ดีของชีวิต ลดการย้ายถิ่นฐานเพ่ือหางานทา ซ่ึงส่งผล
ในการลดปัญหาครอบครวั และความแออดั ของสงั คมเมือง

จากนโยบายกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้มอบหมาย
ศนู ยเ์ รยี นรูก้ ารพัฒนาสตรีและครอบครัว ดาเนินการฝึกอาชีพสตรี เพ่ือให้สตรีมีทักษะ
ในการประกอบอาชีพ การรวมกลุ่มประกอบอาชีพ ส่งเสริมการมีรายได้ มีอาชีพเสริม
โดยอธิบดีกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้กาหนดให้ศูนย์เรียนรู้การพัฒนา
สตรีและครอบครัว รับผิดชอบในการเพิ่มองค์ความรู้ด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ของกระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ การพัฒนา
บรรจภุ ณั ฑ์ การจาหน่ายสินค้าผ่านตลาดออนไลน์ รวมทั้งการสร้างแบรนด์ผลิตภัณฑ์
ที่เป็นอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่นของศนู ยเ์ รียนร้กู ารพฒั นาสตรีและครอบครัว

แบบประเมนิ ความเขา้ ใจกอ่ นศกึ ษาคู่มอื

2

ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคเหนือ จังหวัดลาปาง ได้จัดทา
โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.) ประจาปี 2564
โดยมีการส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมภายในศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว
ภาคเหนือ จังหวัดลาปาง ได้มีการเข้าร่วมโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภายใต้แบ รนด์ฮ่วมใจ๋
โดยการนาเอาความรู้ความสามารถ วัฒนธรรม ลวดลายการปักผ้าของแต่ละชนเผ่าของ
ผู้เข้ารับการฝึกอาชีพมาพัฒนา ออกแบบให้มีรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัย สามารถออกแบบ
จากรูปแบบชนเผ่าลวดลายพื้นฐาน สู่ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นสากลเป็นท่ียอมรับ มีเอกลักษณ์
เช่น เนคไท กระเป๋า เส้ือผ้าสตรีและสุภาพบุรุษ เสื้อคลุม ผ้าคลุมไหล่ พวงกุญแจ เป็นต้น
ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และมีความน่าสนใจ และมีการส่งต่อ
แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การฝึกอาชีพจากในสถาบันสู่การฝึกอาชีพให้แก่สตรีและ
ครอบครัวในชุมชน ซึ่งส่งเสริมให้แต่ละชุมชนท่ีมีทุนทางสังคม แนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่
หลากหลาย สร้างความโดดเด่นของแต่ละกลุ่มอาชีพให้มีมาตรฐานมีระดับคุณภาพ เพื่อส่งเสริม
อัตลกั ษณ์ ในแต่ละชมุ ชนให้เป็นท่รี ู้จกั

วัตถปุ ระสงค์

(1) เพอื่ ให้เกิดระดับมาตรฐานผลิตภัณฑข์ องกลมุ่ อาชพี ทช่ี ดั เจน เปน็ ที่รจู้ กั และยอมรบั
(2) เพ่ือให้กลุ่มอาชีพมีความรู้ ทักษะ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบเพ่ือยกระดับ

คณุ ภาพสินคา้ ของตนเอง เป็นไปตามมาตรฐานตามทศี่ นู ย์เรียนรู้ ฯ กาหนด
(3) เพื่อเพ่มิ ช่องการตลาด เพม่ิ ยอดขาย และประชาสัมพนั ธ์ ผลิตภณั ฑ์ให้กบั กลุ่มอาชีพ ให้เป็น

ทีร่ จู้ กั มีรายไดจ้ ากการจาหน่ายสินคา้ มากขนึ้

3

นิยามศพั ท์

1) กลุ่มผู้เข้ารับการประเมินมาตรฐาน หมายถึง กลุ่มอาชีพสตรี ผู้ผลิตสินค้าและบริการ

ท่ผี ่านการฝกึ อาชีพ พฒั นาทักษะดา้ นอาชีพ การพัฒนาผลติ ภัณฑภ์ ายใต้โครงการ/กจิ กรรม
ของศนู ยเ์ รียนรูก้ ารพัฒนาสตรแี ละครอบครวั

2) คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑก์ ลุ่มอาชพี สตรแี ละครอบครวั (มสค.) หมายถึง

บุคลากร เจา้ หน้าท่ี ผูเ้ ชีย่ วชาญในแขนงต่าง ๆ ในการให้คาแนะนาปรึกษา การจัดทาเกณฑ์และ
ตัวช้ีวัด การประเมินมาตรฐานผลิตภัณฑ์ฯ รวมทั้งการจัดทาคู่มือมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ดงั กล่าวแก่คณะกรรมการ ให้เหมาะสม มีคุณภาพ และเป็นที่ร้จู กั ในนามของมาตรฐาน (มสค.)
มอี านาจหนา้ ท่ี ดังน้ี

(1) กาหนดเกณฑ์ และตัวช้ีวัด รวมทง้ั จัดทาคู่มอื มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ ของกลุ่มอาชีพสตรี
และครอบครวั (มสค.) ในแต่ละประเภท

(2) ให้คาแนะนาปรึกษาด้านการพัฒนาผลติ ภณั ฑใ์ หแ้ กก่ ลุ่มอาชีพเพือ่ ให้เป็นไปตาม
มาตรฐานผลิตภณั ฑข์ องกลมุ่ อาชพี สตรีและครอบครวั (มสค.) ทกี่ าหนด

(3) ประเมินผลผลิตภัณฑ์กล่มุ อาชีพแตล่ ะประเภทตามมาตรฐานฯ และจัดทารายงานผล
(4) เผยแพร่ และประชาสมั พันธ์ผลิตภณั ฑ์ของกลมุ่ อาชีพทเี่ ข้าร่วมการประเมนิ ตาม

มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ ผ่านช่องทางตา่ ง ๆ ของกรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั
(5) ดาเนนิ การอ่นื ๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย

4

3) มาตรฐานผลติ ภณั ฑก์ ลมุ่ อาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.) หมายถึง เกณฑ์การ

ประเมินผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว ของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและ
ครอบครวั

4) ผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับการพัฒนา

ผลิตภณั ฑต์ ามเกณฑ์มาตรฐานของกล่มุ อาชีพสตรแี ละครอบครวั ของศูนย์เรียนรู้การพัฒนา
สตรีและครอบครวั

5) เกณฑ์การประเมนิ มาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว หมายถึง

หลักเกณฑ์ในการพิจารณา 3 ตัวช้ีวัด 3 ด้าน คือ หลักเกณฑ์ด้านผลิตภัณฑ์และ
ความเข้มแข็งของชุมชน หลักเกณฑ์ด้านการตลาด และความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ และ
หลักเกณฑ์ดา้ นคณุ ภาพผลิตภัณฑ์ โดยมีระดับคา่ คะแนน 4 ระดับ ประกอบด้วย

 ระดบั A = ดีมาก
 ระดบั B = ดี
 ระดับ C = พอใช้
 ระดับ D = เร่มิ ต้นพฒั นา

5

การพจิ ารณาคดั เลอื กผเู้ ขา้ รว่ มประเมนิ มาตรฐาน
ผลติ ภณั ฑภ์ ณั ฑก์ ลุ่มอาชพี สตรแี ละครอบครวั (มสค.)

คุณสมบัติ
(1) กลุ่มอาชีพสตรี กลุ่มผู้ผลิตสินค้าและบริการท่ีผ่านการฝึกอาชีพและพัฒนา

ทกั ษะ ของศนู ย์เรยี นรู้การพฒั นาสตรแี ละครอบครวั
(2) เป็นกลุ่มอาชีพท่ีมีความเข้มแข็ง ประกอบด้วยสมาชิกอย่างน้อย 5 คนข้ึนไป

ทมี่ ีการผลติ สินคา้ และบริการอย่างต่อเน่ือง และได้รับการสารวจ การพัฒนาต่อยอดในโครงการ
ต่าง ๆ ของศนู ย์เรยี นร้กู ารพัฒนาสตรแี ละครอบครวั

(3) ผลิตภัณฑ์ที่เข้าร่วมการประเมินฯ ต้องผ่านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือ
ผ่านการรับรองมาตรฐาน ผ่านการคัดเลือกให้เป็นผลิตภัณฑ์เด่นของกลุ่มอาชีพ หรือขึ้น
ทะเบยี นเป็นสินคา้ ชุมชน

หลกั การเงอื่ นไขในการเขา้ ร่วมการประเมิน
ผลิตภณั ฑ์เด่นที่มชี ่ือเสยี ง มีอัตลกั ษณ์ จุดเดน่ ของสินคา้ และผลิตโดยกลุ่มอาชีพ

ในชุมชน เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค โดยสามารถยื่นขอรับการประเมินได้ไม่เกิน 4 ประเภท/
ปีงบประมาณ และประเภทละไมเ่ กนิ 2 ชิ้น/รปู แบบ โดยสามารถย่นื ขอรับการประเมินผลิตภัณฑ์
ซ้าได้ในปีต่อไป กรณีมีระดับคะแนนอยู่ในเกณฑ์ไม่พึงพอใจหรือมีการพัฒนาปรับปรุงให้เป็นไป
ตามมาตรฐาน (มสค.) เรยี บร้อยแลว้

6

ข้ันตอนการยน่ื ขอแจง้ ความประสงค์ขอรับการประเมินมาตรฐาน

(1) ลงทะเบียน โดยให้ประธานกลุ่มอาชีพ หรือผู้แทนที่ได้รับมอบอานาจเป็นผู้ยื่นแบบ
ลงทะเบียน กรอกแบบฟอร์มเอกสาร จานวน 1 ชุด /1 ผลิตภัณฑ์ โดยดาวน์โหลดแบบฟอร์ม “ประสงค์
ขอรบั การประเมินมาตรฐานผลติ ภณั ฑก์ ลุ่มอาชีพสตรีและครอบครวั (มสค.)
https://www.facebook.com/northwomen และย่ืนตอ่ เจ้าหน้าที่ของศูนย์เรยี นรู้ ฯ

(2) การรบั ลงทะเบยี น จะดาเนินการภายในระยะเวลาท่ีประกาศหรือกาหนดเทา่ น้ัน
(3) เอกสารประกอบการลงทะเบียน ให้นาท้ังเอกสารจริงและถ่ายสาเนา สาหรับเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบ
หมายเลขเอกสาร/หลักฐาน ให้ตรงกับขอ้ มลู ทก่ี รอก ได้แก่

- สาเนาบัตรประชาชน และทะเบียนบ้านของผ้ยู น่ื ลงทะเบียน
- หนงั สอื มอบอานาจจากกลมุ่ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ (สาหรับผู้แทน)
- ภาพถ่ายผลิตภัณฑท์ กุ ประเภท ที่จะลงทะเบยี น ขนาด 4” x 6” หรือ ไฟลภ์ าพดจิ ติ อล
(4) ผลิตภัณฑ์ท่ีเข้าร่วมประเมินมาตรฐาน จานวนประเภทละ 1 ชิ้น (กลุ่มอาชีพสามารถนา
ผลิตภณั ฑ์เข้าร่วมโครงการฯ ไม่เกิน 4 ประเภทต่อป)ี
(5) จัดทาขอ้ มลู เขา้ ระบบผลการประเมนิ มาตรฐานผลิตภัณฑ์กลมุ่ อาชพี สตรีและครอบครวั (มสค.)
(6) รบั รองผลการประเมนิ มาตรฐานผลติ ภัณฑก์ ลมุ่ อาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.)
(7) ออกใบรบั รองระดับผลการประเมนิ มาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุม่ อาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.)
(8) การยื่นขอรับการประเมินผลิตภัณฑ์ซ้าได้ในปีต่อไป กรณีมีระดับคะแนนท่ีไม่พึงพอใจ
หรอื มีการพฒั นาปรบั ปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐาน (มสค.)

ดาวนโ์ หลดแบบฟอรม์

7

รายละเอยี ดการส่งผลิตภณั ฑข์ องผเู้ ขา้ รว่ มประเมิน

ประกอบดว้ ย
(1) ชอื่ กลมุ่ ผู้ผลติ / ผ้ปู ระกอบการ
(2) ชื่อผลิตภัณฑ์
(3) ทต่ี ้ังของกลมุ่ / ที่ผลติ
(4) ความเปน็ มาของผลติ ภัณฑ์
(5) จุดเดน่ ของผลติ ภัณฑ์
(6) ความตอ้ งการในการพัฒนาผลิตภณั ฑ์
(7) ระยะเวลาในการจดั ต้ังกลุ่ม
(8) จานวนสมาชกิ กลมุ่
(9) ปรมิ าณการผลิต/ เดอื น/ ปี
(10) รายได้จากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ ในปที ่ผี ่านมา
(11) ผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ขา้ รว่ มประเมนิ มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์กลุ่มอาชพี สตรแี ละ
ครอบครัว (มสค.) จานวนอย่างนอ้ ย 1 ผลิตภัณฑ์

8

สทิ ธปิ ระโยชนท์ จ่ี ะไดร้ บั จากการเขา้ รว่ มการประเมนิ

ระดบั สิทธปิ ระโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั
A - ใบรบั รอง/ใบประกาศ การยกระดับมาตรฐานผลิตภณั ฑก์ ลมุ่ อาชพี สตรีและครอบครวั

(ดมี าก) (มสค.) โดยอธบิ ดีกรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั
- การสง่ เสริมชอ่ งทางการจาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ และการประชาสมั พันธใ์ หเ้ ป็นท่รี ูจ้ ัก
ผ่านชอ่ งทางออนไลน์ โดยเพจเฟสบุ๊ก : ทอฝนั by พม. (ทอฝนั ทอใจ สง่ เสริมอาชีพ
รว่ มสร้างรายไดส้ ชู่ ุมชน)
- การสนับสนุนการออกบธู และการจัดแสดงสนิ คา้ ตามงานและกจิ กรรมของหน่วยงาน
ตลอดจนการสง่ เสรมิ การสร้างงาน สรา้ งรายได้ใหแ้ ก่กลุ่มอาชีพให้เพมิ่ มากขึน้
- การส่งเสรมิ ดา้ นทนุ ประกอบอาชพี หมวดเงินอุดหนุนการรวมกล่มุ เพื่อการจัดสวัสดกิ าร
และการพฒั นาอาชพี
- การสนบั สนนุ องคค์ วามรตู้ อ่ ยอดการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ให้แก่กลมุ่ อาชีพ
โครงการการพฒั นาธรุ กจิ ให้สตรแี ละครอบครัวของศูนย์เรยี นรู้ ฯ

B - ใบรับรอง/ใบประกาศ การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรแี ละครอบครวั
(ดี) (มสค.) โดยอธิบดีกรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครวั

- การสนบั สนนุ การออกบูธ และการจัดแสดงสินคา้ ตามงานและกิจกรรมของหน่วยงาน
ตลอดจนการส่งเสรมิ การสรา้ งงาน สร้างรายไดใ้ ห้แกก่ ลมุ่ อาชีพใหเ้ พิ่มมากข้นึ
- การส่งเสริมดา้ นทุนประกอบอาชพี หมวดเงินอุดหนนุ การรวมกล่มุ เพ่ือการจัดสวสั ดกิ าร
และการพฒั นาอาชีพ
- การสนบั สนุนองค์ความรู้ต่อยอดการพฒั นาผลิตภัณฑ์ใหแ้ กก่ ลุม่ อาชีพ
โครงการการพัฒนาธุรกิจใหส้ ตรแี ละครอบครัวของศนู ยเ์ รียนรู้ ฯ

9

สทิ ธปิ ระโยชนท์ จ่ี ะได้รบั จากการเขา้ รว่ มการประเมนิ

ระดบั สทิ ธปิ ระโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั
C - การสง่ เสริมช่องทางการจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ และการประชาสมั พนั ธ์ใหเ้ ป็นทร่ี ูจ้ ัก

(พอใช้) ผ่านช่องทางออนไลน์ โดยเพจเฟสบกุ๊ : ผลติ ภณั ฑส์ ินค้าชุมชน by ศนู ยเ์ รียนร้ฯู จ.ลาปาง
- การสนบั สนนุ โครงการพฒั นายกระดับผลิตภณั ฑ์ เพ่ือนาไปสู่การดาเนินงานตามแนว
ของมาตรฐาน มสค. ต่อไป โดยอาจารยผ์ เู้ ชย่ี วชาญ
- ติดตามและใหค้ าปรึกษาด้านการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ โดยเจา้ หนา้ ท่ีผเู้ ชย่ี วชาญ

D - การสนบั สนุนโครงการพฒั นายกระดับผลติ ภัณฑ์ เพ่ือนาไปสู่การดาเนินงานตามแนว
(เริม่ ต้น ของมาตรฐาน มสค. ต่อไป โดยอาจารย์ผเู้ ชย่ี วชาญ
พัฒนา) - ตดิ ตามและใหค้ าปรกึ ษาดา้ นการพฒั นาผลิตภัณฑ์ โดยเจา้ หน้าที่ผู้เชยี่ วชาญ

10

ประเภทของผลติ ภณั ฑ์

ผลติ ภัณฑท์ ีร่ ับการคัดเลือกเขา้ รว่ มโครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุม่ อาชพี สตรีและ

ครอบครวั (มสค.) แบ่งออกได้ 5 ประเภท ดงั น้ี
 ประเภทอาหาร
 ประเภทเคร่ืองด่ืม
 ประเภทผา้ / เคร่ืองแตง่ กาย
 ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของทีร่ ะลกึ
 ประเภทสมนุ ไพรท่ีไม่ใชอ่ าหาร

ประเภทอาหาร หมายถงึ ผลผลิตทางการเกษตรและอาหารแปรรูป และมบี รรจภุ ณั ฑ์
เพ่อื การจาหน่ายท่ัวไป แบง่ เป็น 3 กลุม่

ผลติ ผลทางการเกษตรทใ่ี ชบ้ รโิ ภคสด

- ผลผลิตทางการเกษตรท่ีสามารถลงทะเบียนได้ เช่น พืชผัก ผลไม้ เช่น มะม่วง มังคุด สับปะรด
สม้ เขียวหวาน สม้ โอ กลว้ ย ฯลฯ

- ผลผลิตทางการเกษตรท่ีไมส่ ามารถลงทะเบยี นได้ เชน่ กง่ิ พนั ธ์ไุ ม้ทกุ ชนิด กง่ิ พันธุ์มะปราง ไมป้ ระดับ
การทาป๋ยุ อินทรีย์ กอ้ นทาเช้ือเห็ด ฯลฯ

11

ผลติ ผลทางการเกษตรทเี่ ปน็ วตั ถดุ บิ และผา่ นกระบวนการแปรรปู เบอื้ งตน้

เช่น น้าผ้ึง ข้าวสาร ข้าวกล้อง ข้าวฮาง เป็นต้น เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น เนื้อโคขุน
เน้ือนกกระจอกเทศแช่แข็ง หมูแดดเดียว หมูยอ แหนม ไส้อ่ัว ไส้กรอก ปลาอบรมควัน หอยจ๊อ
เป็นต้น อาหารประมงแปรรูป เช่น ไส้กรอกปลา ปลาช่อนแดดเดียว ปลาสลิดแดดเดียว ปลาส้ม
นา้ บูดู กะปิ กงุ้ แห้ง นา้ ปลา ปลาร้า เป็นต้น ยกเว้น กรณีสัตว์ที่มีชีวิต เช่น
ไก่ชน ปลากัด ไม่ถือว่าเป็น ผลิตภัณฑ์ท่ีลงทะเบียนได้ เพราะไม่ผ่าน
กระบวนการแปรรปู เบื้องตน้

อาหารแปรรปู กง่ึ สาเร็จรปู /สาเรจ็ รปู

เช่น ขนมเค้ก เฉาก๊วย ขนมโมจิ เต้าส้อ กระยาสารท
กล้วยฉาบ กล้วยอบ มะขามปรุงรส ทุเรียนทอด กาละแม
กะหรี่ปั๊บ ขนมทองม้วน ข้าวเกรียบ ข้าวแต๋น น้าพริกเผา และ
น้าพริกต่าง ๆ แจ่วบอง น้าจิ้มสุกี้ น้าปลาหวาน ผักกาดดอง
พรกิ ไทย แคบหมู ไขเ่ คม็ กุนเชียง หมูทุบ หมูแผ่น เป็นตน้

12

ประเภทเครอ่ื งดมื่ หมายถงึ ผลติ ภัณฑ์ประเภทเคร่อื งด่ืมทม่ี แี อลกอฮอล์และ
ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทเคร่ืองดมื่ ท่ไี ม่มีแอลกอฮอล์

เครื่องดมื่ ทมี่ แี อลกอฮอล์ เครื่องดม่ื ทไี่ มม่ แี อลกอฮอล์

 สุราแช่  ผลติ ภัณฑ์เครอ่ื งดื่มประเภทพรอ้ มด่ืม
 สุรากลั่น  ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทชงละลาย
 สาโท  ผลิตภัณฑ์ประเภทชง เช่น น้าแร่ น้าผึ้ง
 อุ
 ไวน์ น้าผลไม้ น้าสมุนไพร เคร่ืองดื่มรังนก
 เหล้าขาว 35 - 40 ดีกรี กาแฟค่วั กาแฟปรงุ สาเร็จ ขิงผงสาเร็จรูป
มะตูมผง ชาใบหม่อน ชาจีน ชาสมุนไพร
เปน็ ตน้ นา้ เฉาก๊วย น้าเต้าหู้ นมสด นมข้าวกล้อง
ชาชกั เป็นต้น
 นา้ ด่ืมบรรจุขวดไม่ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์
ทลี่ งทะเบียนได้

13

หมายถึง ผ้าทอและผ้าถักจากเส้นใยธรรมชาติหรือเส้นใย

ประเภทผา้ / เครอื่ งแตง่ กาย

สังเคราะห์ รวมท้งั เสือ้ ผา้ /เครื่องนงุ่ หม่ และเครอื่ งแต่งกายท่ีใช้

ประดบั ตกแตง่ ประกอบการแต่งกาย ท้ังเพื่อประโยชน์ในการ

ใช้สอยและเพอ่ื ความสวยงาม

ผา้ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ผ้าผืนที่ทาจากเส้นใย เส้นด้าย

นามาทอ ถักเป็นผืน มีลวดลาย เกิดจากโครงสร้างการทอหรือตกแต่ง

สาเร็จบนผืนผ้า ทาด้วยมือ หรือเครื่องจักร รวมถึง ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า

และเครื่องนุ่งห่มซ่ึงเป็นเส้นใยธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์ ส่ิงทอ และ

ผลิตภัณฑ์ท่ีทาจากผ้าเป็นหลักและมีวัสดุอ่ืน ๆ เป็นองค์ประกอบผสม

เช่น ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าโสร่ง ผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผ้าบาติก ผ้าถุง

ผ้าปักชาวเขา ผ้าคลุมผม หมวกกะปิเยาะ ผ้าพันคอ เสื้อผ้าสาเร็จรูป

บุรุษ – สตรี เปน็ ตน้ เคร่อื งแตง่ กาย

หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ประดับตกแต่งประกอบการ แต่งกายที่ทาจาก

วัสดุทุกประเภทเพื่อประโยชน์ในการใช้สอย เช่น รองเท้า เข็มขัด กระเป๋าถือ

เป็นต้น และเพื่อความสวยงาม เช่น สร้อย แหวน ต่างหู เข็มกลัด กาไล นาฬิกาข้อมือ

เนคไท หมวกแฟช่นั เปน็ ต้น

14

ประเภทของใช/้ ของตกแตง่ /ของทรี่ ะลกึ

หมายถึง ผลติ ภัณฑ์ท่ีมีไว้ใช้หรอื ตกแตง่ ประดับในบ้าน สถานทต่ี ่าง ๆ เช่น
เคร่ืองใช้ในบ้าน เครื่องครัว เคร่ืองเรือน ที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการใช้สอย
หรอื ประดับตกแต่ง หรือใหเ้ ปน็ ของขวญั เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับนาไปใช้สอยในบ้าน ตกแต่งบา้ น รวมทั้ง ส่ิงประดิษฐ์
ที่สะท้อนถึงวิถีชีวิต ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท้องถ่ิน และสินค้านั้นต้องไม่ผลิต โดยใช้เครื่องจักร
เป็นหลัก และใช้แรงคนเป็นส่วนเสริมหรือไม่ใช้แรงงานคน โดยประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ีระลึก
แบง่ ออกเป็น 6 กลมุ่ ดงั น้ี

ไม้ หมายถึง ของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ีระลึก ท่ีมีวัสดุท่ีทาจากไม้เป็นหลัก เช่น ไม้แกะสลัก

เฟอร์นิเจอร์ กล่องไม้ นาฬิกาไม้ตั้งโต๊ะ โคมไฟกะลามะพร้าว ของเล่นเด็ก เครื่องดนตรี
ตพู้ ระธรรม เรือจาลอง แจกันไม้ กรงนก ไมแ้ ขวนเส้ือ เปน็ ต้น

จกั สาน ถกั สาน

หมายถงึ ของใช/้ ของตกแต่ง/ของที่ระลึก ที่มีวัสดุท่ีทาจากไม้เป็นหลัก เช่น ไม้แกะสลัก เฟอร์นิเจอร์
กล่องไม้ นาฬิกาไมต้ ง้ั โต๊ะ โคมไฟกะลามะพร้าว ของเล่นเด็ก เครอ่ื งดนตรี ต้พู ระธรรม
เรือจาลอง แจกันไม้ กรงนก ไมแ้ ขวนเสอ้ื เป็นตน้

ดอกไมป้ ระดษิ ฐ/์ วสั ดจุ ากเสน้ ใยธรรมชาติ

หมายถึง ดอกไม้ ต้นไม้ กล้วยไม้ ผลไม้ท่ีไม่ใช่สิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติ แต่ทาจากวัสดุต่าง ๆ
เพือ่ เลยี นแบบธรรมชาติหรอื และผลติ ภัณฑ์ ประเภทของใช/้ ของตกแตง่ /ของทรี่ ะลึก ที่มีวัสดุท่ีทาจาก
กระดาษสาเป็นหลกั เช่น ถุงกระดาษ กล่องกระดาษสา ต้นไมป้ ระดิษฐ์ ผลไมป้ ระดษิ ฐ์ เปน็ ต้น

15

โลหะ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/

ของท่ีระลึกท่ีทาจาก โลหะต่าง ๆ เช่น เงิน ทองเหลือง ดีบุก
สแตนเลส ทอง สังกะสี เป็นต้น เป็นส่วนประกอบหลัก เช่น
ช้อนส้อม มีด ผลิตภัณฑ์ภาชนะท่ีใช้โลหะ ภาชนะท่ีทาจาก
สเเตนเลสทุบ ทองเหลืองทุบ บรอนซ์ แกะสลักที่ใช้ตกแต่ง
สถานท่ีตา่ ง ๆ เป็นต้น

เซรามคิ /เครอื่ งปน้ั ดนิ เผา หมายถึง

ผลิตภัณฑ์ท่ีมีการนาวัสดุประเภทดิน สินแร่ไปขึ้นรูปและ
นาไปเผ าด้วยความร้อนสูง เพ่ือเป็นภาชนะ ของใช้
ของตกแต่ง ของท่ีระลึก เช่น เบญจรงค์ ถ้วยชาม ภาชนะ
กระเบื้อง เซรามิค โอง่ อา่ ง กระถางตา่ ง ๆ เป็นตน้

เคหะสง่ิ ทอ หมายถึง ของใช้/ของตกแต่ง/

ของท่ีระลึก ท่ีมีวัสดุทาจากผ้ามีการตัดเย็บ เช่น
ชุดเคร่ืองนอน พรมเช็ดเท้า ผ้าปูโต๊ะ ถุงมือถักสาหรับ
ทาการเกษตร เป็นตน้

อน่ื ๆ ของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ีระลึก หรือผลิตภัณฑ์

อ่ืนๆ ที่ใช้วัสดุอ่ืนใด นอกเหนือจากท่ีกล่าวมาข้างต้น เช่น
ทาจากพลาสติก เรซิน แก้ว เทียน รูปวาด เปเปอร์มาเช่
กระจก ซีเมนต์ ต้นไม้มงคล ตุ๊กตาจากดินไทย ผลไม้เผา
ดดู กล่นิ พระพุทธรูป เปน็ ตน้

16

หมายถึง ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรหรือมีสมุนไพร

เป็นส่วนประกอบ อาจใช้ประโยชน์ และอาจส่งผลต่อ

ประเภทสมนุ ไพรทไี่ มใ่ ช่อาหาร สุขภาพ ได้แก่ ยาจากสมุนไพร เคร่ืองสาอางสมุนไพร
วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน เช่น น้ายาล้างจาน

สมุนไพรไล่ยุง หรือกาจัดแมลง และรวมถึงผลิตภัณฑ์

จากสมุนไพรทใ่ี ช้ทางการเกษตร เช่น น้าหมกั ชวี ภาพ
น้าส้มควนั ไม้ ปุ๋ยอนิ ทรีย์ เป็นตน้ โดยประเภทสทมี่จดัุนตไพ้ังขรท้นึ ่ีไม่ใชอ่ าหาร
แบ่งเป็น 4 กลมุ่ ดงั น้ี

 ยาจากสมนุ ไพร
 เครือ่ งสาอางสมุนไพร
 วัตถุอนั ตรายทใ่ี ช้ในบ้านเรือน
 ผลติ ภณั ฑจ์ ากสมุนไพรทใ่ี ช้ในทางการเกษตร

ในกรณีท่ีมีปัญหาการจดั ประเภทผลิตภัณฑ์ ใหพ้ จิ ารณาจดั โดยคานึงถึงวัตถปุ ระสงค์ หรือ

ประโยชน์ในการใช้สอย และให้อยใู่ นดุลยพนิ จิ ของคณะกรรมการ มสค. ประจาหนว่ ยงานทีจ่ ดั ตั้งขึ้น

17

เกณฑก์ ารประเมนิ มาตรฐานผลิตภณั ฑก์ ลมุ่ อาชพี สตรแี ละครอบครวั (มสค.)

ผลการดาเนินการจดั ระดับผลติ ภณั ฑ์ มีระดับเดียว คือ ระดับพื้นท่ีรับผิดชอบของหน่วยงาน
เท่าน้ัน โดยใช้หลักเกณฑ์เฉพาะแต่ละประเภทผลิตภัณฑ์ (Specific Criteria) ซ่ึงกาหนดค่าคะแนน
รวมไว้ 100 คะแนน ประกอบดว้ ย หลกั เกณฑ์ในการพิจารณา 3 ด้าน คือ

1) ดา้ นผลิตภณั ฑแ์ ละความเข้มแขง็ ของชมุ ชน
2) ดา้ นการตลาด และความเป็นมาของผลิตภณั ฑ์
3) ดา้ นคุณภาพผลิตภณั ฑ์
ซง่ึ จะนามากาหนดกรอบในการจัดระดบั ผลิตภณั ฑ์ (Product Level) ออกเป็น 4 ระดับ ตามค่าคะแนน ดังนี้

ระดบั A คอื ดีมาก (ได้คะแนนตั้งแต่ 90 -100 คะแนน) เป็นสินค้าที่มีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

มีการผลิตได้จานวนมากอย่างต่อเน่ืองหรือ มีศักยภาพในการส่งออกในประเทศและ
ต่างประเทศไดใ้ นระยะยาว

ระดบั B คือ ดี (ได้คะแนนตั้งแต่ 70 – 89 คะแนน) เป็นสินค้าท่ีมีศักยภาพเป็นที่ยอมรับและสามารถ

พฒั นาสู่สากล มีข้ันตอนและกระบวนการผลิตท่ีมีความซับซ้อน มีความเป็นเอกลักษณ์
ต้องใชเ้ วลาในการผลิตหรอื บา้ งคร้งั ไมส่ ามารถผลิตในจานวนมากได้

ระดบั C คือ พอใช้ (ไดค้ ะแนนตัง้ แต่ 50 – 69 คะแนน) เป็นสินค้าที่มีคุณภาพระดับกลางท่ีสามารถ

พัฒนาสู่ระดับสูงข้ึนได้ ส่วนใหญ่กระบวนการผลิตไม่มีความซับซ้อน ผลิตได้จานวน
มาก สามารถจาหน่ายภายในและภายนอกชุมชนได้แต่ต้องมีการพัฒนาฝีมือและ
ผลิตภัณฑใ์ ห้มมี าตรฐานขน้ึ ในแตล่ ะระดับ

ระดบั D คอื เริม่ ต้นพัฒนา (คะแนนต่ากว่า 49 คะแนน) เป็นสินค้าท่ีสามารถพัฒนาสู่ระดับ C มีการ

ประเมินศักยภาพเป็นระยะ เนื่องจากมีจุดอ่อน และต้องการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์
กระบวนการผลิตไม่ซับซ้อน ผลิตได้จานวนน้อยและต้องได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน
ในการตอ่ ยอดด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรับ

18

แนวทางการดาเนินงานระดบั หนว่ ยงาน

 หน่วยงานแตง่ ตง้ั คณะทางานและทีป่ รกึ ษาในการพจิ ารณาเกณฑก์ ารคดั เลอื กผู้เขา้ รว่ มโครงการ
ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.) ปีงบประมาณ 2564
ประกอบดว้ ย หนว่ ยงานภาครฐั หน่วยงานภาคเอกชน สถาบันการศกึ ษา

 หน่วยงานจดั การประชมุ คณะทางานและทีป่ รกึ ษาในการพจิ ารณาเกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วม
โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.) ปีงบประมาณ 2564
ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ หนว่ ยงานภาคเอกชน สถาบันการศึกษา

 หน่วยงานจดั ทาคูม่ อื หลักเกณฑก์ ารพจิ ารณาเกณฑ์การคัดเลือกผ้เู ข้าร่วมประเมินในโครงการ
ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.) ปีงบประมาณ 2564
ประกอบดว้ ย หนว่ ยงานภาครัฐ หนว่ ยงานภาคเอกชน สถาบันการศกึ ษา

 การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เก่ียวกับคู่มือหลักเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์
กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.) ให้แก่ กลุ่มอาชีพที่เข้าร่วมประเมินมาตรฐาน เพ่ือให้สามารถ
ดาเนนิ งานให้เปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานทีต่ ้งั ไว้ได้อย่างถูกตอ้ ง

 หน่วยงานประชุมคณะทางาน และท่ีปรึกษาเพื่อพิจารณาผลการคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ
ยกระดบั มาตรฐานผลติ ภัณฑก์ ลุม่ อาชีพสตรีและครอบครัว (มสค.) ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ
หน่วยงานภาคเอกชน สถาบันการศึกษา จานวน 20 ผลติ ภณั ฑต์ ่อ/ปงี บประมาณ

19

การประเมินผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสตรีและครอบครัว ได้กาหนดให้มีการพิจารณาในการให้
ค่าคะแนนผลิตภัณฑ์ท่ีส่งเข้ารับการประเมินผล โดยมีคณะกรรมการและผู้เช่ียวชาญดาเนินการประเมิน
ตามกลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ เป็นผู้พิจารณาให้ค่าคะแนนผลิตภัณฑ์ มีองค์ประกอบและเกณฑ์การ
คัดสรรฯ ตามกลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ ดังน้ี องค์ประกอบ เกณฑ์การประเมินฯ ประกอบด้วย 3 ส่วน
ไดแ้ ก่

สว่ น 1 ดา้ นผลติ ภณั ฑแ์ ละความเขม้ แขง็ ของชุมชน (30 คะแนน)
1.1) ดา้ นการผลติ (12 คะแนน)
1.2) ดา้ นการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ (9 คะแนน)
1.3) ด้านความเข้มแขง็ ของชุมชน (9 คะแนน)

สว่ น 2 ด้านการตลาดและความเปน็ มาของผลติ ภัณฑ์ (30 คะแนน)
2.1) ด้านการตลาด (15 คะแนน)
2.2) ด้านความเป็นมาของผลิตภณั ฑ์ (15 คะแนน)

สว่ น 3 ดา้ นคณุ ภาพลกั ษณะของผลติ ภณั ฑ์ (40 คะแนน)
3.1) ด้านคุณลักษณะทางกายภาพ การตรวจสอบ/วิเคราะห์คุณภาพตามประเภท
ผลิตภณั ฑ์ (30 คะแนน)
3.2) โอกาสทางการตลาดสสู่ ากล/การสรา้ งมลู ค่าเพมิ่ (10 คะแนน)

20

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

การพจิ ารณาเกณฑค์ า่ คะแนนรวม 100 คะแนน โดยแบบการพิจารณาออกเป็น 3 ส่วน เพ่ือจัดระดับ
คา่ คะแนน 4 ระดับ ระดับ A = ดมี าก, ระดับ B = ดี, ระดบั C = พอใช,้ ระดับ D = เริ่มตน้ พฒั นา
ระดบั A = ดีมาก (คะแนน 90 – 100 คะแนน) ระดบั B = ดี (คะแนน 70 – 89 คะแนน)
ระดบั C = พอใช้ (คะแนน 50 – 69 คะแนน) ระดบั D = เรม่ิ ตน้ พฒั นา (คะแนนต่ากว่า 49 คะแนน)
เง่ือนไข : การยื่นขอรับการประเมินได้ไม่เกิน 4 ประเภท/ปีงบประมาณ และประเภทละไม่เกิน 2 ช้ิน/
รูปแบบ และสามารถยนื่ ขอรับการประเมนิ ผลิตภัณฑ์ซา้ ไดใ้ นปตี ่อไปกรณีมีระดับคะแนนท่ีไม่พึงพอใจหรือ
มกี ารพฒั นาปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน (มสค.) เรยี บร้อยแล้ว

แบบการสรปุ ผลการประเมนิ

จานวนคะแนน หมายเหตุ
คะแนน รอ้ ยละ
องคป์ ระกอบการประเมนิ

สว่ น 1 ด้านผลิตภณั ฑ์และความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน ( 30 คะแนน) 30 %

สว่ น 2 ด้านการตลาดและความเป็นมาของผลิตภณั ฑ์ (30 คะแนน) 30 %

ส่วน 3 ด้านคุณภาพลักษณะของผลติ ภัณฑ์ (40 คะแนน) 40 %

รวมคะแนน 100 %

ระดบั การประเมนิ ผล.......................................

ความคิดเห็นเพมิ่ เติมของผปู้ ระเมนิ ....................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงช่ือ......................................................ผปู้ ระเมนิ
ตาแหนง่ ................................................
วนั ท่.ี ............/.............../...................

21

สว่ น 1 ดา้ นผลติ ภัณฑแ์ ละความเขม้ แข็งของชมุ ชน (30 คะแนน)

ประเด็น/หวั ข้อ คะแนน
ตามหลักเกณฑ์

1.1 ด้านการผลติ (12 คะแนน)

1.1.1 การขยายปัจจยั การผลติ (4 คะแนน)
(ทีด่ ิน ทุน แรงงาน และความสามารถในการประกอบการ)
3 คะแนน
 มีการขยายปจั จยั การผลิตน้อยกวา่ ร้อยละ 30 4 คะแนน
 มีการขยายปัจจยั การผลิตมากกว่ากว่าร้อยละ 30 ขึ้นไป (4 คะแนน)
1.1.2 การรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มในกระบวนการผลติ 3 คะแนน
 การผลิตมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่มีการดาเนินการแก้ไข 4 คะแนน
 การผลติ ไมม่ ผี ลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อม มีกระบวนการจดั การ
(4 คะแนน)
ส่งิ เหลือใช้อย่างเปน็ ระบบ 2 คะแนน
3 คะแนน
1.1.3 ศักยภาพการผลติ จานวนมากเพอ่ื จาหนา่ ย 4 คะแนน
 สามารถผลติ ซา้ ได้ในปริมาณทก่ี าหนด แตม่ คี ุณภาพไมค่ งเดิม
 สามารถผลิตซา้ ได้ในปริมาณทก่ี าหนด และคุณภาพใกล้เคียงของเดิม
 สามารถผลติ ซา้ ได้ในปรมิ าณทก่ี าหนด และคุณภาพคงเดิม

1.2 ดา้ นการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ (9 คะแนน)

1.2.1 การพฒั นารูปแบบผลติ ภัณฑ์ (3 คะแนน)
 พฒั นาจากแนวคิดจากกลมุ่ อาชพี /แนวคิดจากผผู้ ลติ อ่นื 2 คะแนน
 พัฒนาจากแนวคิดกลุ่มอาชีพและความตอ้ งการของลกู ค้า 3 คะแนน
1.2.2 การพฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์ (บรรจภุ ัณฑท์ ใี่ ชจ้ าหนา่ ยจรงิ ) (3 คะแนน)
 เป็นแบบดง้ั เดมิ 1 คะแนน
 มกี ารพัฒนาแต่ไม่สมา่ เสมอ 2 คะแนน
 มีการพัฒนาอย่างตอ่ เนื่องและสม่าเสมอ 3 คะแนน

22

ประเดน็ /หัวขอ้ คะแนน
ตามหลักเกณฑ์

1.2.3 รูปแบบของบรรจุภัณฑ์ (3 คะแนน)
 มีบรรจภุ ณั ฑ์เบือ้ งต้น เช่น กระดาษ ถงุ /ขวด บรรจแุ บบธรรมดา 1 คะแนน
 มีบรรจภุ ัณฑ์ เชน่ กล่อง การบรรจสุ ามารถรกั ษาคุณภาพ 2 คะแนน

ได้ระยะหน่งึ แตไ่ มม่ ีรายละเอยี ดท่ีตอ้ งระบุมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ 3 คะแนน
 มีบรรจุภณั ฑ์ทีบ่ ่งบอกเอกลักษณต์ ่อผลติ ภัณฑแ์ ละมาตรฐานสากล

เชิงการคา้ เช่น สรรพคุณ ปรมิ าณ สว่ นผสม เปน็ ต้น

1.3 ด้านความเข้มแขง็ ของกลุม่ อาชพี ในชมุ ชน (9 คะแนน) (3 คะแนน)
1.3.1 ระยะเวลาในการจดั ตง้ั กล่มุ 1 คะแนน
 นอ้ ยกว่า 3 ปี

 3 – 5 ปี 2 คะแนน

 5 ปีข้นึ ไป 3 คะแนน

1.3.2 การมสี ่วนร่วมกบั ชุมชน ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี (3 คะแนน)

ประเดน็ ที่ 1 ปจั จยั การผลติ (การใชแ้ รงงาน/ทุน) รวมทง้ั การมสี ่วนร่วมของคนในชุมชน

ประเด็นที่ 2 มีการจดั สรรผลกาไรบางส่วนใหแ้ กส่ มาชิกในกลุ่มอาชีพและในชุมชน

ประเดน็ ท่ี 3 ชุมชนมีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ /เสนอแนะต่อการประกอบการ/กลมุ่ อาชพี การมี

ส่วนร่วมในชมุ ชนและส่งผลประโยชน์ต่อชมุ ชน เช่น เป็นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว แหล่งขายสินค้าในชุมชน เปน็ ต้น

 มีสว่ นรว่ ม 1 ประเด็น 1 คะแนน

 มีส่วนรว่ ม 2 ประเดน็ 2 คะแนน

 มีส่วนรว่ ม 3 ประเด็น 3 คะแนน

23

ประเดน็ /หวั ขอ้ คะแนน
ตามหลกั เกณฑ์
1.3.3 การจดั ทาบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย
 มีการจดบนั ทกึ บัญชีรายรบั รายจา่ ย แตไ่ มเ่ ป็นระบบ (3 คะแนน)
 มีการจดั ทาบัญชีรายรับ-รายจา่ ย เป็นระบบ และมีการบันทกึ 1 คะแนน
2 คะแนน
เป็นข้อมูลบางครั้ง
 มกี ารจดั ทาบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย เป็นระบบ และมีการบนั ทกึ ขอ้ มูล 3 คะแนน

ประจา

ส่วนที่ 1 ดา้ นผลติ ภณั ฑแ์ ละความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน คะแนนรวม....................... คะแนน

24

สว่ น 2 ด้านการตลาดและความเปน็ มาของผลิตภณั ฑ์ (30 คะแนน)

ประเด็น/หัวข้อ คะแนน
ตามหลักเกณฑ์
2.1 ด้านการตลาด ( 15 คะแนน)
2.1.1 แหลง่ จาหนา่ ยหลักของสนิ คา้ /การเขา้ ถงึ ผบู้ รโิ ภค/ (9 คะแนน)
ชอ่ งทางการตลาด
 มชี อ่ งทางการตลาดภายในทอ้ งถ่ิน /เฉพาะท่ตี ง้ั ของกลมุ่ 3 คะแนน
 มีช่องทางการตลาดภายในจังหวดั และต่างจงั หวัด, มหี นา้ รา้ น, 6 คะแนน
มกี ารออกบูธจัดแสดงและจาหน่ายสินคา้ ของกลุ่มอาชพี
 มีมชี ่องทางการตลาดภายในจังหวัดและต่างจงั หวัด, มหี นา้ รา้ น, 9 คะแนน
มีการออกบูธจัดแสดงและจาหนา่ ยสินค้าของกลมุ่ อาชพี รวมทง้ั การ
จาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ออนไลน์ เช่น LINE, Facebook เป็นต้น (3 คะแนน)
2.1.2 รายไดใ้ นการจัดจาหนา่ ยสนิ คา้ (เทยี บกบั ปที ผ่ี า่ นมา) 1 คะแนน
 เพมิ่ ขึ้นไม่เกนิ ร้อยละ 25 2 คะแนน
 เพิม่ ข้นึ รอ้ ยละ 25 - 50 3 คะแนน
 เพม่ิ ขึ้นร้อยละ 51 ขน้ึ ไป (3 คะแนน)
2.1.2 ความตอ่ เนื่องทางการตลาด 1 คะแนน
 มีเฉพาะกลมุ่ ลกู ค้าใหม่ 2 คะแนน
 มีกล่มุ ลูกค้าประจา แต่ไม่มีการสงั่ ซ้ืออย่างสมา่ เสมอ 3 คะแนน
 มกี ล่มุ ลูกค้าประจา และกลุม่ ลูกค้าใหม่ มีการสง่ั ซื้ออย่างสม่าเสมอ

25

ประเด็น/หัวขอ้ คะแนน
ตามหลกั เกณฑ์

2.2 ดา้ นความเปน็ มาผลติ ภัณฑ์ (15 คะแนน) (9 คะแนน)
3 คะแนน
2.2.1 เรอ่ื งราวของผลติ ภณั ฑ์ 6 คะแนน
 มปี ระวตั ิ ความเปน็ มาเกยี่ วกับผลติ ภณั ฑ์ แตไ่ มม่ กี ารบันทกึ 9 คะแนน
 มีประวตั ิ ความเปน็ มาเก่ียวกบั ผลิตภณั ฑ์ และมกี ารบนั ทกึ
 มีประวตั ิ ความเปน็ มาเกี่ยวกับผลติ ภัณฑ์ และมีการบนั ทกึ และ (3 คะแนน)
1 คะแนน
มกี ารนาเสนอ (มีเอกสารหรอื คาอธิบายประกอบของผลิตภัณฑ/์ 2 คะแนน
สนิ คา้ /บริการ) 3 คะแนน
2.2.2 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ /เอกลักษณ์ของทอ้ งถน่ิ
 นามาจากทีอ่ ่นื ไมไ่ ดพ้ ฒั นาเพิ่มเติม (รปู แบบดัง้ เดมิ ) (3 คะแนน)
 นามาจากท่ีอื่นมีการพัฒนาเพ่มิ เติม 1 คะแนน
 เป็นภูมิปัญญาจากทอ้ งถ่ิน แปลกใหม่ และคิดต่อยอดอย่าง 2 คะแนน
สรา้ งสรรค์ 3 คะแนน

2.2.3 ความเปน็ อตั ลักษณ์ของพนื้ ท/่ี ของจงั หวัด/ทอ้ งถน่ิ
 ความเปน็ อตั ลักษณ์ท่ไี ม่ใช่ภูมิปญั ญาดัง้ เดมิ (ผลิตภณั ฑใ์ หม่)
 ความเป็นอตั ลักษณท์ ่ีนามาจากถ่นิ อื่น (นามาปรบั ใหม)่
 ความเป็นอัตลักษณจ์ ากภูมิปญั ญาด้ังเดิมและคิดต่อยอด

อยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ตย่ ังคงความเป็นอัตลกั ษณ์ของตนเอง

ส่วนท่ี 2 ดา้ นการตลาดและความเปน็ มาของผลติ ภณั ฑ์ คะแนนรวม....................... คะแนน

26

ส่วน 3 ดา้ นคุณภาพลกั ษณะของผลิตภณั ฑ์ (40 คะแนน)

แบง่ ประเภทของผลิตภณั ฑท์ เ่ี ขา้ รว่ มคัดเลอื กเกณฑก์ ารประเมนิ
 ประเภท 1 อาหาร
 ประเภท 2 เครอ่ื งดม่ื
 ประเภท 3 ผา้ / เคร่อื งแต่งกาย
 ประเภท 4 ของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ีระลึก
 ประเภท 5 สมุนไพรท่ไี มใ่ ช่อาหาร

ประเภท 1 : อาหาร

3.1 ดา้ นคณุ ลกั ษณะทางกายภาพ การตรวจสอบ/วิเคราะหค์ ณุ ภาพตามประเภทผลติ ภัณฑ์
(30 คะแนน)

3.1.1 ลักษณะภายนอก (10 คะแนน)
 ขนาด รปู รา่ งและลักษณะตรงตามคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องสนิ คา้ 4 คะแนน
 ขนาด รูปร่าง สี และลักษณะทมี่ ีความสมา่ เสมอตามลกั ษณะ, 8 คะแนน

ไมม่ ีสิ่งแปลกปลอม เชน่ เศษหญ้า เศษตะกอนนา้ มนั 10 คะแนน
 ขนาด รปู ร่าง สี และลักษณะทม่ี ีความสม่าเสมอตามลกั ษณะ,

สภาพความสมบรู ณ์และความสะอาดและไมม่ ีส่งิ เจือปน เช่น เชื้อรา

เส้นผม หรอื ตาหนอิ นื่ ใดท่นี า่ รงั เกียจและเป็นอันตรายตอ่ ผ้บู ริโภค

27

3.1.2 ลักษณะภายใน (10 คะแนน)
 เนื้อสมั ผสั สี กลิ่น รสชาติ น้าหนัก เหมาะสม 4 คะแนน
 เนื้อสัมผสั สี กลนิ่ รสชาติ ดี น้าหนกั มคี วามสม่าเสมอครบตามลกั ษณะ 8 คะแนน

ของผลติ ภัณฑ์ 10 คะแนน
 เน้ือสมั ผสั สี กลิ่น รสชาติ นา้ หนกั ดี มีความสมา่ เสมอครบตามลกั ษณะ
(4 คะแนน)
ของผลิตภัณฑ์มีความสมบรู ณค์ รบไมม่ ีสิ่งปนเป้ือนท่ีก่อใหเ้ กิดอันตราย 1 คะแนน
แก่ผ้บู รโิ ภค
3.1.3 มีการทดสอบทางด้านชีวภาพ/ด้านเคมี คะแนน
 ไมผ่ า่ นการทดสอบหรอื เคยไดร้ บั การตรวจเบื้องต้น เชน่ ทดสอบความเป็น (2 คะแนน)
กรด-ดา่ ง ความชนื้ ในอาหาร 1 คะแนน
 ผา่ นการทดสอบ 2 คะแนน
3.1.4 รูปแบบบรรจภุ ณั ฑ์/ฉลากแบรนด์/โลโก้ (4 คะแนน)
 ไม่มี อยู่ระหวา่ งจดั ทา 2 คะแนน
 มี 4 คะแนน
3.1.5 ความเปน็ เอกลกั ษณ์ของผลิตภัณฑ์ คณุ สมบตั ิ ประโยชน์ สรรพคุณ
 มชี อ่ื ผลติ ภณั ฑ/์ ตราผลติ ภัณฑ์/แบรนด์ของสนิ คา้
 มีแบรนด์สินคา้ และความโดดเดน่ ทีบ่ ่งบอกถึงคุณลักษณะของตัวผลิตภณั ฑ์
หรอื สินค้า เชน่ สรรพคณุ เฉพาะสินค้า

28

3.2 โอกาสทางการตลาดสสู่ ากล/การสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ (10 คะแนน) (4 คะแนน)
3.2.1 การสรา้ งมลู คา่ เพ่มิ 2 คะแนน
 มีความโดดเดน่ แปลกใหม่ มีนวัตกรรม เหมาะสมกับการใช้งาน
4 คะแนน
และพัฒนาผลติ ภัณฑต์ ่อยอดได้
 มีความโดดเดน่ แปลกใหม่ มีนวัตกรรม เหมาะสมกบั การใชง้ านเชื่อมโยงกบั (6 คะแนน)
2 คะแนน
ทอ้ งถิ่น พัฒนาผลิตภัณฑต์ ่อยอดได้ เกดิ องคค์ วามรูใ้ หมข่ ึน้ 4 คะแนน
3.2.2 โอกาสทางการตลาดสสู่ ากล 6 คะแนน
 มีชอ่ งทางการตลาดภายในทอ้ งถิ่น, อาเภอและจงั หวัด ท่ีต้งั ของกล่มุ
 มีชอ่ งทางการตลาดภายในประเทศ (หลายจังหวัด)
 มชี ่องทางการตลาดภายในจังหวดั ประเทศ หรือ ตา่ งประเทศ
สว่ นท่ี 3 ดา้ นคณุ ภาพลักษณะของผลติ ภณั ฑ์ (ประเภท 1 อาหาร)

คะแนนรวม............................ คะแนน

ผลการพิจารณา
รวมคะแนน (ส่วนท่ี 1 + สว่ นท่ี 2 + ส่วนที่ 3)
............+...........+........... = ................ คะแนน
จัดระดับผลิตภัณฑ์เกรด ......................

29

ประเภท 2 : เครอ่ื งดม่ื

3.1 ดา้ นคุณลกั ษณะทางกายภาพ การตรวจสอบ/วิเคราะหค์ ุณภาพตามประเภทผลติ ภัณฑ์

(30 คะแนน)
 เคร่อื งด่ืมท่ไี ม่มีแอลกอฮอล์
 เครอื่ งดืม่ ท่ีมีแอลกอฮอล์

3.1.1 ลกั ษณะภายนอก (10 คะแนน)
 ความใส คุณลักษณะภายนอกเหมาะสม 4 คะแนน
 สีตามธรรมชาติของวัตถุดิบทใ่ี ช้ทาปราศจากกล่ินท่ีไม่พงึ ประสงค์ 8 คะแนน
 รสชาติ กลนิ่ เปน็ ไปตามชนดิ ของผลติ ภัณฑ์ ปราศจากกลิน่ ท่ี 10 คะแนน

ไม่พึงประสงค์

3.1.2 ลักษณะภายใน (10 คะแนน)
 มเี น้ือสมั ผัส สี กลน่ิ รสชาติ น้าหนกั ตามท่ีระบุ เหมาะสม 4 คะแนน
 มเี นื้อสมั ผัส สี กลนิ่ รสชาติดี น้าหนกั ตามทีร่ ะบุ มีความสม่าเสมอ 8 คะแนน

ครบตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ 10 คะแนน
 เนื้อสัมผสั สี กล่นิ รสชาติดี นา้ หนกั ตามท่ีระบุ มีความสมา่ เสมอ

ครบตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ สภาพคุณลกั ษณะของผลติ ภัณฑ์

มคี วามสมบูรณ์ครบไมม่ ีสิ่งปนเป้อื นที่กอ่ ให้เกิดอนั ตรายแกผ่ บู้ รโิ ภค

3.1.3 มกี ารทดสอบทางดา้ นชวี ภาพ/ด้านเคมี (4 คะแนน)
 ไมผ่ ่านการทดสอบหรอื เคยได้รบั การตรวจเบอื้ งตน้ เช่น 2 คะแนน

ทดสอบความเป็นกรด-ด่าง ความชื้นในอาหาร 4 คะแนน
 ผา่ นการทดสอบ เชน่ ผ่านเขา้ ประเมนิ คณุ ค่าทางอาหาร ,

ผ่านการทดสอบความเป็นกรด-ดา่ ง สารปนเปื้อน ฯลฯ

30

3.1.4 รปู แบบบรรจภุ ณั ฑ์/ฉลากแบรนด์/โลโก้ (2 คะแนน)
 ไม่มี อยรู่ ะหวา่ งจดั ทา 1 คะแนน
 มี 2 คะแนน
3.1.5 ความเปน็ เอกลกั ษณ์ของผลติ ภณั ฑ์ คุณสมบตั ิ ประโยชน์ สรรพคณุ (4 คะแนน)
 มชี อ่ื ผลิตภัณฑ/์ ตราผลติ ภัณฑ์/แบรนด์ของสินค้า 2 คะแนน
 มแี บรนดส์ ินค้าและความโดดเด่นท่บี ่งบอกถงึ คุณลักษณะของ 4 คะแนน

ตวั ผลิตภัณฑ/์ สินคา้ เช่น สรรพคุณเฉพาะสินค้า (4 คะแนน)
2 คะแนน
3.2 โอกาสทางการตลาดสสู่ ากล/การสรา้ งมูลคา่ เพม่ิ (10 คะแนน)
3.2.1 การสรา้ งมลู คา่ เพิม่ 4 คะแนน

 มคี วามโดดเดน่ แปลกใหม่ มนี วัตกรรม เหมาะสมกับการใชง้ าน (6 คะแนน)
2 คะแนน
และพฒั นาผลิตภัณฑต์ ่อยอดได้ 4 คะแนน
6 คะแนน
 มคี วามโดดเดน่ แปลกใหม่ มีนวัตกรรม เหมาะสมกบั การใชง้ านเช่ือมโยง

กบั ทอ้ งถิน่ พฒั นาผลิตภัณฑต์ ่อยอดได้ เกิดองค์ความรูใ้ หม่ข้ึน
3.2.2 โอกาสทางการตลาดสสู่ ากล
 มีชอ่ งทางการตลาดภายในทอ้ งถิ่น, อาเภอ และจงั หวดั ทีต่ ั้งของกลุ่ม
 มีช่องทางการตลาดภายในประเทศ (หลายจังหวดั )
 มชี ่องทางการตลาดภายในจังหวดั ประเทศ หรือ ต่างประเทศ
ส่วนท่ี 3 ดา้ นคณุ ภาพลกั ษณะของผลติ ภณั ฑ์ (ประเภท 2 เครอื่ งดมื่ )

คะแนนรวม................. คะแนน

ผลการพจิ ารณา

รวมคะแนน (สว่ นท่ี 1 + สว่ นที่ 2 + สว่ นท่ี 3)

............+...........+........... = ................ คะแนน

จดั ระดับผลิตภัณฑ์เกรด ......................

31

ประเภท 3 : ผ้า เครอื่ งแตง่ กาย

3.1 ดา้ นคุณลักษณะทางกายภาพ การตรวจสอบ/วิเคราะหค์ ุณภาพตามประเภทผลติ ภณั ฑ์

(30 คะแนน)

3.1.1 ดา้ นรปู แบบผลิตภัณฑ/์ รปู แบบ/สัดสว่ น/เอกลักษณ์ (5 คะแนน)

(เลอื กได้มากกว่า 1 ข้อ ) 2 คะแนน
 มรี ูปแบบ ลวดลาย สีสัน สวยงาม โดดเดน่ มีสีที่เปน็ เอกลกั ษณะ

เฉพาะกลุ่มอาชีพ และมคี วามต้องการของตลาด สะดวกแกก่ ารใช้งาน/

ทนั สมยั /เหมาะสมกบั ผลติ ภณั ฑ์ 1 คะแนน
 มขี นาด สดั สว่ นเหมาะสมต่อการใช้งาน 2 คะแนน
 มีเอกลกั ษณต์ ามคุณลักษณะของประเภทผลติ ภัณฑ์ท่สี ะท้อน

ความเป็นภมู ิปญั ญาไทย สะทอ้ นความเปน็ มาของกล่มุ อาชีพ

3.1.2 รปู แบบบรรจุภณั ฑ์/ฉลากแบรนด์/โลโก้ (2 คะแนน)

 ไมม่ ี 0 คะแนน
 มี 2 คะแนน
3.1.3 บรรจุภัณฑท์ ี่เหมาะสมใชง้ านได้ (เลอื กไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) (10 คะแนน)
 รปู แบบบรรจุภัณฑ์ทเ่ี หมาะสมกับผลิตภณั ฑท์ ่ีใช้งาน 2 คะแนน
 การเลือกใช้วสั ดทุ ่เี หมาะสม โครงสรา้ งเหมาะสม สามารถค้มุ ครอง 2 คะแนน

ผลติ ภัณฑใ์ หป้ ลอดภัย การพบั เก็บ ประกอบ และขนสง่ 2 คะแนน
 ตน้ ทุนที่เหมาะสมในการทาบรรจภุ ัณฑ์ 2 คะแนน
 บง่ บอกรายละเอยี ดของสินคา้ เกี่ยวกับ ชนิด คุณภาพ แหลง่ ทีม่ าและ
2 คะแนน
การดูแลรักษา ทาใหส้ นิ ค้าไม่เสยี หาย
 สรา้ งมลู ค่าเพิ่ม/สง่ เสริมการขาย/สวยงามน่ามอง/หยบิ ใหไ้ ดส้ ะดวก

32

3.1.4 มีความคดิ สรา้ งสรรคต์ อ่ ยอดจากภูมปิ ญั ญาไทย (3 คะแนน)
 มคี วามคิดสร้างสรรค์ แต่ยงั ไม่ได้ต่อยอดหรือพัฒนา 2 คะแนน
 มีความคิดสร้างสรรคต์ อ่ ยอดหรือพฒั นาตอ่ ยอดจากภูมปิ ัญญาไทย 3 คะแนน
3.1.5 ด้านคุณภาพตามชนิดของผา้ (เลอื กได้ 1 ชนดิ ) (10 คะแนน)
 1. ชนิดแบบผา้ ผนื (เลอื กขอ้ ได้มากกวา่ 1 ขอ้ )
 สีไมต่ ก ไมด่ า่ ง มคี วามสม่าเสมอ (สธี รรมชาติตกไดเ้ ลก็ นอ้ ย) 2 คะแนน
 มีเอกลกั ษณ์ตามลักษณะของผลติ ภัณฑ์ 2 คะแนน
 โครงสร้าง ลวดลาย สมา่ เสมอ ปราศจากตาหนแิ ละรอยเปรอะเปื้อน 2 คะแนน
 รมิ ผา้ เรยี บรอ้ ย, มกี ารเยบ็ ขอบผ้า, ชายผา้ ไมล่ ยุ่ สภาพเรยี บร้อย 4 คะแนน

ประณตี สวยงามเหมาะสม ลวดลายท่ีสมา่ เสมอตลอดชน้ิ งาน 2 คะแนน
 2. ชนิดแบบเสอ้ื ผา้ (เลอื กขอ้ ได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) 2 คะแนน
 สีไม่ตก ไมด่ า่ ง (สีธรรมชาติตกได้เล็กน้อย)
 สภาพเรียบร้อย ประณตี สวยงาม เหมาะสม ลวดลายทีส่ มา่ เสมอ 2 คะแนน

ตลอดช้นิ งาน 2 คะแนน
 การเยบ็ ทีส่ มา่ เสมอ ฝเี ขม็ ทส่ี ม่าเสมอ ทงั้ นอกและในตัวผลติ ภณั ฑ์ 2 คะแนน

ไม่รัง้ ตงึ การสอยเรยี บร้อยไม่มเี สน้ ด้ายลอย การตกแตง่ ด้วยวัสดอุ ื่น

ต้องตดิ แน่น และเหมาะสม
 คุณภาพของวสั ดุ/วตั ถุดบิ ที่ใช้คงทน
 รปู แบบของผลติ ภัณฑ์ที่มีความประณีต สวยงาม มีขัน้ ตอนท่ีแปลก

เฉพาะตัวมเี อกลักษณแ์ ละเทคนคิ เฉพาะของกลุม่

33

 3. ชนิดแบบรองเทา้ , กระเปา๋ , หมวก, ผา้ , หนงั , ฯลฯ (เลอื กขอ้ ได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) 2 คะแนน
 ความประณตี ในการเย็บ ตะเขบ็ ฝเี ขม็ เรียบรอ้ ย ลวดลายทส่ี มา่ เสมอ
2 คะแนน
ตลอดชน้ิ งาน ชว่ งรอยตอ่ ไมแ่ ยกจากกัน สีไม่หลุดลอก สไี มต่ ก 2 คะแนน
2 คะแนน
พืน้ เรยี บ การเย็บท่สี ม่าเสมอ 2 คะแนน
 โครงสรา้ งแขง็ แรง วัสดุท่ีคงทน มีความแขง็ แรง ใชง้ านได้อย่างเหมาะสม 2 คะแนน
 ส่วนประกอบท่ีมคี ุณภาพ ตกแตง่ ผลติ ภัณฑเ์ หมาะสมไมฉ่ กี ขาด หรือ
2 คะแนน
รา คราบกาว ไมม่ กี ลน่ิ สารเคมี ออกแบบท่ีสวยงาม 2 คะแนน
 คุณภาพของวสั ดุ/วตั ถดุ บิ ท่ีใช้ 2 คะแนน
 รปู ทรงสวยงาม เหมาะสม เรยี บรอ้ ย แข็งแรง ไม่เปรอะเปื้อนปราศจาก 2 คะแนน
2 คะแนน
เสน้ ขนฝุ่นผง รอยกดั กนิ ของแมลงและเช้อื รา ไมบ่ ิดเอนเอียง
 การถกั ทอ สาน มดั ผูก ตัดเย็บ ประณีต เรยี บเสมอ แน่นหนา

ลวดลาย สม่าเสมอ เก็บริมเรยี บรอ้ ย

 4. ชนิดแบบเครอื่ งประดบั (เลอื กขอ้ ไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ )
 ความเหมาะสมของการเลอื กใช้วัตถดุ ิบท่ีนามาใชท้ ัง้ ดา้ นขนาดและ

นา้ หนัก
 คุณภาพของวสั ด/ุ วตั ถุดิบที่ใช้ มคี วามเหมาะสม
 โครงสรา้ งแขง็ แรง ทนทาน ใชง้ านได้
 ไมม่ รี อยตาหนิ มีเอกลักษณต์ ามคณุ ลกั ษณะของผลิตภัณฑ์ มีความ

ประณตี ไม่กอ่ อันตรายตอ่ ผใู้ ชง้ าน ตลอดจนสามารถใช้งานได้จรงิ
 รปู แบบของผลิตภัณฑ์ท่ปี ระณตี แปลกใหม่ โดดเด่นไมเ่ หมอื นใคร

34

3.2 โอกาสทางการตลาดสสู่ ากล/การสร้างมูลคา่ เพิ่ม (10 คะแนน) (4 คะแนน)
3.2.1 การสรา้ งมลู คา่ เพิม่ 2 คะแนน
 มีความโดดเด่น แปลกใหม่ มนี วตั กรรม เหมาะสมกับการใช้งาน
4 คะแนน
และพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อยอดได้
 มีความโดดเด่น แปลกใหม่ มีนวตั กรรม เหมาะสมกบั การใชง้ าน (6 คะแนน)
2 คะแนน
เช่อื มโยงกบั ท้องถนิ่ พัฒนาผลิตภัณฑต์ ่อยอดได้ เกิดองค์ความรู้ 4 คะแนน
ใหมข่ ึ้น 6 คะแนน
3.2.2 โอกาสทางการตลาดสูส่ ากล
 มชี อ่ งทางการตลาดภายในท้องถิ่น, อาเภอและจังหวัด ทีต่ ้งั ของกล่มุ
 มีชอ่ งทางการตลาดภายในประเทศ (หลายจังหวัด)
 มชี อ่ งทางการตลาดภายในจังหวัด ประเทศ หรอื ตา่ งประเทศ

สว่ นที่ 3 ดา้ นคณุ ภาพลักษณะของผลติ ภณั ฑ์ (ประเภท 3 ผา้ เครอื่ งแตง่ กาย)

คะแนนรวม........... คะแนน

ผลการพจิ ารณา
รวมคะแนน (สว่ นที่ 1 + สว่ นท่ี 2 + สว่ นท่ี 3)
............+...........+........... = ................ คะแนน
จัดระดบั ผลติ ภัณฑ์เกรด ......................

35

ประเภท 4 : ของใช/้ ของตกแตง่ /ของทร่ี ะลกึ

3.1 ดา้ นคณุ ลักษณะทางกายภาพ การตรวจสอบ/วิเคราะหค์ ณุ ภาพตามประเภทผลติ ภัณฑ์ (30 คะแนน)

3.1.1 ดา้ นรปู แบบผลิตภณั ฑ์ (เลอื กไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) (5 คะแนน)
 รปู แบบ ลวดลาย สีสนั สวยงาม โดดเดน่ มสี ที เี่ ปน็ เอกลักษณะเฉพาะ 2 คะแนน

กลุ่มอาชีพ และมคี วามต้องการของตลาด สะดวกแก่การใชง้ าน 1 คะแนน
 มขี นาด สัดส่วนเหมาะสมต่อการใชง้ าน 2 คะแนน
 มีเอกลกั ษณท์ ี่สะทอ้ นความเปน็ ภูมิปัญญาไทย สะท้อนความเป็นมา

ของกลุ่มอาชีพ

3.1.2 รปู แบบบรรจภุ ณั ฑ/์ ฉลากแบรนด/์ โลโก้ (2 คะแนน)
 ไมม่ ี 0 คะแนน
 มี 2 คะแนน

3.1.3 คุณภาพของวสั ด/ุ วตั ถุดิบทใ่ี ช้ (3 คะแนน)
 วสั ด/ุ วัตถุดิบที่ใช้มคี ุณภาพพอใช้ ตอ้ งได้รับการพัฒนา 1 คะแนน
 วสั ดุ/วตั ถุดบิ ท่ีใชม้ ีคุณภาพปานกลาง สามารถผลติ สนิ คา้ เพอื่ จาหนา่ ย 2 คะแนน

ตามทอ้ งตลาด 3 คะแนน
 วัสด/ุ วัตถุดบิ ท่ีใชม้ คี ุณภาพสงู ทาให้ได้ผลิตภณั ฑท์ มี่ ีคุณภาพสูง

เพิม่ มลู ค่าใหแ้ กผ่ ลิตภัณฑ์ สามารถจาหน่ายในทอ้ งตลาดท่ัวไปและ

สง่ ออกได้

3.1.4 ความมเี อกลักษณใ์ นการออกแบบ (3 คะแนน)
 มีรปู แบบท่ีซ้า พบเห็นตามท้องตลาดทั่วไป 1 คะแนน
 มรี ูปแบบท่ไี ม่ซ้า กบั ท้องตลาดทว่ั ไป 3 คะแนน

36

3.1.5 มคี วามคิดสรา้ งสรรคต์ อ่ ยอดจากภูมปิ ญั ญาไทย (3 คะแนน)
 มีความคดิ สร้างสรรคแ์ ต่ยงั ไมไ่ ด้ตอ่ ยอดหรือพฒั นา 2 คะแนน
 มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ต่อยอดหรือพฒั นาตอ่ ยอดจาก 3 คะแนน

ภมู ิปัญญาไทย (4 คะแนน)
3.1.6 การใชง้ าน 2 คะแนน
 สนิ ค้าใช้งานได้จริง แตต่ ้องการคาอธบิ ายกอ่ นนาไปใช้/ตกแต่งหรอื
4 คะแนน
ดูแลรกั ษาลาบาก
 สนิ ค้ามปี ระโยชนใ์ ช้สอย สะดวก เหมาะสมกับสนิ ค้าและดแู ลรักษา (10 คะแนน)

ไม่ยาก 2 คะแนน
3.1.7 คุณลักษณะของผลิตภณั ฑป์ ระเภท ไม้ จักสาน ดอกไม้ประดษิ ฐ์
2 คะแนน
โลหะ เปน็ ตน้
 ความเหมาะสมของการเลือกใช้วตั ถดุ บิ ทีน่ ามาใช้ทัง้ ด้านขนาดและ 2 คะแนน
2 คะแนน
นา้ หนกั
 มสี ดั ส่วนทเ่ี หมาะสม น้าหนักและขนั้ ตอนทีเ่ ปน็ ระบบ ผลติ ภัณฑ์ 2 คะแนน

มีสว่ นประกอบทีส่ ม่าเสมอทกุ ช้นิ งาน เชน่ การถกั การทอ การเชอ่ื ม
การขัดไม้
 โครงสร้างแข็งแรง ทนทาน ใชง้ านได้
 ไม่มรี อยตาหนิ มีเอกลักษณ์ตามคุณลกั ษณะของผลติ ภัณฑ์
ประณีต ไม่ก่ออนั ตรายตอ่ ผใู้ ชง้ าน ตลอดจนสามารถใชง้ านได้จรงิ
 รูปแบบของผลติ ภณั ฑท์ ีป่ ระณีต แปลกใหม่ โดดเด่นไม่เหมอื นใคร

37

3.2 โอกาสทางการตลาดสสู่ ากล/การสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ (10 คะแนน) (4 คะแนน)
3.2.1 การสรา้ งมลู คา่ เพิม่ 2 คะแนน
 มคี วามโดดเดน่ แปลกใหม่ มนี วัตกรรม เหมาะสมกับการใช้งาน
4 คะแนน
และพฒั นาผลติ ภัณฑต์ อ่ ยอดได้
 มคี วามโดดเด่น แปลกใหม่ มีนวัตกรรม เหมาะสมกับการใชง้ านเชื่อมโยง (6 คะแนน)
2 คะแนน
กับท้องถิ่น พฒั นาผลติ ภัณฑ์ต่อยอดได้ เกดิ องค์ความร้ใู หม่ขนึ้ 4 คะแนน
3.2.2 โอกาสทางการตลาดสูส่ ากล 6 คะแนน
 มชี ่องทางการตลาดภายในทอ้ งถิ่น, อาเภอและจงั หวัด ทต่ี ัง้ ของกลมุ่
 มีช่องทางการตลาดภายในประเทศ (หลายจังหวัด)
 มีช่องทางการตลาดภายในจังหวัด ประเทศ หรือ ตา่ งประเทศ

ส่วนท่ี 3 ด้านคณุ ภาพลักษณะของผลติ ภัณฑ์ (ประเภท 4 ของใช/้ ของตกแตง่ /ของทรี่ ะลกึ )

คะแนนรวม................ คะแนน

ผลการพจิ ารณา
รวมคะแนน (ส่วนท่ี 1 + สว่ นท่ี 2 + ส่วนท่ี 3)
............+...........+........... = ................ คะแนน
จัดระดับผลติ ภัณฑ์เกรด ......................

38

ประเภท 5 : สมนุ ไพรทไ่ี มใ่ ชอ่ าหาร

3.1 ดา้ นคุณลกั ษณะทางกายภาพ การตรวจสอบ/วิเคราะหค์ ุณภาพตามประเภทผลติ ภณั ฑ์ (30 คะแนน)

3.1.1 ดา้ นกายภาพ 24 คะแนน

การมสี งิ่ แปลกปลอม ทไ่ี ม่ใช่วตั ถุดบิ ในการผลติ (10 คะแนน)
 ไม่พบ 10 คะแนน
 พบเลก็ น้อย 5 คะแนน
 พบ 0 คะแนน

มีกลิน่ ตามธรรมชาตขิ องสว่ นประกอบทใี่ ช้ผลติ และปราศจากกลน่ิ (8 คะแนน)
ทไี่ มพ่ งึ ประสงค์
 มีกลน่ิ เลก็ นอ้ ย 4 คะแนน
 ไมม่ ี 8 คะแนน

รปู แบบบรรจภุ ัณฑ/์ ฉลากแบรนด์/โลโก้ (6 คะแนน)
 ไม่มี 0 คะแนน
 อยรู่ ะหวา่ งจดั ทาและพฒั นา 5 คะแนน
 มี 6 คะแนน

3.1.2 ดา้ นความถูกตอ้ งของฉลาก 6 คะแนน

มีฉลากทแี่ สดงข้อความครบถว้ น (ช่อื ผลิตภัณฑ์ ช่อื สถานทผ่ี ลติ และ (3 คะแนน)
ขนาดบรรจุ และต้องจัดแสดงวนั เดือนปี ทผ่ี ลิตหรือคาเตือน)
 ไม่ครบถ้วนหรอื มบี างสว่ น 1 คะแนน
 ครบถว้ น 3 คะแนน

รูปแบบบรรจุภณั ฑ์/ฉลากแบรนด์/โลโก้ (3 คะแนน)
 ไมม่ ี 0 คะแนน
 อยู่ระหวา่ งจัดทาและพัฒนา 2 คะแนน
 มี 3 คะแนน

39

3.2 โอกาสทางการตลาดสู่สากล/การสรา้ งมูลคา่ เพิม่ (10 คะแนน)

3.2.1 การสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ (4 คะแนน)
 มีความโดดเดน่ แปลกใหม่ มีนวัตกรรม เหมาะสมกับการใช้งาน 2 คะแนน

และพัฒนาผลิตภัณฑ์ตอ่ ยอดได้ 4 คะแนน
 มีความโดดเดน่ แปลกใหม่ มีนวัตกรรม เหมาะสมกับการใชง้ าน

เชอื่ มโยงกบั ท้องถ่ิน พฒั นาผลติ ภัณฑ์ตอ่ ยอดได้ เกิดองคค์ วามรู้

ใหม่ข้ึน

3.2.2 โอกาสทางการตลาดส่สู ากล (6 คะแนน)
 มชี ่องทางการตลาดภายในทอ้ งถ่ิน, อาเภอและจังหวัด ท่ตี ้ังของกลุ่ม 2 คะแนน
 มีช่องทางการตลาดภายในประเทศ (หลายจงั หวัด) 4 คะแนน
 มชี ่องทางการตลาดภายในจังหวัด ประเทศ หรอื ต่างประเทศ 6 คะแนน

สว่ นที่ 3 ด้านคุณภาพลกั ษณะของผลติ ภณั ฑ์ (ประเภท 5 สมุนไพรทไ่ี มใ่ ชอ่ าหาร)

คะแนนรวม........ คะแนน

ผลการพจิ ารณา
รวมคะแนน (ส่วนท่ี 1 + สว่ นท่ี 2 + สว่ นที่ 3)
............+...........+........... = ................ คะแนน
จัดระดับผลติ ภัณฑ์เกรด ......................

แบบประเมนิ ความเขา้ ใจหลงั ศกึ ษาคู่มอื

40

แบบประเมนิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ

กอ่ น

ศกึ ษาคู่มอื

https://forms.gle/NArJdXs75CtruVt98

แบบประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจ

หลงั

ศึกษาค่มู ือ

https://forms.gle/SdVmi5GktC7wSo

41

42

แบบฟอร์มแจง้ ความประสงค์ขอรบั การประเมนิ มาตรฐาน
ผลติ ภณั ฑ์กลมุ่ อาชพี สตรแี ละครอบครวั (มสค.)

หนว่ ยงาน ......................................................................................................

1. ขอ้ มลู ผู้ผลติ /กลมุ่ อาชีพ/ผู้ประกอบการ

ชือ่ กลมุ่ อาชีพ/ผูป้ ระกอบการ/ผู้ผลติ ...............................................................................................................

ชอื่ ประธานกลุ่ม/ตวั แทนกลมุ่ อาชีพ...................................................................................................................
หมายเลขบตั รประจาตวั ประชาชน     

ที่อยู่ปัจจบุ ัน เลขที่..................ซอย......................ถนน..........................หม่ทู ี่..........ตาบล/แขวง........................

อาเภอ/เขต.........................................จังหวดั .....................................รหสั ไปรษณยี .์ .......................................

โทรศพั ท.์ ......................................โทรสาร..........................................อเี มล.์ .....................................................

หมายเหตุ : กรณมี อบอานาจหรือผู้แทนกรุณาแนบเอกสารมอบอานาจ ตามแบบฟอร์มการมอบอานาจมาทา้ ยดว้ ย

2. ขอ้ มลู ผลติ ภัณฑ์ ชอื่ ผลิตภัณฑ์ทสี่ ง่ ประเมนิ ............................................................................

ประเภทของผลิตภณั ฑ์
 ประเภท 1 อาหาร
 ประเภท 2 เครื่องด่ืม
 ประเภท 3 ผ้า เครอื่ งแต่งกาย
 ประเภท 4 ของใช/้ ของตกแตง่ /ของทรี่ ะลึก
 ประเภท 5 สมนุ ไพรท่ีไม่ใช่อาหาร

***อ้างองิ จากคมู่ อื มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์กลุ่มอาชพี สตรีและครอบครัว (มสค.) การแบง่ ประเภทของผลติ ภณั ฑใ์ น

ส่วนท่ี 2 หนา้ 10-12

 ประเภท 1 อาหาร

 1. ผกั ผลไม้  2. น้าผึง้ ระบชุ นิด..................  3. ขา้ ว ข้าวกลอ้ ง ข้าวสาร

 4. เนอ้ื สตั วส์ ด  5. อาหารประมง อาหารทะเลสด  6. ขนม

 7. นา้ พรกิ  8. ผกั และผลไมแ้ ปรรูป  9. ผลิตภัณฑจ์ ากเนือ้ สตั ว์ นม ไข่ แปรรปู

 10. ผลิตภณั ฑป์ ระมงแปรรปู  11. ผลติ ภณั ฑ์แปรรปู จากขา้ ว ธญั พชื ธญั พืชแปรรปู

43

 ประเภท 2 เครือ่ งดืม่

 เคร่อื งดม่ื ทม่ี แี อลกอฮอล์  เครื่องดมื่ ทไ่ี มม่ แี อลกอฮอล์

 ประเภท 3 ผ้า เคร่ืองแตง่ กาย

 1. ผา้ ผืน  2.ผลติ ภัณฑเ์ ส้ือผา้  3. เครอ่ื งแต่งกาย  4. เครอื่ งประดับ ของใชต้ กแตง่

 ประเภท 4 ของใช้/ของตกแต่ง/ของทีร่ ะลึก

 1. ไม้ (ทาจากไม้เป็นหลกั )  2. จกั สาน ถักทอ วสั ดธุ รรมชาติ/สังเคราะห์  3. ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์

 4. โลหะ (ทาจากโลหะเปน็ หลัก)  5. เซรามคิ /เคร่อื งปนั้ ดนิ เผา  6. เคหะสง่ิ ทอ

 7. ส่ิงประดิษฐแ์ บบวสั ดุธรรมชาติ  8. อนื่ ๆ ระบ.ุ .....................

 ประเภท 5 สมนุ ไพรท่ไี มใ่ ช่อาหาร

 1. ยาสมนุ ไพร  2. เคร่อื งสาอางจากสมุนไพร  3. ผลติ ภัณฑจ์ ากสมนุ ไพรทใ่ี ช้ในทางการเกษตร

 4. วัตถอุ ันตรายทีใ่ ชใ้ นบ้านเรอื นรวมทง้ั ผลติ ภัณฑ์จากสมนุ ไพร

3. มาตรฐานการรบั รองผลิตภณั ฑ์ฯ (ถา้ มี)
 1. ใบรับรอง มผช.  2. จดทะเบียนการค้า  3. วิสาหกจิ ชุมชน  4. อ.ย./GMP/HACCP
 5. หนงั สือรับรองการผา่ นการฝกึ อบรมผลิตภัณฑ์  6. จดทะเบียนทรัพย์สนิ ทางปัญญา
 7. ใบประกาศนยี บตั ร ใบเข้ารับการแข่งขัน ประกวด  8. อยรู่ ะหว่างการยน่ื คาขอ

หมายเหตุ ใหส้ แกนใบรับรองมาตรฐานของผลิตภัณฑท์ ี่ได้รบั

ประโยชนใ์ ชส้ อยของผลติ ภณั ฑ์ (กรณีมกี ารเปลีย่ นแปลง แก้ไข เพม่ิ เติม)

............................................................................................................................. ............................................................
........................................................................................................................................................... ..............................
.................................................................................................... ..................................................................... ................

จดุ เดน่ ของผลติ ภณั ฑ์

............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................................. ............................

44

เรือ่ งราวของผลติ ภณั ฑ์

............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
..................................................................................................................................................... ....................................
.........................................................................................................................................................................................

ความตอ้ งการในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์

............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................ .............................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................

ระยะเวลาในการจัดต้ังกล่มุ
 1 ระยะเวลา 1-2 ปี  2. ระยะเวลา 2-5 ปี  3. ระยะเวลา 5 ปขี น้ึ ไป
จานวนสมาชกิ กลมุ่
 1. จานวน 5 คน  2. จานวน 5 – 20 คน  3. จานวน 20 - 50 คน  4. จานวน 50 คนขึน้ ไป
ปรมิ าณการผลติ / เดือน/ ปี
1. ปรมิ าณการผลติ โดยเฉลยี่ ตอ่ เดอื น...........................................................(จานวนหนว่ ย ชน้ิ /เดอื น)
2. ราคาจาหนา่ ยปลีก...........................................................(จานวนหนว่ ย ราคา /หนว่ ย)
3. บรรจภุ ัณฑ์  1. มบี รรจุภณั ฑ์  2. ไมม่ บี รรจุภณั ฑ์

45

รายไดจ้ ากการจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ ในปีทีผ่ า่ นมา
1. ยอดจาหนา่ ยโดยเฉลยี่ ต่อปี...........................................................(จานวนบาท/ปีไมห่ ักคา่ ใชจ้ า่ ย)
2. ผลติ ภณั ฑข์ องทา่ นจาหนา่ ย
 1. มหี นา้ รา้ น  2. ออกจัดแสดงสนิ ค้า จัดทาบธู  3. จดั ทาตามออเดอร์ทีส่ งั่  4. ขายผ่านออนไลน์
ภาพถ่ายผลติ ภณั ฑ์ จานวน 3 ภาพ
1. เจา้ หนา้ ทท่ี ่ไี ดร้ บั มอบหมายเปน็ ผูถ้ า่ ยภาพผลิตภณั ฑแ์ ละบันทกึ ภาพลงในระบบ
2. ถา่ ยภาพดา้ นหนา้ ดา้ นซ้าย ด้านขวาของผลติ ภัณฑ์
3. กรณี ผลิตภัณฑ์มบี บรรจุภัณฑท์ ี่ไมส่ ามารถมองเห็นผลติ ภณั ฑ์ท้ังชน้ิ ขอให้ถา่ ยภาพให้เห็นผลิตภณั ฑ์
อย่างชัดเจน
4. ขนาดภาพไมเ่ กิน 200 kb ต่อภาพ
ข้าพเจา้ ขอรับรองวา่ ขอ้ ความข้างตน้ ข้าพเจ้าเปน็ ผู้กรอกข้อมูลด้วยตนเองและเป็นความจริงทกุ ประการ

ลงชอ่ื ......................................................ผยู้ นื่ ความประสงค์
ตาแหนง่ ..................................................
วนั ท่.ี ...............เดือน.........................พ.ศ............
หมายเหต:ุ ตัดสินผลติ ภัณฑ์
1. คณะกรรมการประเมนิ ในระดบั หน่วยงานขอสงวนสทิ ธิ์ ในการพิจารณาคุณสมบัตขิ องผลิตภณั ฑ์
2.สามารถย่ืนขอรับการประเมินผลิตภัณฑ์ซ้าได้ในปีต่อไปกรณีมีระดับคะแนนที่ไม่พึงพอใจหรือมีการพัฒนา
ปรบั ปรุงใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน (มสค.) เรยี บร้อยแล้ว

ดาวนโ์ หลดแบบฟอรม์


Click to View FlipBook Version