The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rattaphapon, 2019-01-16 04:14:25

PowerPoint Presentation

เช่าทรัพย์




















เช่าซื้อ




ค ำน ำ



รายงานเล่มนี้จัดท าขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายธุรกิจ ชั้น ปวส.1 เพื่อให้ได้



ศึกษาหาความรู้ในเรื่องเช่าทรัพย์เช่าซื้อและได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการ



เรียน







ผู้จัดท าหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่ก าลัง



หาข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะน าหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดท าขอน้อมรับไว้และขอ



อภัยมา ณ ที่นี้ด้วย



สำรบัญ






เรือง หน้ำ




เช่าทรัพย์ 1




ลักษณะส าคัญของสัญญาเช่าทรัพย์ 2



การเช่าอสังหาริมทรัพย์ 3




เช่าซื้อ 8




แบบของสัญญาเช่าซื้อ 9



การผิดนัดไม่ใช้เงินตามสัญญาเช่าซื้อ 10




สรุป 11

1

เช่ำทรัพย์




ความหมายและลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์




เช่าทรัพย์ คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้ให้เช่า ตกลงให้บุคคลอีกบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้



เช่าได้ใช้สินทรัพย์ในระยะเวลาหนึ่ง และผู้เช่าจะให้ค่าเช่า เช่น เช่าหนังสือ เช่าวีซีดี

2

ลักษณะส าคัญของสัญญาเช่าทรัพย์




1. สัญญาที่มิได้มุ่งหมายจะโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน

คือ มิได้มุ่งหมายโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สินที่ให้เช่า แต่การโอนสิทธิ์ เพื่อครอบครอง ดังนี้ ผู้ให้เช่าจ าเป็นต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่า

ส่วนเรื่องระหว่างผู้ให้เช่ากับเจ้าของ เป็นอีกเรื่องหนึ่ง แต่ผู้ให้เช่าก็ควรจะต้องมีสิทธิ์ อย่างใดอย่างหนึ่งอยู่ด้วยจึงจะให้เช่าได้


2. สัญญามีวัตถุเป็นทรัพย์สิน

คือ วัตถุที่ให้เช่าอาจเป็นอสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ หรือทรัพย์ไม่มีรูปร่าง (เช่น ทรัพย์สินทางปัญญา) ตลอดจนสิทธิ์ ต่างๆ ที่มีราคา

และอาจถือได้ เช่น สิทธิ์ ในสัมปทาน


3. สัญญาเช่าทรัพย์เป็นสัญญาที่มีข้อตกลงชั่วระยะเวลาอันจ ากัด

คือ เป็นสัญญาที่มีก าหนดระยะเวลาการเช่าที่สิ้นสุดแน่นอน แม้ว่าจะเป็นสัญญาเช่า ที่ไม่ได้ก าหนดระยะเวลาการเช่าไว้ก็ตาม

4. เป็นสัญญาต่างตอบแทน


เพราะว่าเป็นสัญญาที่ฝ่ายหนึ่งให้อีกฝ่ายหนึ่งได้ใช้ หรือรับประโยชน์ในทรัพย์สิน โดยที่อีกฝ่ายหนึ่งจะต้องเสียค่าเช่าตอบแทนให้ ท าให้

คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต้องช าระหนี้ให้แก่กันและกัน เป็นการตอบแทน

5. เป็นสัญญาทีถือคุณสมบัติของผู้เช่าเป็นส าคัญ

คือ ผู้ให้เช่าจะพิจารณาให้ผู้ใดเช่าสินทรัพย์ของตนนั้น จะเพ่งเล็งถึงคุณสมบัติของ ผู้เช่าเป็นส าคัญ เช่น ห้ามมิให้การเช่าช่วงหากผู้เช่า

มิได้อนุญาต และเมื่อผู้เช่าตาย สัญญาเช่าก็จะระงับลง

3




การเช่าอสังหาริมทรัพย์





สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์มีลักษณะเป็นสัญญาต่างตอบแทน หมายถึงคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายคือผู้


เช่าและผู้ให้เช่ามีความสัมพันธ์ในลักษณะที่ต่างฝ่ายก็ต่างมีหน้าที่จะต้องกระท าต่อกัน ที่เห็นได้ชัดคือผู้


เช่าจะต้องจ่ายค่าเช่า ส่วนผู้ให้เช่าก็ต้องให้สิทธิในการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ที่ระบุในสัญญาเช่าฯ




เนื้อหาในสัญญาเช่ากล่าวว่า อสังหาริมทรัพย์ที่มีการเช่าคืออะไร บ้าน ทาวน์เฮ้าส์ อาคารชุด


อาคารพาณิชย์ หรือที่ดิน เป็นต้น และระบุถึงต าแหน่งที่ตั้งที่ชัดเจนของอสังหาริมทรัพย์นั้น บอกว่าผู้


เช่าเป็นใคร ผู้ให้เช่าคือใคร ช่วงเวลาของการเช่านานแค่ไหน ช่วงเวลาเช่าเริ่มต้นตั้งแต่เมื่อใดและ


สิ้นสุดลงเมื่อไร ก าหนดค่าเช่า โดยระบุจ านวนเงินและงวดเวลาที่จะต้องจ่ายค่าเช่า หรือจะเรียกเป็น


ค่าตอบแทนอย่างอื่นที่ไม่ใช่ตัวเงินก็ได้ และเงื่อนไขอื่นๆ ระหว่างผู้เช่าและผู้ให้เช่า เช่น การต่อสัญญา


เช่า การยกเลิกสัญญาเช่า การปรับราคาเช่า รวมถึงการด าเนินการกรณีผู้เช่าไม่จ่ายค่าเช่า เป็นต้น

รูปแบบของสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้นกฎหมายก าหนดว่าต้องท าเป็นหนังสือมิฉะนั้นแล้ว 4


จะไม่สามารถฟ้องร้องบังคับคดีได้ โดยสัญญาเช่าที่มีระยะเวลาการเช่าไม่เกิน 3 ป ี นั้นกฎหมาย


ก าหนดให้ผู้เช่าและผู้ให้เช่าท าสัญญาเช่าฯ ระหว่างกันเอง แต่ถ้าหากเป็นการเช่าที่มีระยะเวลา


การเช่าเกิน 3 ปีขึ้นไป ผู้เช่าและผู้ให้เช่าจะต้องจดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานที่ดิน ณ ส านักงาน


ที่ดินซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่ ถ้าท าสัญญาเช่ากันเองโดยไม่จดทะเบียนต่อพนักงานที่ดิน


สัญญาเช่านั้นจะมีผลบังคับทางกฎหมายแค่เพียง 3 ปีแรกเท่านั้น นอกจากนี้การเช่าสามารถท า


สัญญาได้นานที่สุด 30 ปี แต่ก็สามารถก าหนดระยะเวลาการเช่าเท่ากับอายุของผู้เช่าได้เนื่องจาก


เป็นระยะเวลาที่จ ากัดเช่นกัน












การเช่าสังหาริมทรัพย์ เป็นการเช่าที่กฎหมายก าหนด


หลักเกณฑ์ไว้เป็นพิเศษ

5







หน้าที่ของคู่สัญญา

สัญญาเช่าเป็นสัญญาต่างตอบแทน ดังนั้นแค่สัญญาคือทั้งผู้เช่าและผู้ให้เช่าต่างก็มีหน้าที่



ต้องกระท าต่อกันดังนี้





หน้าที่ชองผู้ให้เช่า


1) ผู้ให้เช่าต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าแก่ผู้เช่าในสภาพที่ใช้งานได้ปกติหรือซ่อมแซมมาดี


แล้วมิฉะนั้นผู้เช้าสามารถบอกเลิกสัญญาเช่าได้




2) ผู้ให้เช่าต้องซ่อมแซมทรัพย์สินที่เป็นการซ่อมใหญ่ เช่น ซ่อมหลังคาทั้งหลัง รื้อถอนสายไฟ


ทั้งบ้าน ยกเครื่องรถยนต์ใหม่ เปลี่ยนชุดเกียร์ เป็นต้น

6








หน้าที่ของผู้เช่า


1) ผู้เช่าต้องจ่ายค่าเช่าแก่ผู้ให้เช่า



2) ผู้เช่าต้องใช้ทรัพย์ตามสัญญาหรือตามจารีตประเพณีเสมือนเป็นทรัพย์สินของตน




3) หากเกิดความเสียหายขึ้นเล็กน้อย เช่น เปลี่ยนกระเบื้องหลังคาที่แตก ปะยางรถยนต์ให้เป็น


หน้าที่ของผู้เช่าที่จะต้องซ่อมแซม




4) ผู้เช่าต้องแจ้งแก่ผู้ให้เช่าหากทรัพย์สินนั้นเกิดความช ารุดบกพร่อง หรือจะต้องปัดป้อง


ภยันตรายหรือกรณีมีบุคคลภายนอกรุกล ้าเข้าหรืออ้างสิทธิเหนือทรัพย์สินที่เช่านั้น




5) ผู้เช่าจะไม่ดัดแปลง ต่อเติมทรัพย์สินที่เช่าเว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้ให้เช่า

7



การระงับแห่งสัญญาเช่า


1) สิ้นสุดระยะเวลาที่ก าหนดไว้หรือหากกรณีไม่ท าสัญญาตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายก าหนดก็


ให้เป็นไปตามกฎหมาย



2) ทรัพย์ที่เช่าสูญสลายไปทั้งหมด เช่น เช่าบ้านแล้วบ้านถูกไฟไหม้หมด แต่เขาเช่าที่ดินแล้ว



ปลูกบ้านจากนั้นไฟไหม้บ้าน ก็ไม่เป็นเหตุให้สัญญาเช่าถูกระงับ



ค าพิพากษาฎีกาที่ 1955/2523 โจทก์เช่าที่ดินพิพาทจากจ าเลย แล้วโจทก์สร้างอาคารในที่



พิพาทนั้น เมื่อเกิดเพลิงไหม้อาคาร ไม่เป็นเหตุที่จะท าให้สัญญาเช่าสิ้นไป



3) ผู้เช่าตาย เพราะสัญญาเช่าค านึงถึงคุณสมบัติของผู้เช่าเป็นส าคัญ แต่ถ้าผู้ให้เช่าตายสัญญา



ไม่สิ้นสุด ทายาทที่รับมรดกต้องรับโอนสิทธิหน้าที่ในสัญญาเช่าไปด้วย



4) ขัดต่อบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น การน าทรัพย์สินไปให้เช่าช่วง ผู้เช่าใช้ทรัพย์ไม่พึงระวัง

8


เช่ำซื้อ



เช่าซื้อ คือ สัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่าและให้ค ามั่นว่าจะขายทรัพย์สินหรือจะให้


ทรัพย์สินนั้นตกเป็นสิทธิแก่ผู้เช่าโดยเงื่อนไขที่ผู้เช่าได้ใช้เงิน เป็นจ านวนเท่านั้นเท่านี้คราวโดยความ

แตกต่างระหว่างเช่าซื้อกับสัญญาอื่นๆ มีดังนี้




เช่าซื้อกับเช่าทรัพย์

เช่าซื้อมีข้อตกลงเรื่องการขายสินค้าหรือให้สิทธิตกแก่ผู้เช่าซื้อในภายหลังแต่เช่าทรัพย์ไม่มี เช่นหาก

ไปเช่าซื้อรถแท็กซี่ จะมีข้อก าหนดว่าหากจ่ายเงินครบ 5 ปี ก็ให้กรรมสิทธิ์เป็นของผู้เช่าซื้อ แต่ในเช่า

ทรัพย์แม้จ่ายเงินไปนานเพียงใดก็ไม่ได้สิทธิในทรัพย์มาเป็นของตน




เช่าซื้อกับขายผ่อนส่ง
เช่าซื้อเป็นสัญญาเช่าและมี การขายในภายหลัง ดังนั้นในขณะที่เป็นการเช่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์จึง


ยังไม่โอนไปยังผู้เช่าซื้อจนกว่าจะมีการขาย แต่การขายผ่อนส่งนั้น เมื่อเป็นการซื้อขานกรรมสิทธิ์ใน

สินค้าจะโอนไปยังผู้ซื้อแล้ว และผู้ซื้อค่อยช าระเงินเป็นงวดๆ ไป (กรณีไม่มีข้อตกลงเป็นอย่างอื่น)

9



แบบของสัญญาเช่าซื้อ






การเช่าซื้อกฎหมายก าหนดแบบของสัญญาเช่าซื้อเอาไว้ ดังนั้นแล้วสัญญาเช่าซื้อคู่สัญญา


จะตกลงกันด้วยวาจาไม่ได้ แต่จะต้องท าตามแบบโดยกฎหมายก าหนดแบบของสัญญาเช่าซื้อไว้



คือจะต้องท าเป็นหนังสือลงลายมือชื่อทั้งสองฝ่ายและเมื่อหนังสือนี้เป็นเรื่องแบบ หากไม่ท าตาม


แบบผลจะเป็นโมฆะ




ค าพิพากษาฎีกาที่ 8703/2543 ป.พ.พ. มาตรา 572 วรรค 2 ได้บัญญัติว่า “สัญญาเช่าซื้อ


นั้นถ้าไม่ท าเป็นหนังสือ ท่านว่าเป็นโมฆะ” ย่อมมีความหมายว่าคู่สัญญาต้องลงลายมือชื่อใน


สัญญาเช่าซื้อทั้งสองฝ่าย ถ้าฝ่ายใดมิได้ลงลายมือชื่อในหนังสือสัญญา จะถือว่าฝ่ายนั้นท า



หนังสือสัญญาด้วยมิได้

10



การผิดนัดไม่ใช้เงินตามสัญญาเช่าซื้อ




กฎหมายได้วางหลักเกี่ยวกับการผิดนัดสัญญาเช่าซื้อไว้ว่า “ในกรณีผิดนัดไม่ใช้เงิน 2 คราว


ติดกันหรือกระท าผิดสัญญาในข้อที่เป็นส่วนส าคัญ เจ้าของทรัพย์สินจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ ถ้า



เช่นนั้นบรรดาเงินที่ได้ใช้มาแล้วแต่ก่อนให้ริบเป็นของเจ้าของทรัพย์สิน และเจ้าของทรัพย์สินชอบที่


จะกลับครอบครองทรัพย์นั้นได้ด้วย




อนึ่งกรณีผิดสัญญาเพราะผิดนัดไม่ใช้เงินซึ่งเป็นคราวที่สุดนั้น ท่านว่าเจ้าของทรัพย์ชอบที่จะ


ริบบรรดาเงินที่ได้เช่ามาก่อนแล้วจะกลับเข้าครอบครองทรัพย์สินนั้นได้ต่อเมื่อระยะเวลาใช้เงินได้



พ้นก าหนดไปอีกงวดหนึ่ง”



ถ้าเป็นการผิดนัดในงวดสุดท้าย เจ้าของทรัพย์ต้องให้เวลาช าระหนี้แก่ผู้เช่าซื้อไปอีกงวดหนึ่งจึง


สามารถเลิกสัญญา และริบเงินที่ผู้เช่าซื้อได้จ่ายมา และกลับเข้าครอบครองทรัพย์

11




สรุป







สัญญาเช่าซื้อเป็นสัญญาที่ผู้ให้เช่าน าทรัพย์สินออกให้ผู้เช่าได้ใช้ และผู้เช่าก็ช าระค่าเช่า


แก่ผู้ให้เช่า สัญญาเช่าจึงอาศัยความไว้เนื้อเชื่อใจของตัวผู้เช่าเป็นการเฉพาะ ดังนั้นเมื่อผู้ตาย


สัญญาเช่าระงับ ผู้เช่าจะน าทรัพย์ออกให้ผู้อื่นเช่าช่วงไม่ได้ เป็นต้น ตลอดจนเพื่อให้เกิดความ


เป็นระเบียบเดียวกัน กฎหมายจึงก าหนดหลักเกณฑ์เรื่องการเช่าไว้เป็นพิเศษ เช่น การเช่า



อสังหาริมทรัพย์ การเช่าซื้อ เป็นต้น

อ้างอิง






1. https://www.ddproperty.com



2. หนังสือ กฎหมายธุรกิจ

สมาชิกกลุ่ม




ปวส.1/3



































น.ส.วนาลี วันยาเล เลขที่ 21



น.ส.ณิชมน บุญชู เลขที่ 11




น.ส.รัตภาภรณ์ ศรีจันแดง เลขที่ 39


Click to View FlipBook Version