The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rattaphapon, 2019-01-15 12:52:45

โอกาสและความก้าวหน้า

โอกาสและความก้าวหน้า







ของพนักงานขาย







ค าน า


รายงานเล่มนี้จัดท าขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชาหลักการขาย ชั้น ปวส เพื่อให้ได้

ศึกษาหาความรู้ในเรื่องโอกาสและความก้าวหน้าของพนักงานขายและได้ศึกษา

อย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน

ผู้จัดท าหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน

นักศึกษา ที่ก าลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะน าหรือข้อผิดพลาดประการใด

ผู้จัดท าขอน้อมรับไว้และขออภัยมาณ ที่นี้ด้วย






สารบัญ



เรื่อง หน้า



ความส าคัญของอาชีพการขาย 1


องค์ประกอบที่สร้างความส าเร็จให้กับอาชีพการขาย 3


คุณสมบัติของพนักงานขายในฐานะผู้บริหารงานขาย 4


คุณสมบัติของพนักงานขายที่ประสบความส าเร็จในอาชีพการขาย 6


ต าแหน่งของผู้ประกอบอาชีพการขาย 8


โอกาสก้าวหน้าของผู้ประกอบอาชีพการขาย 10


เทคนิคการสร้างความส าเร็จในอาชีพการขาย 11


สรุป 12

1




ความส าคัญของอาชีพการขาย


อาชีพการขาย เป็นอาชีพที่มีบทบาทส าคัญเป็นอย่างยิ่งส าหรับธุรกิจทุกประเภท
ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ ขนาดกลางหรือขนาดเล็ก และไม่ว่ากิจการเหล่านั้นจะเป็น

กิจการประเภทใดก็ตามรายได้หรือผลก าไรที่จะท าให้ธุรกิจนั้นๆ อยู่ได้ก็จะมาจากการขาย
อาจจะเป็นการขายสินค้าที่เราสามารถจับต้องได้(Visible Goods)เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้ า

อาหาร เครื่องดื่ม สินค้าที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน เช่น สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก ฯลฯ หรือเป็น
สินค้าที่เราจับต้องไม่ได้ (Invisible Goods)เช่น โรงพยาบาล เป็นการขายบริการทาง

การแพทย์ ส านักงานบัญชีและทนายความขายบริการจัดท าบัญชีและว่าความ ฯลฯ


1. การขายเป็นงานที่สามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์ เนื่องจากสินค้าไม่
สามารถที่จะผลิตได้ในแหล่งที่ผู้บริโภคอาศัยอยู่ในทุกประเภทจึงต้องอาศัยผู้จ าหน่ายเป็น

ตัวกลางน าสินค้าจากผู้ผลิตไปยังมือของผู้บริโภค และต้องอาศัยพนักงานขายช่วย
กระจายสินค้าและบริการไปยังผู้บริโภค





















ทีมงานขายและสินค้า

2




2. การขายช่วยให้ธุรกิจต่างๆเกิดขึ้น และด าเนินไปได้อย่างเจริญรุ่งเรืองพนักงานขาย
ถือว่าเป็นผู้มีหน้าที่ส าคัญในองค์กรธุรกิจ ที่ท าให้เศรษฐกิจการผลิตอุตสาหกรรมเกิดขึ้น

และด าเนินไปได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ดังนั้น พนักงานขายจึงเป็นผู้เชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิต
กับผู้บริโภคให้มีการติดต่อกันได้





















การขายท าให้ธุรกิจรุ่งเรือง

3. การขายมีความส าคัญต่อสังคมการขายมีส่วนให้สังคมมีสินค้าและบริการ

ตอบสนองให้กับคนทั่วไปในตลาดเพื่อได้รับความสะดวกสบาย เนื่องจากนักขายเป็น
ผู้สร้างความต้องการแก่ประชาชนที่ต้องขวนขวายในการหาสินค้าต่างๆมาใช้ในการ

อุปโภคและบริโภค





















การขายท าให้สังคมได้รับการตอบสนอง

3




องค์ประกอบที่สร้างความส าเร็จให้กับอาชีพการขาย


แม้ว่าจะมีบุคคลที่มีคุณสมบัติของพนักงานขายตามที่ได้กล่าวไปแล้วครบถ้วน
แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าบุคคลเหล่านั้นจะบรรลุผลส าเร็จในการเป็นพนักงานที่ดีได้กันทุก

คน ทั้งนี้เพราะการจะประกอบอาชีพการขายยังต้องอาศัยองค์ประกอบอีกหลายประการ
คือ


1. ความรักในอาชีพ ความรักในอาชีพการขาย จะท าให้พนักงานขายสามารถท างานได้

อย่างมีความสุข ท าได้เต็มความสามารถและเต็มก าลัง

2. ความตั้งใจในการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ความตั้งใจพัฒนาตนเอง ได้แก่ การศึกษาหา

ความรู้ การฝึกฝนให้เกิดความช านาญในอาชีพ เช่น การฝึกอบรม การเรียนรู้จาก
ประสบการณ์


3. ความตั้งใจที่จะเอาชนะ หมายถึง การใช้ความพยายามเพื่อขายสินค้าให้ได้ด้วยการ
สร้างความพอใจให้กับลูกค้า เอาใจใส่กับอาชีพการขาย มีความตื่นตัวอยู่เสมอ และหา

วิธีการต่างๆจนสามารถเอาชนะอุปสรรคได้ ลูกค้าพอใจในสินค้าที่เสนอขายให้และ

ตัดสินใจซื้อในที่สุด

4. มีความพยายามและความอดทน ความพยายามและความอดทนของผู้ประกอบอาชีพ

การขายนั้นจะต้องมีอยู่ตลอดไป ปัจจัยต่างๆ ที่อยู่รอบๆ ตัวของพนักงานขายจะเป็น
แรงผลักดันให้มีความพยายามและอดทนในสิ่งต่อไปนี้


5. มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ จรรยาบรรณในวิชาชีพเป็นสิ่งที่คอยควบคุมมิให้บุคคลคิด
หรือท าในสิ่งที่เป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น ให้กระท าแต่สิ่งที่สุจริตชนพึงกระท า


6. การเลือกองค์กรที่จะท างาน องค์กรหรือบริษัทที่มีความพร้อมและความมั่นคงทั้งด้าน
ชื่อเสียงและฐานะการเงิน จะช่วยให้พนักงานขายได้มีโอกาสเรียนรู้และฝึกอบรมด้าน

วิชาชีพอย่างเพียงพอ สามารถน าไปใช้ได้อย่างดี ท าให้มีรายได้และสวัสดิการเป็น

ผลตอบแทนที่คุ้มค่า องค์กรและบริษัทที่มีชื่อเสียงจึงเป็นที่ต้องการของพนักงานขายผู้
หวังความก้าวหน้าในวิชาชีพทุกคน

4
































นักขายที่ประสบความส าเร็จ





คุณสมบัติของพนักงานขายในฐานะผู้บริหารงานขาย


การบริหารงานเป็นงานที่ส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะท าให้กิจการประสบ
ผลส าเร็จผู้บริหารงานขายควรมีคุณสมบัติดังนี้


1. มีบุคลิกภาพดี สุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ การแต่งกายสะอาด รสนิยมในการแต่ง
กายดีเหมาะสมกับงานอาชีพ


2. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี และเป็นบุคคลที่ชอบติดต่อกับบุคคลทั่วไป

3. มีความเชี่ยวชาญในการขาย พนักงานขายที่ดีมีความเชี่ยวชาญในการขายแต่ละ

ประเภทจะมีความสามารถในการ


สร้างความสัมพันธ์ระหว่างงานกับลูกค้าสามารถก าหนดเขตการขายกรเยี่ยมเยือนลูกค้า
สามารถให้ค าปรึกษาแก่พนักงานเกี่ยวกับวิธีการขายตามกระบวนการขายได้


4. มีความรู้เกี่ยวกับสินค้าและบริการ ประเภทของสินค้าและบริการเป็นตัวก าหนด
พื้นฐาน ความรู้ความสามารถในการขาย เช่น สินค้าที่ออกใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีทันสมัย

ผู้บริหารงานขายจะต้องมีพื้นฐานการศึกษาที่ดีพอ

5. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับสินค้าทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ มี

ความเชื่อมั่นในตัวสินค้าและบริการที่ตนเองเสนอขาย

5




6. มีความขยันหมั่นเพียรและความอดทนในการท างาน มีความทะเยอทะยานใน
ความก้าวหน้าของงานเพื่อจะส่งผลต่อรายได้ พนักงานขายต้องอดทนเพราะงานต้อง

เหนื่อยทั้งกายทั้งใจและความคิด จึงจะน ามาซึ่งความส าเร็จของพนักงาน

7. มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อกิจการ รักษาผลประโยชน์ให้แก่กิจการเพื่อความ

เจริญรุ่งเรืองของกิจการ

8. ผู้บริหารงานขายสามารถวิเคราะห์งาน(Job Analysis) และก าหนดรายละเอียดของ

งาน(Job Specification)

9. มีความรู้สึกที่ดีต่องานขาย(Sales Sense) รวมทั้งมีความรู้สึกที่ดีต่อกิจการ ลูกค้า
และคู่แข่งขัน

6




คุณสมบัติของพนักงานขายที่ประสบความส าเร็จในอาชีพการขาย


ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างคุณสมบัติของพนักงานขายที่ประสบความส าเร็จในอาชีพ
ขายของบริษัทค้าอุปกรณ์ก่อสร้าง ต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้


1. คุณสมบัติของพนักงานขายภาคสนาม

2. ความรู้เรื่องงานการขาย


3. ความรู้ในการปฎิบัติงานขาย

4. คุณสมบัติที่ช่วยเสริมสร้างในงานอาชีพขาย


รายได้และผลประโยชน์เกื้อกูลของผู้ประกอบอาชีพการขาย


รายได้(Income)ของผู้ประกอบอาชีพการขาย หมายถึง ค่าตอบแทนที่ได้รับจากการ
ประกอบอาชีพเป็นพนักงานขาย ซึ่งอาจเป็นตัวเงินหรือไม่ใช่ตัวเงินก็ได้


ผลประโยชน์เกื้อกูล(Fringe Benefits) หมายถึง ค่าตอบแทนในรูปสวัสดิการต่างๆ เช่น ที่
พักอาศัย การรักษาพยาบาล การประกันชีวิต และอื่นๆ


วิธีการให้ค่าตอบแทนผลงานของพนักงานขาย ต้องพิจารณาจากองค์ประกอบ ดังนี้


1. สินค้าหรือบริการนั้นหายากหรือง่าย ใหญ่หรือเล็ก ยุ่งยากซับซ้อน

2. การปฏิบัติงาน ยากล าบากหรือสะดวกสบาย ต้องเดินทางไกล


3. ความรู้ความสามารถของพนักงานขายแต่ละคน

4. ประสบการณ์ในการท างานด้านการขายของแต่ละบุคคล


5. ลักษณะของกิจการค้า เช่น ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่

วัตถุประสงค์ของการจ่ายค่าตอบแทนแก่พนักงานขาย


1. เพื่อสร้างความพอใจ ขวัญก าลังใจในการท างาน

2. เพื่อจูงใจให้พนักงานขายได้ใช้ความสามารถในการท างานได้อย่างเต็มที่และดีขึ้น


3. เพื่อสร้างความยุติธรรม ความแน่นอน และความมีเหตุผลในการจ่ายค่าตอบแทน


4. เพื่อควบคุมต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการด าเนินกิจการ

ลักษณะค่าตอบแทนของพนักงานขาย มีดังนี้


1. เงินประจ าเดือน

7





2. ผลตอบแทนเป็นค่านายหน้า

3. เงินเดือน ค่านายหน้าบวกโบนัส


4. แบ่งผลก าไร

5. เบิกค่าใช้จ่าย


6. ให้ผลประโยชน์เกื้อกูล

7. ส่วนลดส าหรับพนักงานขาย

8




ต าแหน่งของผู้ประกอบอาชีพการขาย


ผู้ที่เป็นพนักงานขายสามารถพัฒนาตนเองเพื่อให้ได้ด ารงต าแหน่งที่ส าคัญๆ
ในธุรกิจได้หากแต่ต้องเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบสูงทั้งต่อตนเองและส่วนรวมเป็นอย่างดี

ซึ่งส่งผลต่ออาชีพทางการขายท าให้พนักงานขายมีโอกาสก้าวหน้าในต าแหน่งต่างๆ ได้
โดยแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ


1. ระดับบริหาร (Executive Level) มีต าแหน่งต่างๆ ดังต่อไปนี้

1.1 ผู้จัดการฝ่ายขายหรือผู้จัดการขาย (Sales Manager)โดยทั่วไปกิจการจะระบุต าแหน่ง

ทางการขายไว้ว่าอยู่ในระดับใด ต้องมีความรับผิดชอบอะไรบ้าง เช่น ผู้อ านวยการขาย

ผู้จัดการขายทั่วไป ความรับผิดชอบคือ พยายามบริหารงานเพื่อให้ได้ยอดขายมากที่สุด

1.2 ผู้จัดการขายภาค(Regional or District Sales Manager) ผู้จัดการขายภาครับผิดชอบ

ในการขาย และรักษาสัมพันธ์ทางการค้าที่ดีภายในอาณาเขตตลาดที่ได้รับมอบหมาย
ภารกิจส่วนใหญ่คล้ายกับผู้จัดการทั่วไป


1.3 ผู้จัดการแผนกขาย (Divisional Sales Manager)กิจการขนาดปานกลางและขนาดใหญ่
ส่วนมากแบ่งเบาภาระการควบคุมดูแลให้แก่ผู้อื่น พนักงานขายจ านวนมากต้องรายงาน

ติดต่อโดยตรงกับผู้บริหารงาน


1.4 หัวหน้าหน่วยงาน(Sales Supervisors) ต าแหน่ง”ซุป” หรือหัวหน้าฝ่ายขาย นับว่าเป็น
ต าแหน่งบริหารชั้นล่างสุด คือ เป็นนายระดับแรกของพนักงานขาย ซึ่งงานส่วนเป็นจะ

เกี่ยวข้องกับความสามารถในการควบคุมดูแลบุคลากรและการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี

2. ระดับปฎิบัติงาน (Practitioner Level)มีต าแหน่งต่างๆ ดังต่อไปนี้


2.1 พนักงานฝึกหัดขาย(Trainee)เป็นบุคคลที่ทางบริษัทหรือองค์กรรับเข้ามาในฐานะ

พนักงานฝึกหัดขาย โดยจะให้เวลาในการฝึกหัดงานที่เกี่ยวกับการขาย หรือบางแห่งจะให้
พนักงานเหล่านี้รับการอบรมระยะสั้นๆ


2.2 พนักงานขาย(Salesman)เมื่อผ่านขั้นพนักงานฝึกหัดขายแล้ว ทางบริษัทหรือองค์กร
จะพิจารณาให้ไปท าหน้าที่พนักงานขายในแผนกต่างๆ ตามความเหมาะสม จึงเป็นโอกาส

ของพนักงานขายเองว่าจะพยายามใช้ความรู้

2.3ผู้จัดการแผนก เมื่อพนักงานมีผลงานดดีเด่น สามารถท ายอดขายได้ตามเป้ าหมายก็

อาจจะได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นผู้จัดการแผนก ซึ่งคอยควบคุมงานทุกอย่างในแผนกของ
ตน

9




2.4 ผู้ช่วยผู้จัดซื้อ หากความดีความชอบนั้นเป็นผลปรากฏให้เป็นที่ประจักษ์อยู่สม ่าเสมอ
ความก้าวหน้าย่อมดีตลอดเวลา จากต าแหน่งผู้จัดการแผนกก็จะได้เป็นผู้ช่วยผู้จัดซื้อโดย

รับผิดชอบเกี่ยวกับดูแลสินค้าในคลังสินค้า

2.5 ผู้จัดผู้ซื้อ เป็นล าดับความก้าวหน้าที่สูงขึ้น โดยจะท าหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อสินค้า

ทุกชนิด ทุกประเภทของบริษัท หรือองค์กรเพื่อน ามาจ าหน่าย และต้องรับผิดชอบในการ
วางแผนเกี่ยวกับการคัดเลือก ก าหนดราคาขาย จัดส่งสินค้าไปยังที่ต่างๆ


2.6ผู้จัดการฝ่ายสินค้า เป็นผู้รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับสินค้าทั้งหมด โดยจะต้องคอย

ควบคุมการปฎิบัติงานด้านสินค้าให้ด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการจัดซื้อ
หรือขายซึ่งสินค้านั้นอาจจะมีการแบ่งชนิด ประเภท ออกเป็นแผนกหรือฝ่ายขึ้นอยู่กับ

ขนาดของกิจการผู้จัดการฝ่ายสินค้าก็จะต้องดูแลการท างานของแผนกต่างๆ

2.7 ผู้จัดการร้าน เป็นต าแหน่งสูงสุดของธุรกิจการขายปลีก ซึ่งต้องมีหน้าที่รับผิดชอบ

การด าเนินงานขององค์กรทั้งหมด

10




โอกาสก้าวหน้าของผู้ประกอบอาชีพการขาย


ในบรรดาอาชีพทั้งหลาย อาชีพการขาย ไม่ว่างานขายอุตสาหกรรม การขายส่งหรือ
งานขายปลีกจะเป็นผู้มีโอกาสก้าวหน้าสูงกว่าอาชีพอื่นๆ บางคนอาจจะมีความก้าวหน้า

สูงสุดโดยใช้เวลาอันสั้นการที่จะประสบความส าเร็จในอาชีพขายขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ3
ประการ คือ ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในการท างาน


โอกาสก้าวหน้าส าหรับผู้ประกอบอาชีพการขายมีอยู่หลายประการ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้

1. มีอัตรารายได้สูง ในหน่วยงานด้วยกัน ผู้ท างานด้านการขายจะมีรายได้สูงกว่าผู้

ท างานด้านอื่น เช่น ด้านการผลิต ด้านบัญชี หรือด้านบุคคล หรือแม้เปรียบเทียบอาชีพ

ขายกับอาชีพอื่นๆในระดับเดียวกัน

2. มีโอกาสเลื่อนต าแหน่งสูงขึ้นเร็วกว่า ในบรรดาอาชีพทั้งหลาย กการเลื่อนต าแหน่งอาจ

มีการพิจารณาเงื่อนไขหลายประการ เช่น วุฒิการศึกษา ความรู้ ความสามารถ และ
ประสบการณ์ นอกจากนี้ การเลื่อนต าแหน่งจะต้องเป็นไปตามล าดับขั้น


3. มีอิสระในการท างาน ผู้ที่ท างานส านักงานจะต้องไปกลับตามเวลา คร ่าเคร่งท างาน
ตลอดวัน และต้องปฎิบัติงานตามระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด แต่นักขาย (ยกเว้นงานขาย

ประจ าห้างหรือนักขายประจ าตู้สินค้า)จะออกไปท างานนอกสถานที่


4. งานท้าทายและน่าตื่นเต้น งานส านักงานมักเป็นงานประจ า จะท างานจ าเจซ ้าซากน่า
เบื่อหน่าย ส่วนงานขายจะพบปะลูกค้ามากหน้า ต่างเวลา ต่างสถานที่ การค้าขายมีปัญหา

ที่จะต้องแก้ไขอยู่ตลอกเวลาท าให้ตื่นเต้นเร้าใจ

5. มีโอกาสในการเข้าสังคมและการท่องเที่ยว อาชีพขายท าให้พบปะลูกค้ามากหน้าหลาย

ตา ทุกระดับและทุกอาชีพ ท าให้นักขายมีสังคมกว้าง บุคคลที่พบปะอาจจะกลายเป็นเพื่อน
ผู้เคารพนับถือ หรือผู้ที่ช่วยเหลือเราในโอกาสต่อไป


6. สังคมยอมรับ ในสมัยก่อน อาชีพค้าขายเป็นอาชีพไม่มีเกียรติ ถึงกับมีค าพูด

เปรียบเทียบไว้ว่า”สิบพ่อค้าไมเท่าหนึ่งพระยาเลี้ยง” แต่ในสมัยปัจจุบันทัศนคตินี้เปลี่ยนไป
อาชีพขายมีบทบาทมากขึ้นทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ


7. เปลี่ยนงานได้ง่าย ในปัจจุบันประเทศไทยก าลังก้าวไปสู่ประเทศอุตสาหกรรมใหม่
หรือ NICS. (Newly Industrialized Countries)เมื่อมีการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมก็จะต้องมี

ผู้น าผลิตถัณฑ์ ไปจ าหน่ายซึ่งได้แก่นักขายนั่นเอง

11




เทคนิคการสร้างความส าเร็จในอาชีพการขาย


เทคนิคที่พนักงานขายจ าเป็นต้องใช้ในอาชีพการขาย มีดังนี้

1. ต้องมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์


2. มีการตัดสินใจที่ดี

3. มีการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเรื่งต่างๆ


4. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของตนเองในทุกเรื่อง


5. ท าความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิควิธีการด าเนินการขาย

6. ควรจัดเตรียมอุปกรณ์ในการขายใหห้พร้อมอยู่เสมอ


7. ต้องมีการแสวงหาลูกค้าใหม่ๆอย่างสม ่าเสมอ

8. ต้องปฏิบัติตนเองให้เป็นผู้ที่น่าเชื่อถือศรัทธา


9. มีความซื่อสัตย์ ศรัทธาในอาชีพ

10. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับทุกคน


11. องศึกษาข้อมูลข่าวสารที่เกกี่ยวกับงานและข้อมูลอื่นๆ

12




สรุป


อาชีพการขายเป็นอาชีพที่มีบทบาทส าหรับทุกประเภท อาชีพการขายสร้างปประโยชน์ทั้ง
แก่ผู้ขายและผู้ซื้อ กล่าวคือท าให้ผู้ขายมีรายได้จากการด าเนินกิจการ และท าให้ผู้ซื้อมี

สินค้าส าหรับสนองความต้องการของตนเอง ซึ่งอาชีพขายถือเป็นอาชีพที่ส าคัญอาชีพ
หนึ่ง ผู้ประกอบอาชีพการขายจะต้องเป็นผู้ที่มีใจรัก มีความตั้งใจ และที่ส าคัญจะต้อง

ปรับปรุงบุคลิกภาพของตนเองให้เหหมาะสม ให้เป็นที่ต้องการของนายจ้าง และลูกค้า


การประกอบอาชีพการขายจะได้รับทั้งรายได้ในรูปของเงินเดือน ค่านายหน้า โบนัส และ
ผลประโยชน์เกื้อกูล หมายถึงค่าตอบแทนในรูปสวัสดิการต่างๆ อีกด้วย ขึ้นอยู่กับแต่ละ

กิจการ นอกจากนี้การเป็นพนักงานขายยังมีโอกาสก้าวหน้าขึ้นสู่ต าแหน่งต่างๆ จนถึง
ผู้บริหารระดับสูง

เอกสารอ้างอิง


1.https://sites.google.com/site/karkhaybeuxngt/hnwy


2.หนังสือหลักการขาย

สมาชิก









นางสาว ณิชมน บุญชู


เลขที่ 11


















นางสาว มาริษา แก้วรุ่งเรือง


เลขที่18


















นางสาว รัตภาภรณ์ ศรีจันแดง


เลขที่ 39







ชั้น ปวส.1/3


Click to View FlipBook Version