The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือแผนเผชิญโควิดบางกะปิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by barbeer2112, 2021-11-25 03:52:49

คู่มือแผนเผชิญโควิดบางกะปิ

คู่มือแผนเผชิญโควิดบางกะปิ

คำนำ

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 (Coronavirus
Disease 2019 (COVID-19) มกี ารระบาดในวงกว้าง องค์การอนามัยโลกได้ประกาศใหโ้ รคโควิด 19 เปน็ ภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern) โดย
แนะนาํ ใหท้ ุกประเทศเร่งรัดการเฝ้าระวังและป้องกันความเส่ียงจากโรคโควิด-19 สำหรบั ประเทศไทยพบผู้ป่วย
และผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีโอกาสขยายวงกวา้ งขึน้ เรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวโน้มท่ีจะเกิด
การแพร่ระบาดในสถานศึกษา จากเหตกุ ารณด์ ังกลา่ วประเทศไทยทกี่ ําลังเผชญิ กบั การระบาดระลอกใหม่ตั้งแต่
เดอื นเมษายน 2564 เป็นตน้ มา ซ่งึ เกดิ การระบาดอย่างรวดเร็วทกุ จังหวดั ท่วั ประเทศ โรงเรยี นบางกะปิ มีความ
ห่วงใยความปลอดภัยทางสุขภาพและระวังป้องกันนักเรียน ครูและบุคลากรทุกคน จึงได้กำหนด “คู่มือการ
จัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ในสถานศึกษา” เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธภิ าพ ลดความเสี่ยง
และป้องกันบุคลากรครู นักเรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ปัจจัยที่ส่งกระทบต่อสุขภาพนักเรียน ครูและบุคลากรทุกคน
มาตรการของโรงเรยี นทก่ี ำหนดขน้ึ น้ี ศกึ ษาจาก “คมู่ อื การปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษาในการป้องกนั การแพรร่ ะบาด
ของโรคโควิด-19” และ “คมู่ ือการเฝ้าระวังตดิ ตามและแผนเผชญิ เหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรค โควิด-19
ในสถานศึกษา” ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และดำเนินการตามมาตรการดังกล่าวอย่างเข้มงวด
นอกจากนี้โรงเรียนยังได้เพิ่มแผนปฏิบัติการเฉพาะกิจช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) พ.ศ. 2564

เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ให้มี
ประสิทธิภาพต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมากที่สุด หากจะจัดการเรียนการสอน On Site ต้องผ่านเกณฑ์การ
ประเมินความพร้อมของระบบ Thai Stop Covid+ (TSC+) ซึ่งโรงเรียนบางกะปิ ได้ผ่านเกณฑ์ประเมินความ
พร้อมดังกล่าว ระดับ สีเขียว สามารถเปิดการเรียนการสอน On Site ควบคู่การสอนแบบ Online ได้
หากได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด กรรมการบริหารภายในของสถานศึกษา มุ่งหวัง
ให้การปฏิบตั ิตาม “คู่มอื การจดั การเรยี นการสอนและมาตรการการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานศึกษา” ของสถานศึกษาจะทำให้สถานศึกษาเป็นสถานที่ปลอดภัยของ
นักเรียน ครแู ละบุคลากรทุกคนไมม่ ีการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 เกิดขน้ึ ภายในสถานศึกษา

งานอนามัยโรงเรียน กลุ่มบริหารทั่วไป
โรงเรียนบางกะปิ

สารบัญ หนา้
1
แผนเผชญิ เหตุและมาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 2
แนวทางการเฝา้ ระวังโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา 2
2
แนวทางการเฝ้าระวงั ผู้มอี าการเขา้ ได้กบั โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา 3
แนวปฏบิ ัติคัดกรองนักเรยี น เพ่ือควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 5
แนวปฏบิ ัติคดั กรองครู บคุ ลากร และบุคคลผู้เขา้ สถานศกึ ษา 5
แนวปฏบิ ัติสำหรับสถานศึกษารองรับสถานศึกษาประเภทการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 9
คำแนะนำสำหรบั ผูเ้ กย่ี วข้องเพือ่ สรา้ งฐานวถิ ชี ีวติ ใหม่ (New normal) ในสถานศึกษา 10
การจัดการสถานท่เี พือ่ ฐานวิถีชวี ติ ใหม่ (New normal) ในสถานศกึ ษา 10
แนวปฏิบตั เิ มื่อพบผูป้ ่วยยนื ยันโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา 11
แนวปฏบิ ัติเม่อื พบผปู้ ว่ ยยืนยนั โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ในสถานศึกษา
แนวปฏบิ ตั ิเม่ือพบนักเรยี น ครู หรอื บุคลากร ป่วยด้วยโรคระบบทางเดนิ หายใจเปน็ กลุม่ ก้อน 12
(Cluster) ในสถานศึกษา
แนวปฏิบัตเิ มื่อพบผมู้ ีอาการโรคระบบทางเดนิ หายใจและโรคอนื่ ๆ เกิดขน้ึ ระหว่างวันใน 12
สถานศึกษา 16
บทบาทของสถานศกึ ษาในการจัดการเรียนการสอน 17
การเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอนในวันเปิดภาคเรียน 21
ก่อนเปิดภาคเรยี น 24
ระหว่างเปิดภาคเรียน 25
มาตรการกอ่ นเขา้ เรยี นและหลังเลิกเรยี น 26
มาตรการเปิดภาคเรียน/ระหว่างปิดภาคเรียน ก่อนเขา้ เรยี นและหลงั เลกิ เรียน 26
รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนของโรงเรยี น 26
บทบาทและหนา้ ท่ี 28
บทบาทของครดู แู ลนักเรยี น 29
แนวปฏิบัติสำหรบั ครผู ้ดู แู ลนักเรียน 29
บทบาทของนักเรยี น 30
แนวปฏิบตั ิสำหรับนกั เรียน 31
บทบาทหน้าที่ของนกั เรยี นแกนนำด้านสขุ ภาพ 31
มาตรการและแนวทางในการดแู ลนกั เรียนของผู้ปกครอง
บทบาทของผู้ปกครอง

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า

มาตรการและแนวทางในการดูแลดา้ นอนามัยและส่ิงแวดล้อมของโรงเรยี น 32
แนวปฏิบัติด้านอนามยั ส่ิงแวดล้อม 33
มาตราการอ่นื ๆ 38
38
การจัดการดา้ นสุขภาพจิต ในสถานการณ์โควดิ -19 40
การปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรค COVID 19 ในสถานศึกษา 40
กิจกรรมเมื่อมีการระบาด

1

แผนเผชญิ เหตแุ ละมาตรการป้องกนั
การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) ในสถานศึกษา

ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นบางกะปิ สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 2

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหม่เดือนเมษายน 2564 ที่ผ่านมา
ได้เกิดขึ้นในหลายพื้นที่และแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ ผู้ป่วยสะสมและ
ผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้น ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดมาแล้วระยะหนึ่ง จากการ
ประเมินสถานการณ์คาดว่าแม้การระบาดยังคงมีอยู่อีกระยะหนึ่ง แต่จากการที่รัฐบาลได้ดำเนินมาตรการตรวจ
คัดกรองเชิงรุกกลับมีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น ประกอบกับการเร่งรัดดำเนินการฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชน ซึ่งหากได้รับ
ความร่วมมือเป็นอย่างดีจากทุกภาคส่วนจะช่วยให้สถานการณ์ มีแนวโน้มที่ดีขึ้นเป็นลำดับ จึงสมควร
ผ่อนคลายมาตรการควบคมุ บางกรณี เพ่ือมิใหส้ ่งผลกระทบต่อการดำรงชีวติ และการประกอบอาชพี ของประชาชน
เกินสมควร โดยกำหนดมาตรการควบคุมทจ่ี ำเป็นตามระดบั ของพ้ืนทสี่ ถานการณ์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์แพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

ในปัจจุบันเพื่อให้การดำเนินชีวิตของประชาชนและการขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
สามารถดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับมาตรการด้านสาธารณสุข จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19
กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการร่วมกันจัดแนวทางเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนของ
สถานศึกษา ในปีการศึกษา 2564 ถ้าหากกล่าวมาแล้ว ครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบางกะปิ
ได้เดินทางมาทำกิจกรรมในสถานศึกษา โดยเฉลี่ย 8 – 10 ชั่วโมงต่อวัน อาจมีความเสี่ยงติดเชื้อในกลุ่มเพื่อนและ
เมื่อนักเรียนกลับบ้านอาจแพร่เชื้อไปสู่คนในครอบครัวได้ ดังนั้นโรงเรียนบางกะปิ ได้ตระหนักถึงสุขภาพอนามัย
และความปลอดภยั ของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนจึงไดก้ ำหนดรปู แบบแนวทางและมาตรการป้องกันเตรียม
ความพร้อมของสถานศึกษา เพื่อให้พร้อมที่จะเปิดภาคเรียนและเป็นคู่มือในการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการ
ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยเน้นความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและเอื้ออํานวยให้เกิด
การปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่าง
ปลอดภัย ตามทส่ี ถานศกึ ษาดำเนนิ การประเมินตนเอง โดยการมสี ่วนรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน
ตามแบบประเมินสำหรับสถานศึกษา ในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการ
แพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 โดยโรงเรียนบางกะปิ อยใู่ นระดบั

“สีเขียว” หมายถงึ โรงเรยี นสามารถเปดิ เรียนได้

2

โรงเรียนบางกะปิ มีความตระหนักในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ห่วงใยสุขภาพ และ
สวัสดิภาพของนักเรียน ครู บุคลากรทุกคน จึงได้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวง
สาธารณสขุ ตามมาตรการและแนวปฏิบัติเตรียมความพร้อมสำหรับเปิดภาคเรียนประจำปีการศกึ ษา 2564 ไว้ดังนี้

ก. ผลการประเมนิ ความพร้อมของโรงเรยี นผ่านระบบ Thai Stop Covid+ (TSC+)
(https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school)

1. มาตรการกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น
2. มาตรการเปิดภาคเรียน/ระหว่างปดิ ภาคเรยี น ก่อนเขา้ เรียน และหลงั เลกิ เรยี น
3. มาตรการอื่น ๆ

แนวทางการเฝา้ ระวงั โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในสถานศกึ ษา
1. แนวทางการเฝ้าระวังผู้มีอาการเข้าได้กับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา การเฝ้า
ระวังผู้มอี าการเข้าได้กับโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในสถานศึกษาทุกแห่ง มีขั้นตอนการดำเนนิ งาน ดังต่อไปน้ี

1. สถานศกึ ษาแจ้งไปยังโรงพยาบาล หรอื สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ในพน้ื ที่
2. สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดจดั ทำแนวทางการสง่ ต่อและรายงานขอ้ มลู เม่อื พบผู้มอี าการตาม
นิยาม PUI หรือกลุม่ กอ้ นของผู้ปว่ ยทางเดินหายใจในสถานศึกษา

2.1 คัดกรองครูบุคลากรและนักเรียนทุกคนทุกวันก่อนเข้าสถานศึกษา หากพบผู้ที่มี
อาการตามนิยาม PUI ให้ประสานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดหรือโรงพยาบาลในพื้นที่ ทำการเก็บตัวอย่างโดย
การปา้ ยเชื้อที่รจู มูก (Nasopharyngeal Swab) เพอื่ สง่ ตรวจยืนยัน

2.2 หากพบผู้มีอาการทางเดินหายใจ (มีไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ) เป็นกลุ่มก้อนตั้งแต่
5 รายข้นึ ไป ใหป้ ระสานเจา้ หน้าที่สาธารณสุขจงั หวัดหรือโรงพยาบาลในพน้ื ท่ี ทำการเกบ็ ตวั อยา่ ง โดยการป้ายเชื้อ
ท่ีรูจมูก (Nasopharyngeal Swab) เพอื่ สง่ ตรวจยนื ยัน

2. แนวปฏิบตั ิคัดกรองนักเรยี นในสถานศกึ ษา เพ่อื ควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
การปฏบิ ัติงานคดั กรองนกั เรียน ควรปฏิบตั ดิ ังนี้

1. ผูท้ ำหน้าทีค่ ัดกรองต้องสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาท่ีทำการคดั กรอง กรณี
สวม Face Shield ตอ้ งสวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยรว่ มดว้ ย

2. ลา้ งมือด้วยสบแู่ ละน้ำสะอาด หรอื ล้างมือดว้ ยเจลแอลกอฮอล์ 70 % ทกุ ครงั้ ก่อน-หลงั ทำการ
คัดกรองและหลีกเลี่ยงการนำมอื มาสัมผสั ใบหนา้ ใหม้ ากทีส่ ดุ

3. ผทู้ ำหนา้ ทคี่ ัดกรองควรเว้นระยะหา่ งจากผู้ท่ีถกู คัดกรองประมาณ 1 เมตร
4. หากพบว่านักเรียน ไม่สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ให้แนะนำให้สวมก่อนเดินเข้า
โรงเรยี น หรอื ไมอ่ นุญาตให้เขา้ โรงเรยี น
5. กำชับให้นักเรียนที่เข้าออกสถานศึกษาทำการลงชื่อเข้า-ออก หรือใช้ QR code ไทยชนะ
6. วดั อณุ หภูมิรา่ งกายดว้ ยเครอ่ื งวัดอุณหภูมิ (Handheld Thermometer)

3

6.1 วัดอุณหภมู ิแลว้ ปกติ (อณุ หภูมิ< 37.5 °C) และไม่มอี าการของระบบทางเดนิ หายใจ
ติดสัญลักษณ์การผ่านการคัดกรองให้เข้าเรียนตามปกติแนะนำให้นักเรียนปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค เช่น
สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ รักษาระยะห่างระหว่างบุคคลเท่าที่ทำได้เป็นต้น

6.2 กรณีวัดอุณหภูมิแล้วมีไข้ (อุณหภูมิ≥ 37.5 °C) ให้นั่งพัก 5-10 นาที แล้ววัดซ้ำ
หากพบว่ายังมีไข้อยู่ โดยไม่มีอาการ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ แจ้งผู้ปกครองให้รับนักเรียนกลับบ้าน หากนักเรียนไม่มี
ผู้ปกครองมารับที่สถานศึกษาแยกนักเรียนที่ป่วยในห้องที่จัดเตรียมไว้และให้การดูแลเบื้องต้น จากนั้นแจ้ง
ผู้ปกครองมารับเด็กกลับบ้านให้คำแนะนำ หากอาการไม่ดีขึ้นให้พาไปพบแพทย์และให้หยุดเรียนจนกว่าจะหาย
เป็นปกติ

6.3 กรณีวดั อุณหภูมิซ้ำแลว้ พบว่า มีไขร้ ่วมกบั มีอาการของระบบทางเดนิ หายใจอย่างใด
อย่างหนึ่ง (ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น หายใจเร็ว หายใจเหนื่อย หรือหายใจลำบาก) ให้แยกนักเรียนที่ป่วยใน
ห้องที่จัดเตรียมไว้และให้การดูแลเบื้องต้น จากนั้นแจ้งผูป้ กครองให้พาไปพบแพทย์หรือครผู ู้ดูแลส่งต่อนักเรียนไป
ยังสถานพยาบาลทีต่ ดิ ต่อไวเ้ พ่ือรักษา

7. หากพบว่านักเรียนที่ป่วย มีประวัติเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น ในช่วง 14 วันก่อนมีอาการได้
สัมผัสผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด-19 หรือเดินทางไปในพื้นที่แออัด หรือมีกิจกรรมใกล้ชิดกับผู้อื่นที่อาจติดเชื้อ หรือมี
เพื่อนหรือคนใกล้ชิดมีอาการป่วยคล้ายกันให้แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ทราบภายใน 3 ชั่วโมง

8. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะดำเนินการสอบสวนโรคเพื่อประเมินความเสี่ยงอีกครั้ง โดยสอบถาม
ประวัติในช่วง 14 วันก่อนวันเริ่มป่วยตามเกณฑ์การสอบสวนโรค หากเห็นว่ามีประวัติเสี่ยงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
จะส่งผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลเพื่อทำการเก็บตัวอย่างตรวจหาเชื้อ โดยระหว่างรอผลผู้ป่วยอาจต้องอยู่
โ รงพยาบาล หรือให้ กั กตัว ที่ บ้า นขึ ้น กับส ถา นก าร ณ์ก าร ร ะบ าด ข อง พื้ นท ี่ใ นช ่ว งเว ล าท ี่ พบผ ู้ ป่ว ย ส ง สั ย

9. หากผู้ป่วยตรวจพบเชื้อ จะถือว่าเป็นผู้ป่วยยืนยันต้องเข้ารับการรักษาอยู่ห้องแยกของ
สถานพยาบาลจนกวา่ จะหายเป็นปกติ

10. ผู้ที่ทำการคัดกรองควรบันทึกข้อมูลของนักเรียนที่มีไข้หรืออาการของระบบทางเดินหายใจ
เชน่ ไอ น้ำมูก เจ็บคอ ไม่ได้กลนิ่ หายใจเรว็ หายใจเหน่ือย หรือหายใจลำบาก เพอื่ ใช้ในการตรวจสอบการป่วยเป็น
กลมุ่ กอ้ น

3. แนวปฏบิ ตั ิคดั กรองครู บคุ ลากร และบุคคลผเู้ ขา้ สถานศึกษา เพือ่ ควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การปฏิบัติงานคัดกรองครู บุคลากร รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องที่เข้ามาทำธุระในสถานศึกษา
ควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี

1. ผู้ทำหน้าทคี่ ัดกรองต้องสวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่ทำการคดั กรอง กรณี
สวม Face Shield ตอ้ งสวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั ร่วมดว้ ย

2. ลา้ งมอื ดว้ ยสบแู่ ละน้ำสะอาด หรอื ลา้ งมือดว้ ยเจลแอลกอฮอล์ 70 % ทกุ คร้งั ก่อน-หลงั ทำการ
คดั กรองและหลกี เล่ียงการนำมอื มาสัมผสั ใบหน้าให้มากทส่ี ดุ

3. ผูท้ ำหน้าทคี่ ดั กรองควรเวน้ ระยะห่างจากผทู้ ีถ่ ูกคัดกรองประมาณ 1 เมตร

4

4. หากพบว่าครูหรือบุคลากรไม่สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยให้แนะนำให้สวมก่อนเดิน
เข้าโรงเรียนหรอื ไมอ่ นญุ าตให้เข้าโรงเรยี น

5. กำชับให้ครูและบุคลากรที่เข้าออกสถานศึกษาทำการลงชื่อเข้า และลงชื่อออกหรือใช้ QR
code ไทยชนะ

6. การคดั กรองครูและบุคลากร จะเน้นการสงั เกตอาการของระบบทางเดนิ หายใจ รว่ มกบั การวัด
อุณหภูมิร่างกาย หากพบความผิดปกติของอาการของระบบทางเดินหายใจ หรือพบว่ามีไข้ จะให้แยกตัวไปตรวจ
เพิม่ เตมิ ในห้องพยาบาลหรือสถานทที่ ่เี ตรยี มไว้

7. วดั อุณหภูมิร่างกายดว้ ยเครอื่ งวดั อุณหภมู ิ (Handheld Thermometer)
7.1 วดั อณุ หภมู แิ ลว้ ปกติ (อณุ หภมู ิ< 37.5 °C) และไม่มีอาการของระบบทางเดิน
หายใจใหต้ ิดสญั ลกั ษณ์การผ่านการคัดกรอง
7.2 วัดอณุ หภมู ิแล้วปกติ (อุณหภูมิ< 37.5 °C) แตม่ อี าการของระบบทางเดิน
หายใจใหแ้ ยกตัว ไปตรวจเพ่ิมเตมิ ท่ีหอ้ งพยาบาลหรอื สถานที่ที่เตรยี มไว้
7.3 กรณีวัดอุณหภูมิแล้วมีไข้ (อุณหภูมิ≥ 37.5 °C) ให้นั่งพัก 5-10 นาที แล้ววัดซ้ำ
หากพบวา่ ยังมีไข้อยู่ให้หยดุ ปฏบิ ตั งิ าน ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อนื่ ใหน้ อ้ ยทีส่ ุด
และให้ไปพบแพทยโ์ ดยเร็วทสี่ ดุ
7.4 กรณีวัดอุณหภูมิซ้ำแล้วพบว่า มีไข้หรือมีอาการของระบบทางเดินหายใจ
อย่างใดอยา่ งหนง่ึ (ไอ มนี ้ำมกู เจบ็ คอ ไมไ่ ดก้ ล่นิ หายใจเรว็ หายใจเหนอ่ื ย
หรือหายใจลำบาก) ใหแ้ ยกผปู้ ว่ ยในห้องทจี่ ดั เตรยี มไวห้ รอื สง่ ตอ่ ไปยัง
สถานพยาบาล

8. หากพบผู้ท่ีมีอาการของระบบทางเดนิ หายใจหรือมีไข้ รว่ มกบั มีประวัตเิ สยี่ งต่อการติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 ให้แจ้งเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสขุ ทราบภายใน 3 ชว่ั โมง

9. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะดำเนินการสอบสวนโรคเพื่อประเมินความเสี่ยงอีกครั้ง โดยสอบถาม
ประวัติ ในช่วง 14 วันก่อนวันท่ีเริ่มป่วยตามเกณฑ์การสอบสวนโรค หากเห็นว่ามีประวัติเสี่ยง เจ้าหน้าท่ี
สาธารณสุข จะส่งผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลเพื่อทำการเก็บตัวอย่างตรวจหาเชื้อ โดยระหว่างรอผลผูป้ ่วยอาจตอ้ ง
อยู่ โรงพยาบาลหรือให้กักตัวที่บ้านขึ้นกับสถานการณ์การระบาดของพื้นที่ในช่วงเวลาท่ี พบผู้ป่วยสงสัย

10. หากผู้ป่วยตรวจพบเชื้อ จะถือว่าเป็นผู้ป่วยยืนยัน ต้องเข้ารับการรักษาอยู่ห้องแยกของ
สถานพยาบาลจนกวา่ จะหายเป็นปกติ

11. ผู้ที่ทำการคัดกรองควรบันทกึ ข้อมูลของผู้ที่มีไขห้ รืออาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอ
น้ำมูก เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น หายใจเร็ว หายใจเหนื่อย หรือหายใจลำบาก เพื่อใช้ในการตรวจสอบการป่วยเป็นกลุ่ม
กอ้ น

5

4. แนวปฏบิ ัตสิ ำหรับสถานศึกษารองรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 สถานศึกษาประเภทการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

กลมุ่ กิจกรรม สถานการณ์การแพรร่ ะบาด

นักเรียน สถานศึกษา - สถานศกึ ษาท่ตี ัง้ อยู่ในพ้ืนท่ีท่ไี ม่ - สถานศกึ ษาจัดการเรียนการ - สถานศึกษา

จัดการเรียนการ พบผู้ตดิ เชื้อไม่น้อยกว่า 90 วัน สอนแบบผสมผสาน โดยมีการ จดั การเรยี น

สอน ตามปกติ (พน้ื ทีส่ เี ขยี ว) สลับวนั เรยี นแต่ละช้ันเรียนหรอื การสอนแบบ

(ครบคน ครบห้อง - ไดร้ บั การพิจารณาอนุญาตจาก มกี ารแบ่งจำนวนนักเรยี นให้ Online หรอื

ครบชัน้ เรียน) ศูนย์ปฏิบตั ิการควบคุมโรคจังหวัด เหมาะสมกบั การเวน้ ระยะห่าง On air

ใหจ้ ัดการเรยี นการสอนได้ตามปกติ ระหวา่ งกนั (Social

- โรงเรยี นมีมาตรการให้นักเรียน distancing)

ครู บุคลากรทางการศึกษาและ - มีมาตรการใหน้ ักเรียน ครู

เจา้ หนา้ ท่ที กุ คนสวมหน้ากากผา้ บุคลากรทางการศึกษาและ

หรือหน้ากากอนามัย มอี ุปกรณ์ลา้ ง เจ้าหน้าท่ที ุกคนสวมหน้ากากผา้

มอื และลา้ งมือบอ่ ยๆ มกี ารทำ หรือหน้ากากอนามัยมีอุปกรณ์

ความสะอาดห้องเรียน ลา้ งมือและลา้ งมือบ่อยๆ

ห้องปฏิบัตกิ ารหรือโรงฝึกงาน และ - มีการทำความสะอาด

ทำความสะอาดอปุ กรณท์ ี่ใช้ในการ ห้องเรียน ห้องปฏิบตั ิการหรือ

เรยี นการสอนการฝกึ ปฏบิ ตั ิก่อน โรงฝกึ งานและทำความสะอาด

และหลังใช้งานทุกครงั้ ตาม อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการเรยี น การ

มาตรการของกระทรวง สอนการฝกึ ปฏบิ ัติก่อนและหลัง

สาธารณสุข ใช้งานทุกครั้ง

5. คำแนะนำสำหรับผเู้ กีย่ วข้องเพอ่ื สรา้ งฐานวถิ ชี ีวติ ใหม่ (New normal) ในสถานศกึ ษา
1. ผู้บริหารครู และสมาคมผ้ปู กครอง
1.1 จัดตั้งคณะกรรมการที่รับผิดชอบงานโรคติดต่อและโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ในสถานศกึ ษาร่วมกับภาคีเครือขา่ ยทเี่ ก่ียวข้อง เชน่ ครู เจา้ หน้าท่ี นักเรยี น และผู้ปกครอง เปน็ ตน้
1.2 จัดทำแผนงานหรือโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

รวมทั้งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา เช่น แผนการควบคุมจำนวนคนเข้าร่วมกิจกรรมไม่ให้แออัด
รวมทง้ั ตรวจตราดแู ลและกำกับการปฏิบตั ติ ามมาตรการป้องกันโรคอยา่ งเครง่ ครัด

1.3 จัดให้มีนโยบาย ผู้เข้าสถานศึกษาต้องสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า
ตลอดเวลาและต้องคัดกรองอาการปว่ ยก่อนเข้าสถานศกึ ษาทุกคน

6

1.4 จดั ให้มีนโยบายเพือ่ ลดความแออัดในสถานศึกษา เช่น การเหลื่อมเวลาเขา้ เรียนและ
เลิกเรียน การเหลื่อมเวลาพัก การแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อยไม่ควรเกิน 6 คน เพื่อทำกิจกรรมกลุ่ม และมีการเว้น
ระยะหา่ งระหว่างกล่มุ

1.5 จัดให้มี QR Code ไทยชนะ หรือระบบบันทึกการเข้า-ออกของนักเรียน ครูและ
บุคลากร

1.6 จัดให้มีห้องแยกหรือห้องพยาบาล สำหรับแยกผู้ป่วยที่มีอาการของระบบทางเดิน
หายใจออกจากผมู้ ีอาการปว่ ยอนื่ ๆ

1.7 จัดเตรียมอุปกรณ์ล้างมือ เน้นการล้างมือด้วยน้ำและสบู่เป็นหลัก เว้นแต่บางพื้นที่
อาจจัดให้มีเจลแอลกอฮอลใ์ หเ้ พยี งพอ

1.8 กำหนดให้มีเจ้าหน้าที่หรือครูอนามัย เพื่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน
พนื้ ท่ีและใหบ้ ริการในหอ้ งพยาบาล พรอ้ มท้งั จัดทำบันทึกข้อมลู การป่วยของนกั เรยี น

1.9 จัดให้มชี ่องทางในการติดต่อกบั ผู้ปกครองอยา่ งรวดเรว็ เชน่ โทรศพั ท์ Application
Line, Facebook เปน็ ตน้

1.10 เมื่อทราบว่าครู นักเรียนหรือบุคลากรป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ในสถานศึกษาใหด้ ำเนนิ การตามแนวทางปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาเมื่อพบผูป้ ว่ ยด้วยโรคโควิด-19

1.11 จัดทำสือ่ ประชาสัมพันธ์การป้องกันและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายโรคตดิ
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้แก่ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคลากร เช่น ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับโรค คำแนะนำในการ
ปฏิบัติตัว สอนวธิ ีการล้างมอื และการใส่หนา้ กากอนามัยทถี่ กู ต้อง เปน็ ต้น

1.12 จัดพืน้ ทแี่ ละทำเครื่องหมายแสดงการเวน้ ระยะห่างอยา่ งน้อย 1 เมตร บริเวณท่ีนั่ง
พกั จุดรอคอย การเข้าคิว เปน็ ต้น

1.13 จัดพื้นที่สำหรับทำการเรียนการสอนให้ห่างกันมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยโต๊ะ
เรียนจะต้องหันไปทางเดียวกนั (ไม่ชนกัน) และทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ใน
ห้องเรียน

1.14 จัดให้มีแผนการทำความสะอาดพื้นที่ส่วนรวมและพื้นผิวสัมผัสร่วมบ่อย ๆ เช่น
ห้องเรียน ห้องดนตรี ห้องคอมพิวเตอร์ห้องประชุม ห้องน้ำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้าก่อนเรียน พักเที่ยง หรือ
กรณีมีการยา้ ยหอ้ งเรยี น

1.15 จัดให้มีการบริหารจัดการรับ-ส่งนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันโรค
1.16 ตรวจสอบการถ่ายเทอากาศในห้องแอร์ เช่น เปิดประตูหน้าต่าง ช่วงพักเที่ยง
หรอื ชว่ งที่ไมม่ กี ารเรียนการสอน
1.17 ติดตามสถานการณ์การระบาดของโรคและปรับมาตรการตามสถานการณ์และ
ข้อมูลที่มีอยู่ในขณะนั้นเป็นระยะๆ กำกับโดยคณะกรรมการสถานศึกษา และหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่

7

2. ผทู้ ำหน้าท่ีคัดกรองบริเวณทางเขา้ สถานศกึ ษา
2.1 ผู้ทำหน้าที่คัดกรองต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่ทำการ

คดั กรอง กรณีสวม Face Shield ต้องสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยรว่ มดว้ ย
2.2 ล้างมือด้วยสบู่และน้ำสะอาด หรือล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ 70 % ทุกคร้ัง

ก่อน-หลงั ทำการคดั กรอง และหลกี เล่ยี งการนำมือมาสัมผัสใบหน้าใหม้ ากท่ีสุด
2.3 ควรเว้นระยะหา่ งจากผ้ทู ่ถี ูกคดั กรองประมาณ 1 เมตร
2.4 วัดอุณหภูมิร่างกายด้วยเครื่องวัดอุณหภูมิ(Handheld Thermometer) หากพบ

นักเรียน ครู หรือบคุ ลากรมไี ข้ (อณุ หภมู ≥ิ 37.5 °C) ใหผ้ ู้คดั กรองสวมถุงมือแล้วทำการวัดอุณหภมู ิซ้ำด้วยปรอทวัด
ไข้ท่ีรักแร้และเช็ดปรอทวัดไขด้ ้วยแอลกอฮอลท์ กุ คร้งั หลงั ใช้งาน

2.5 หากวัดซ้ำพบมีไข้หรือมีอาการระบบทางเดินหายใจต้องให้ผู้มีอาการกลับบ้านหรือ
ส่งไปตรวจรักษาทีส่ ถานพยาบาล

2.6 ควรทง้ิ ถงุ มือและสำลีทีใ่ ชแ้ ลว้ ในถงั ขยะทจ่ี ัดเตรียมไว้เสมอ
2.7 แนะนำให้นักเรียนครูและบุคลากรทุกคนสวมหนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามัยก่อน
เขา้ สถานศกึ ษา
2.8 บันทึกข้อมูลของนักเรียน ครู หรือบุคลากรที่มีไข้หรืออาการของระบบทางเดิน
หายใจ (ไอ น้ำมกู เจบ็ คอ ไม่ไดก้ ลนิ่ หายใจเรว็ หายใจเหนอื่ ย หรือหายใจลำบาก) เพ่ือใช้ในการตรวจสอบการป่วย
เป็นกล่มุ กอ้ น
3. นักเรียน
3.1 สวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัยทกุ คร้ังเม่ืออยู่ในสถานศึกษา
3.2 ล้างมือบ่อย ๆ เช่น ก่อนรับประทานอาหาร หลังหยิบจับของใช้ส่วนรวม หลังเข้า
หอ้ งนำ้ หรือเมื่อมือมคี วามสกปรกมาก
3.3 เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลใหม้ ากท่สี ดุ เทา่ ทส่ี ามารถทำได้
3.4 ควรรับประทานอาหารโดยใช้ภาชนะ ช้อน ส้อมของตนเอง ไม่ใช้แก้วน้ำผ้าเช็ดมือ
หรอื ผา้ เช็ดหน้ารว่ มกับผู้อื่น
3.5 หากมีอาการเจ็บปว่ ย เช่น มีไข้ ไอ จาม มีน้ำมูก หรือเหนื่อยหอบ ให้แจ้งครูประจำ
ชั้นทราบทันที
4. ผปู้ กครอง
4.1 จัดเตรียมอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวของเดก็ สำหรับนำไปใช้ที่สถานศกึ ษา เช่น แก้วน้ำ
ชอ้ น ส้อม ผ้าเช็ดหนา้ หนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั เจลแอลกอฮอล์เป็นตน้
4.2 สังเกตอาการบุตรหลานทุกเช้าก่อนออกจากบ้าน หากพบว่า มีไข้ หรืออาการของ
ระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอ น้ำมูก เจ็บคอ ให้เด็กหยุดเรียน แล้วดูแลรักษาตามอาการเบื้องต้น จนกว่าจะหาย
และรายงานใหค้ รูประจำชนั้ หรือสถานศึกษาทราบ หากเดก็ อาการไม่ดีขน้ึ เชน่ หายใจเรว็ หายใจลำบาก หรือจมูก
ไมไ่ ดก้ ลิน่ ใหร้ บี พาไปพบแพทย์

8

4.3 ขณะเด็กหยุดเรียน รักษาตัวที่บ้าน ไม่ควรให้เด็กออกนอกบ้าน หรือคลุกคลีกับเด็ก
ขา้ งบา้ นและหลีกเลย่ี งการพาเดก็ ไปในแหลง่ ชุมชน

4.4 ให้เด็กสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั ก่อนออกจากบา้ นทุกครั้ง
4.5 เมื่อได้รับแจ้งจากทางสถานศึกษาว่าบุตรหลานป่วยต้องไปรับกลับบ้านและดูแล
เบื้องตน้ หากบุตรหลานอาการไม่ทุเลาให้พาไปสถานพยาบาล
4.6 ส่งเสริมให้บุตรหลานและสมาชิกในครอบครัว ล้างมืออย่างถูกวิธีด้วยสบู่และน้ ำ
สะอาด หรอื เจลแอลกอฮอล์
5. ผปู้ ระกอบอาหาร
5.1 ผู้ประกอบอาหารให้ปฏิบัติตามสุขอนามัยในการประกอบอาหาร สวมหน้ากาก
อนามัยหรือหนา้ กากผ้า หมวกคลมุ ผม Face shield ถุงมอื ขณะประกอบอาหารและเสริ ์ฟอาหารทุกครั้ง เน้นเมนู
ท่ปี รงุ สกุ รอ้ น มีฝาปิดหรือ Counter shield กั้นที่วางอาหาร
5.2 ปกปดิ อาหาร ใชถ้ งุ มอื และปากคีบหยิบจับอาหาร ห้ามใช้มือหยบิ จับอาหารท่ีพร้อม
รบั ประทานโดยตรง
5.3 ทำความสะอาดจุดเสี่ยง เช่น อุปกรณ์ปรุงประกอบอาหาร โต๊ะ เก้าอี้ ด้วยน้ำยาทำ
ความสะอาด รวมถงึ ล้างภาชนะอุปกรณ์หรือสง่ิ ของเครือ่ งใช้ใหส้ ะอาดเปน็ ประจำทุกวนั
5.4 หากผูส้ ัมผสั อาหารมีอาการเจ็บป่วย เชน่ มไี ข้ ไอ จาม มีน้ำมูก หรือเหนอื่ ยหอบ ให้
หยุดงาน หาก อาการไมด่ ขี นึ้ ใหไ้ ปสถานพยาบาล
6. ภารโรง หรอื ผูป้ ฏิบตั งิ านทำความสะอาด
6.1 ผู้ปฏิบัติงานทำความสะอาด ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เชน่ สวมหนา้ กากผา้ หรือ
หนา้ กากอนามยั สวมถุงมอื ยาง ผ้ายางกันเปอ้ื น รองเท้าพน้ื ยางหมุ้ แข็ง เปน็ ต้น
6.2 จัดให้มีถังขยะแบบมีฝาปิด และรวบรวมขยะออกจากห้องเรียนเพื่อนำไปกำจัดทุกวัน
6.3 หากผู้ปฏิบัติงานทำความสะอาด มีอาการเจ็บป่วย เช่น มีไข้ ไอ จาม มีน้ำมูก หรือ
เหน่ือยหอบ ใหห้ ยุดงาน หากอาการไมด่ ีขน้ึ ใหไ้ ปสถานพยาบาล
7. พนกั งานขับรถ
7.1 ทำความสะอาดบรเิ วณจดุ สัมผัสเสี่ยง เช่น ราวจบั ในรถ ทจี่ บั บรเิ วณประตูเบาะน่ังท่ี
วางแขน ด้วยน้ำผสมผงซักฟอกหรือน้ำยาทำความสะอาดที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์หรือ
70 % แอลกอฮอล์ เน้นการเชด็ ทำความสะอาดพ้ืนผวิ บอ่ ย ๆ
7.2 สวมหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาขณะปฏบิ ตั ิงาน
7.3 จัดที่นั่งในรถนักเรียน โดยการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร
ทัง้ นค้ี วรคำนึง ถึงขนาดพนื้ ทข่ี องรถ จำนวนทีน่ ่งั พิจารณาตามบรบิ ทคุณลกั ษณะของรถและความเหมาะสม จดั ทำ
สญั ลักษณ์แสดงจดุ ตำแหนง่ ชัดเจน
7.4 ก่อนและหลังให้บริการรับนักเรียนแตล่ ะรอบ ควรเปดิ หนา้ ตา่ ง ประตูระบายอากาศ
ให้อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก

9

7.5 จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอลส์ ำหรบั ใชท้ ำความสะอาดมือบ่อย ๆ บนรถ
7.6 เมอ่ื พบผู้โดยสารหรือนกั เรยี น มีอาการป่วย ไอ จาม หรือมีน้ำมูก ให้ขอความร่วมมือ
ใหส้ วมหนา้ กากอนามัยที่จดั ไว้ ถ้าเป็นไปไดค้ วรเปิดกระจกรถ

6. การจดั การสถานที่เพอ่ื ฐานวถิ ชี ีวิตใหม่ (New normal) ในสถานศึกษา
บริเวณอาคารและสถานที่ต่างๆ ภายในสถานศึกษา ควรมีการจัดการตามฐานวิถีชีวิตใหม่

(New normal) เพ่ือใหท้ กุ คนปลอดภัยจากโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ดงั น้ี
1. บริเวณทางเข้าสถานศึกษา
1.1 จัดพื้นที่สำหรับการเข้าคิวรอตรวจคัดกรองให้เพียงพอ ให้มีการเว้นระยะห่าง

ระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 เมตร หากมีพื้นที่จำกัดให้พิจารณาจัดเวลาเข้าเรียนให้เหลื่อมกัน เพื่อลดความแออัด
ของการรอตรวจคัดกรอง

1.2 จัดเตรียมอุปกรณ์ล้างมือ เช่น อ่างล้างมือ หรือแอลกอฮอล์ที่มีความเข้มข้นอย่าง
น้อย 70% ใช้ได้ทั้งชนิดน้ำและชนิดเจล ไว้บริเวณทางเข้าโรงเรียน และอาคารต่าง ๆ ที่มีการใช้งานร่วมกัน

1.3 จัดให้มีผู้รับผิดชอบทำหน้าที่คัดกรองอาการ และกำกับการสวมหน้ากากอนามัย
หรอื หน้ากากผ้า ในผ้ทู ี่เข้าออกสถานศกึ ษาตลอดเวลา หรือในชว่ งเวลาทีม่ คี นเข้าออกจำนวนมาก

1.4 จัดทำ QR code ไทยชนะเพื่อให้ผู้เข้าออกสามารถเช็คอินเวลาเข้าออกได้
โดยสะดวก

2. ห้องเรียนประจำ และห้องเรียนสำหรับกิจกรรมพิเศษ เช่น ห้องเรียนภาษา ห้องเรียน
คอมพิวเตอร์

2.1 จัดที่นั่งเรียน โดยกำหนดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างโต๊ะเรียนเท่าที่จะทำได้
2.2 เปิดประตหู นา้ ต่างของห้องเรียน เพอ่ื ให้มกี ารถา่ ยเทอากาศ การเรยี นในห้องแอร์ให้เปิด
ประตู หน้าต่าง ช่วงพักเที่ยงหรือช่วงที่ไม่มีการเรียนการสอนและทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
2.3 เมอ่ื มกี ารเปลย่ี นห้องเรยี น นักเรยี นควรเชด็ ทำความสะอาดพน้ื ผิวหรอื อุปกรณ์ท่ีต้อง
ใชม้ ือจับต้องด้วยเจลแอลกอฮอล์และล้างมือใหส้ ะอาดก่อนการเรียนหรือการใชอ้ ปุ กรณ์
3. โรงอาหาร
3.1 จัดให้มีอา่ งล้างมือและสบทู่ ่ีเพียงพอ อย่ใู นสภาพดพี รอ้ มใชง้ าน
3.2 จดั ที่นง่ั รับประทานอาหารและทำสัญลักษณ์เพื่อเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคลเท่าท่ีทำได้
3.3 จดั ตารางเหลื่อมเวลาพกั รับประทานอาหารกลางวนั
3.4 จัดสถานที่และทำเครื่องหมายแสดงการเว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร ในการ
เขา้ คิวเพ่อื ซือ้ อาหาร

10

4. ห้องน้ำหอ้ งส้วม
4.1 จัดให้มอี ่างล้างมือให้เพียงพอ อยใู่ นสภาพดี พร้อมใชง้ าน รวมถงึ มสี บู่ล้างมือท่ีเพียงพอ
4.2 ทำความสะอาดห้องสุขาด้วยน้ำยาทำความสะอาด อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง และ

กำจัดขยะอยา่ งถกู วธิ ีทกุ วัน
5. ห้องพัก เพื่อรอรับ-ส่ง นักเรียน ควรจัดพื้นที่รอรับนักเรียนในที่โล่ง จัดให้มีพื้นที่เพียงพอ

สำหรบั การเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคลเท่าที่ทำได้
6. พ้นื ที่สว่ นกลาง/พืน้ ทน่ี นั ทนาการ
6.1 จดั กิจกรรมทรี่ วมตวั กันหรือการใช้พ้ืนท่รี ว่ มกนั ใหน้ ้อยท่สี ุด
6.2 ทำความสะอาดพื้นที่ส่วนกลางเป็นประจำทุกวัน โดยเน้นจุดเสี่ยงที่มือสัมผัส เช่น

ราวบันได ลกู บดิ ประตู กอ๊ กน้ำ ตจู้ ดหมาย ป้ายประชาสัมพนั ธ์ โต๊ะ เกา้ อี้ อุปกรณก์ ฬี า ควรใชน้ ้ำสบู่ หรือน้ำยาฆ่า
เชื้อเชด็ ทำความสะอาดบอ่ ย ๆ อยา่ งน้อยวนั ละ 2 ครง้ั

7. ห้องพยาบาลหรือห้องแยกผปู้ ว่ ย
7.1 จดั เตียงให้หา่ งกันมากท่สี ุดเทา่ ทส่ี ามารถทำได้และควรมีฉากกัน้ ระหว่างเตียงหรือให้

มีฉากกน้ั ระหว่างผูม้ อี าการของระบบทางเดนิ หายใจกบั ผู้มีอาการอืน่
7.2 ใหม้ ีการบนั ทึกรายชอ่ื และอาการปว่ ยของบคุ ลากรและนักเรยี น
7.3 ครหู รือเจา้ หนา้ ทีป่ ระจำห้องพยาบาลควรตรวจสอบข้อมูลการป่วยของนักเรียนและ

บุคลากร หากพบว่ามีผู้ที่มีอาการของระบบทางเดินหายใจตั้งแต่ 5 รายขึ้นไปในสัปดาห์เดยี วกัน ให้แจ้งเจ้าหน้าที่
สาธารณสุขในพื้นที่

แนวปฏิบัตเิ มือ่ พบผปู้ ่วยยนื ยนั โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ในสถานศกึ ษา
ผู้ที่มีไข้ หรือมีอาการของระบบทางเดินหายใจ ผู้ที่มีไข้คือ ผู้ที่มีอุณหภูมิในร่างกายเพิ่มสูงขึ้นมากกว่า
อุณหภูมิปกติ ซึ่งอุณหภูมิปกติของร่างกาย ของคนเรานั้นจะอยู่ที่ 37 °C โดยที่อาจสูงหรือต่ำกว่าเล็กน้อย
ซึ่งหากผู้ป่วยมีไข้ อุณหภูมิร่างกายจะเริ่มตั้งแต่ 37.5 °C ขึ้นไป อาการที่พบเมื่อเป็นไข้ ได้แก่ ปวดหัว หนาวส่ัน
ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว ซึ่งความรุนแรงของอาการจะขึ้นอยู่กับสาเหตุของโรคผู้ที่มีไข้ อาการของ
ระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ ไอ น้ำมูก เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น หายใจเร็ว หายใจเหนื่อยหรือ หายใจลำบาก ซึ่งการติด
เชื้อของระบบทางเดนิ หายใจ เริ่มตงั้ แต่จมูก คอ หลอดลมไปจนถึงปอด โรคตดิ เชือ้ ทางเดินหายใจเกดิ ขึ้นได้บ่อยท้ัง
ในเด็กและผู้ใหญ่ บางคนอาจเป็นปีละหลายครั้ง ดังนั้นเมื่อสถานศึกษาพบผู้ที่มีไข้หรืออาการของระบบทางเดิน
หายใจหรอื สงสัยป่วยดว้ ยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ใหป้ ฏิบตั ติ ามแนวทาง ดังต่อไปน้ี
1. แนวปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา เมื่อได้รับแจ้งจาก
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขว่ามีนักเรียน ครูหรือบุคลากร เป็นผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตั้งแต่
1 ราย ใหด้ ำเนนิ การ ดังน้ี

1. ประสานผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมการควบคุมการแพร่เชื้อในสถานศึกษา เช่น ผู้บริหาร
สถานศึกษา ครู สมาคม ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา เปน็ ต้น

11

2. ให้ความร่วมมือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในการค้นหาผู้สัมผัสกับผู้ป่วยยืนยันและผู้ป่วยสงสัย
เพิ่มเตมิ ดังนี้

2.1 ผูส้ มั ผัสกล่มุ เสยี่ งสูง (High risk contact) ไดแ้ ก่
- ผู้ท่เี รียนร่วมหอ้ ง ผทู้ น่ี อนรว่ มห้อง หรือเพื่อนสนทิ ที่คลกุ คลกี ัน
- ผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด เช่น มีการพูดคุยกับผู้ป่วยในระยะ 1 เมตร นานกว่า

5 นาที หรืออย่ใู กล้ผปู้ ว่ ย เวลาไอ จาม โดยไม่มีการปอ้ งกัน เชน่ ไมส่ วมหนา้ กากอนามัย
- ผู้ที่อยู่ในบริเวณที่ปิดไม่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น รถปรับอากาศ ห้องปรับ

อากาศ ร่วมกับผู้ป่วย และอยู่ห่างจากผู้ป่วยไม่เกิน 1 เมตร นานกว่า 15 นาที โดยไม่มีการป้องกัน เช่น ไม่สวม
หน้ากากอนามัย โดยผู้สัมผัสเสี่ยงสูงเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะเก็บตัวอย่างจากสารน้ำหรือเมือกในโพรงจมูก
(Nasopharyngeal Swab) หรือในลำคอ (Throat Swab) เพื่อตรวจหาเชื้อระหว่างรอผลให้กักตัวอยู่ในสถานที่
กักกันที่จัดเตรยี มไว้และสังเกตอาการเปน็ เวลาอย่างน้อย 14 วัน หากพบอาการผิดปกติให้ไปพบแพทย์ เพื่อตรวจ
วินิจฉัย

2.2 ผู้สัมผัสกลุ่มเสี่ยงต่ำ (Low risk contact) คือ ผู้ที่ทำกิจกรรมอื่นๆ ร่วมกับผู้ป่วย
แต่ไม่เข้าเกณฑ์ ความเสี่ยงสูง ผู้สัมผัสกลุ่มนี้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอาจไม่ได้เก็บตัวอย่าง แต่จะให้สังเกตอาการ
ตนเองเป็นเวลาอยา่ งน้อย 14 วัน หากมไี ข้และอาการของระบบทางเดนิ หายใจ ใหร้ บี ไปพบแพทย์

3. ผู้ใกล้ชิดกับผู้สัมผัสเสี่ยงสูงและผู้ใกล้ชิดกับผู้สัมผัสเสี่ยงต่ ำ จัดว่าไม่มีความเสี่ยง
ไม่จำเป็นตอ้ งหยุดเรียนหรอื หยดุ ปฏบิ ัติงาน แต่ให้สังเกตอาการตนเองเป็นเวลา 14 วัน

4. สถานศึกษาเพิ่มความเข้มข้นในการคัดกรอง การทำความสะอาด การเว้นระยะห่างระหว่าง
บุคคลมากยิ่งขึ้น ตลอดจนสื่อสารให้ทุกคนในสถานศึกษาเข้าใจความเสี่ยงและป้องกันตนเอง โดยสวมหน้ากาก
อนามัยและลา้ งมือบอ่ ย ๆ

5. อาจพิจารณาให้ปิดห้องเรียนที่พบผู้ป่วยยืนยัน เป็นเวลา 3 วัน เพื่อทำความสะอาด
หากพบผู้ป่วยยืนยัน มากกว่า 1 ห้องเรียน อาจพิจารณาให้ปิดชั้นเรียนนั้น เป็นเวลา 3 วัน เพื่อทำความสะอาด
การพจิ ารณาวา่ จะปดิ สถานทมี่ ากเพยี งใด ให้ใชข้ อ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสอบสวนโรคและคน้ หาผ้ปู ่วยเพิ่มเตมิ

2. แนวปฏิบัติเมื่อพบนักเรียน ครู หรือบุคลากร ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจเป็นกลุ่มก้อน
(Cluster) ในสถานศึกษา เมื่อพบนักเรียน ครู หรือบุคลากรป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจเป็นกลุ่มก้อน
(Cluster) ในสถานศกึ ษา ปฏบิ ตั ดิ งั นี้

1. สถานศึกษาได้รับแจ้งว่านักเรียนครูหรือบุคลากร ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจและหยุด
มาโรงเรียน หรือสถานศึกษาพบว่ามีนักเรียนครูหรือบุคลากร ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจในระหว่างวันให้
บันทกึ และรวบรวมข้อมลู ของผ้มู อี าการป่วย

2. หากพบว่ามีนักเรียนครูหรือบุคลากรที่อยู่ในห้องเรียนเดียวกัน มีไข้หรืออาการของระบบ
ทางเดินหายใจ ภายในสัปดาห์เดียวกันตั้งแต่ 5 รายขึ้นไป ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ทราบเพื่อทำการ
สอบสวนควบคมุ โรค

12

3. ให้ทำความสะอาดห้องเรียนที่มีผู้ป่วยดังกล่าวและพื้นที่ที่มีการใช้งานร่วมกัน เช่น ราวบันได
ลูกบิดประตู โต๊ะเรียน ห้องน้ำ โต๊ะอาหาร ฯลฯ ทั้งนี้สถานศึกษาควรทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสที่ใช้ร่วมกัน
บอ่ ยคร้งั มากข้ึน

4. สื่อสารให้ทุกคนในสถานศึกษาทราบว่าอาจมีการระบาดของโรคทางเดินหายใจ ซึ่งอาจเกิด
จากเชื้อไข้หวัด หรือเกิดจากเชื้ออื่น ขอให้ทุกคนป้องกันตนเอง โดยสวมหน้ากากอนามัยและล้างมือบ่อย ๆ

5. ให้ความร่วมมือเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ ในการสอบสวนควบคุมโรค กรณีพบว่าเป็นผู้ป่วยยืนยัน
โรคโควิด-19 ให้ดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา กรณีพบว่าเป็น
ผู้ป่วย ด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น ให้ผู้ป่วยหยุดเรียนหรือหยุดปฏิบัติงาน
จนกว่าจะหายเปน็ ปกติ

3. แนวปฏิบัติเมื่อพบผู้มีอาการโรคระบบทางเดินหายใจและโรคอื่นๆ เกิดขึ้นระหว่างวันใน
สถานศึกษา เมื่อพบผู้มีอาการโรคระบบทางเดินหายใจและโรคอืน่ ๆ เกิดขึ้นระหว่างวันในสถานศึกษา ปฏิบัตดิ งั น้ี

1. แยกผู้มีอาการป่วยออกจากคนปกติ และใหอ้ ยู่ในหอ้ งแยกหรือพ้ืนที่ที่จัดเตรยี มไว้
2. ติดต่อผู้ปกครองใหม้ ารบั นกั เรยี นกลับบา้ นหรอื ส่งผปู้ ่วยไปสถานพยาบาล
3. กรณีทราบว่าผู้ป่วยมีประวัติเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้แจ้งเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสุขทราบภายใน 3 ชัว่ โมง เพื่อทำการป้องกันควบคมุ โรค
4. กรณีมีผู้ป่วยตั้งแต่ 2 รายขึ้นไปและจำเป็นต้องอยู่ในห้องแยกเดียวกัน ต้องจัดเตียงให้ห่างกนั
มากทีส่ ดุ เทา่ ท่ีสามารถทำได้และควรมีฉากก้นั ระหวา่ งเตยี ง
5. บันทึกข้อมูลของนักเรียน ครู หรือบุคลากรที่มีอาการป่วย เพื่อใช้ในการตรวจสอบการป่วย
เปน็ กล่มุ กอ้ น

บทบาทของสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถานศึกษาควรจัดการเรียน
การสอนให้ครบหลักสูตรตามความเหมาะสม เช่น กรณีมาเรียนที่สถานศึกษา เน้นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีเนื้อหา
ซับซ้อน และภาคปฏิบัติที่ต้องใช้อุปกรณ์และมีครูดูแล กรณีเรียนอยู่ที่บ้านเน้นเนื้อหาที่สามารถเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเอง และปฏิบัติงานตามที่ครูมอบหมาย เช่น เรียนรู้จากแบบเรียน ใบความรู้ DLTV สื่อการสอนทางไกลผ่าน
โทรทศั น์ หรอื ทาง Online กล่มุ สาระการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏบิ ัติ เชน่ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ครูช้ีแจง
วัตถุประสงค์การเรียนรู้กับผู้ปกครองและนักเรียน อาจเรียนรู้จากการช่วยผู้ปกครอง ทำงานบ้านหรือประกอบ
อาชพี เทา่ ทที่ ำได้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา อาจใหน้ ักเรียนดูแลสขุ ภาพและออกกำลังกายที่บ้าน
แล้วบันทึกการปฏิบัติส่งครู และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ บางภาระงานให้นักเรียนปฏิบัติที่บ้าน

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคม
และสาธารณประโยชน์ อาจปรับวิธีการจัดกิจกรรมหรือบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอน ทั้งนี้ การเรียนรู้

13

นอกห้องเรยี น เช่น การเรียนดว้ ย ระบบการสอนทางไกล ผา่ นโทรทศั น์ (On Air) หรือชอ่ งทางการเรียนอืน่ ๆ เช่น
Online การศึกษาจากแบบเรียน หรือใบความรู้ สามารถนำมานับเวลาเรียนได้ การพิจารณารูปแบบการจัดการ
เรียนการสอน ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกันวางแผนเลือกรูปแบบการจัดการเรียน
การสอนให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาบนพื้นฐานของความปลอดภัยของนักเรียนและบุคลากร ใน
สถานศึกษา ภายใต้ “ความปกติใหม่” (New Normal) โดยสถานศึกษาต้องประเมินตนเองและผ่านการเห็นชอบ
ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เสนอสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อให้คณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (กตปน.) รับทราบและอาจเสนอความคิดเห็นเพิ่มเติมและเสนอ
คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) พิจารณาให้ความเห็นชอบ และเสนอต่อศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรค
จังหวัด (ศปก.จ.) พิจารณาเห็นชอบให้เปิดเรียน และดำเนินการจัดการเรียนการสอนได้ แนวทางการจัดการเรียน
การสอนของสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา ให้นำกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นฝึก
กระบวนการคิดให้นักเรียนเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติมากกว่าการฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว จากเดิมเริ่มที่ครู
สอนในห้องเรียนแล้วมอบการบ้านให้ไปทำที่บ้าน อาจเปลี่ยนเป็นครูกำหนดประเด็นหรือหัวข้อ พร้อมทั้งให้
แหล่งข้อมูลนักเรียนไปศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองล่วงหน้า เมื่อมาเรียนในห้องเป็นการอภิปราย ถกแถลง และ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกให้เกิดการเรียนรู้ การตรวจสอบความเข้าใจการเรียนรู้
ของนักเรียนเปน็ สิ่งสำคัญ ควรดำเนินการเปน็ ระยะๆ สามารถดจู ากการแสดงความคิดเห็นการทำกิจกรรมระหว่าง
เรียน การทำแบบฝกึ การสรุปการเรยี นรู้ เชน่ Mind Map เปน็ ต้น

เพื่อส่งเสริมพัฒนาการนักเรียนทุกด้าน โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้สนับสนุน และอำนวยความสะดวกสำหรับ
การกำหนดตารางหรือกิจวัตรประจำวันและสิ่งแวดล้อมในห้องเรียน ให้คำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของ
นักเรียนเป็นสำคัญ ทั้งนี้ ครูยังสามารถนำรูปแบบและกระบวนการต่าง ๆ มาออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
ให้เหมาะสมกบั สภาพบรบิ ทของสถานศึกษา นกั เรยี น และสถานการณ์ได้ ดังน้ี

1. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (Active learning)
ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทีผ่ ู้เรียนได้มโี อกาสลงมือกระทำ
มากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว จดั กจิ กรรมให้ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้
โดยการอา่ น การเขยี น การโต้ตอบ และการวิเคราะหป์ ัญหา
อีกทัง้ ให้ผู้เรยี น ไดใ้ ชก้ ระบวนการคดิ ขั้นสงู ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์
การสงั เคราะห์ และการประเมินค่า

2. การสอนแบบ “พลิกกลับ” (Flipped classroom) ครูสามารถปรับเปลี่ยน รูปแบบ วิธีการสอนจาก
แบบเดิมที่เริ่มจากครูผู้สอนในห้องเรียน ผู้เรียนกลับไปทำการบ้านส่งเปลี่ยนเป็นผู้เรียนเป็นผูค้ ้นคว้า
หาความรู้ดว้ ยตนเองผา่ นเทคโนโลยแี ละมาทำกจิ กรรม โดยมคี รูคอยแนะนำในชัน้ เรยี นแทน

3. กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC)
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูยังร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงในการ
สามารถวางแผนและแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนได้เพื่อให้นักเรียนมีทักษะแห่ง
การเรียนเรยี นรู้ ในศตวรรษท่ี 21 โดยองคค์ วามรเู้ ฉพาะดา้ นความชำนาญและความ

14

ต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสำเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทำงานและการดำรงชีวิต รูปแบบการจัดการเรียนการ
สอนของสถานศึกษาสถานศึกษาต้องวางแผนการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา และ
สอดคล้องหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของนกั เรียนและบคุ ลากรเป็นสำคัญ เลือกใช้
ตามบริบทของสถานศึกษาและข้อตกลงร่วมกันของผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครอง ทั้งนี้สถานศึกษาควร
จัดหาสื่อความรูป้ ้องกันควบคุมโรคโควิด-19 สำหรับใชใ้ นการเรียนการสอนและสร้างความเข้มแขง็ ของระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน สถานศึกษาต้องเตรียมแผนรองรับด้านการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนที่ป่วยหรือกรณีปิด
สถานศึกษาชว่ั คราว สง่ เสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผนการจัดการเรียนการสอนเรียนที่บ้าน
จดั เตรียมเอกสาร สอื่ ใบงาน ร่วมทั้งช่องทางการเรยี นการสอนของครแู ละนักเรียน

1. การจัดการเรียนการสอนแบบปกติ (ON-SITE) สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนแบบปกติ
ในช้ันเรียนได้ ทั้งนีจ้ ะต้องปฏิบัติตามมาตรการ 6 ข้อ ปฏบิ ตั ใิ นสถานศึกษา ได้แก่

1) วัดไข้
2) ใส่หน้ากาก
3) ลา้ งมือ
4) เวน้ ระยะหา่ ง
5) ทำความสะอาด
6) ลดแออดั
และต้องปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณะสุขอย่างเคร่งครัดและสถานศึกษาจะต้องน ำเสนอ
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน (ตามที่สถานศึกษาประเมินตนเอง) ผ่านคณะกรรมการสถานศึกษา และได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) และศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคจังหวั ด (ศปก.จ.)
2. การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) การจัดการเรียนแบบผสมผสาน คือ
การจัดการเรียนรู้ ท่ใี ชร้ ูปแบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็น การเรียนรูท้ ี่เกิดขน้ึ ในห้องเรียน ผสมผสานกับ
การเรียนรู้นอกห้องเรียนที่ครูและนักเรียนไม่ได้เผชิญหน้ากัน หรือใช้แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่อย่างหลากหลาย ซึ่งมี
เปา้ หมายอยู่ที่การเรยี นรู้ของนักเรยี นเป็นสำคัญ โดยสถานศกึ ษาสามารถเลือกรูปแบบการจดั การเรียนการสอนได้
ตามตวั อยา่ ง ดงั น้ี
รูปแบบที่ 1 การสลบั ช้นั มาเรยี นของนักเรยี น แบบสลับชัน้ มาเรียน
รปู แบบที่ 2 การสลับชั้นมาเรียนของนกั เรยี น แบบสลบั วนั คู่ วนั คี่
รูปแบบท่ี 3 การสลบั ชั้นมาเรียนของนักเรยี น แบบสลับวันมาเรยี น 5 วนั หยุด 9 วนั
รปู แบบที่ 4 การสลับช่วงเวลามาเรยี นของนกั เรยี น แบบเรียนทุกวนั
รูปแบบท่ี 5 การสลบั กลุ่มนักเรียน แบบแบง่ นกั เรยี นในห้องเรียนเป็น 2 กล่มุ
รูปแบบท่ี 6 รปู แบบหรอื วิธกี ารอ่ืน ๆ
กรณีจังหวัดที่เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พบผู้ติดเชื้อจำนวนมาก และพบผู้ติดเชื้อมากกว่า 1
พื้นท่ีให้ดำเนนิ การจัดการเรียนการสอนใน 5 รปู แบบ ได้แก่
1. On Site คือ ให้มาเรียนตามปกติได้ในพื้นที่ที่ไม่ใช่สีแดง แต่ต้องเว้นระยะหรือลดจำนวน

15
นกั เรยี นตอ่ ห้องลง สำหรับจงั หวดั พ้นื ทีส่ เี ขยี วสามารถจดั การเรียนการสอนในโรงเรียนไดต้ ามปกติ

2. On Air คือการออกอากาศผ่าน DLTV เป็นตัวหลักในการกระจายการสอน โดยใช้โรงเรียน
วังไกลกงั วลเป็นฐานในการจดั การเรยี นการสอน สามารถดไู ดท้ ้งั รายการทอี่ อกตามตารางและรายการที่ดูย้อนหลงั

3. Online ให้ครูเป็นผู้จัดการเรียนการสอน ผ่านเครื่องมือที่ทางโรงเรียนกระจายไปสู่นักเรียน
เป็นรูปแบบที่ถูกใช้ในการจัดการเรียนการสอนมากที่สุด

4. On Demand เปน็ การใชง้ านผ่านแอปพลเิ คชั่นต่างๆ ท่ีครกู ับนกั เรียนใช้ร่วมกนั
5. On Hand หากจัดในรูปแบบอื่นๆ ที่กล่าวมาไม่ได้ ให้โรงเรียนจัดแบบ On Hand คือ จัดใบ
งานให้กบั นักเรียนลักษณะแบบเรยี นสำเรจ็ รูป ใหน้ กั เรยี นรับไปเปน็ ชุดและเรียนด้วยตัวเองท่ีบ้าน โดยมีครูออกไป
เยี่ยมเป็นครั้งคราว หรือให้ผูป้ กครองทำหน้าทีเ่ ป็นครูคอยชว่ ยเหลอื เพื่อให้นักเรยี นสามารถเรียนได้อยา่ งต่อเนือ่ ง
(กรมควบคุมโรค สาธารณสขุ )

การเตรยี มความพร้อมการจัดการเรยี นการสอนในวนั เปดิ ภาคเรียน
(Preparation before reopening)

จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทุกภาคส่วน เมื่อสถานการณ์
เปน็ ไปในทางทีด่ ีขน้ึ การเปดิ สถานศกึ ษาหลงั จากปิดจากสถานการณ์ โควดิ -19 มคี วามจำเป็นอย่างยง่ิ ในการเตรียม

16

ความพร้อมของสถานศึกษา การปฏิบัติตนของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อลดโอกาสการติดเชื้อและ
ป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อโรคโควิด-19 ให้เกิดความปลอดภัยแก่ทุกคนจึงควรมีการประเมินความพร้อมการเปิด
ภาคเรียนของสถานศึกษา โดยมีกรอบการคุมเข้มผ่านมาตรการหลักตามกรอบแนวทาง 6 มิติ ได้แก่ ความ
ปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อโรค การเรียนรู้ การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง
นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสร้างความเชื่อมโยงกับมาตรการป้องกันโรคเพื่อป้องกันการ
แพร่ระบาดของโควดิ -19 ของศูนย์บริหารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
(ศบค.) อันจะเป็นการวางแผนที่จะช่วยสร้างเสริมความเข้มแข็ง ด้านการคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของ
นักเรียน โดยมีมาตรการควบคุมหลักในมิติการดำเนินงาน เพื่อความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อโรค
6 มาตรการหลัก และ 6 มาตรการสง่ เสรมิ ขอ้ ปฏบิ ตั ิในสถานศกึ ษา

6 มาตรการหลัก DMHT-RC ไดแ้ ก่
1. คัดกรอง (Screening) ผู้ที่เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องได้รับการคัดกรอง วัดอุณหภูมิร่างกาย
2. สวมหน้ากาก (Mask) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัย ตลอดเวลาทีอ่ ยู่ในสถานศึกษา
3. ล้างมือ (Hand Washing) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำนานอย่าง น้อย 20 วินาทีหรือใช้เจล
แอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณจุดเสี่ยง รวมทั้ง ไม่ใช้มือสัมผัส ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น
4. เว้นระยะห่าง (Social Distancing) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร รวมถึงการจดั
เวน้ ระยะหา่ งของสถานที่
5. ทำความสะอาด (Cleaning) เปิดประตู หน้าต่าง ให้อากาศถ่ายเท ทำความสะอาด ห้องเรียน และ
บริเวณตา่ งๆ โดยเชด็ ทำความสะอาดพ้ืนผวิ สัมผสั ของโต๊ะ เกา้ อ้ี และวัสดุอุปกรณ์ กอ่ นเขา้ เรียน ช่วงพกั เที่ยง และ
หลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัดใหม้ ีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิดและรวบรวมขยะออกจากห้องเรยี น เพื่อนำไปกำจัด
ทกุ วัน
6. ลดแออัด (Reducing) ลดระยะเวลาการทำกิจกรรมให้สั้นลงเท่าที่จำเป็น หรือเหลื่อมเวลาทำกิจกรรม
และหลกี เลยี่ ง การทำกจิ กรรมรวมตัวกันเป็นกลุม่ ลดแออัด

6 มาตรการสง่ เสริม SSET-CQ ไดแ้ ก่
1. ดูแลตนเองปฏบิ ัตติ ามมาตรการอยา่ งเคร่งครัด
2. ใช้ชอ้ นกลางสว่ นตวั เม่อื ตอ้ งกนิ อาหารรว่ มกนั
3. กนิ อาหารปรงุ สกุ ใหม่ กรณีอาหารเกบ็ เกนิ 2 ช่ัวโมง ควรนำมาอนุ่ ให้ร้อนทัว่ ถึงกอ่ นกินอีกครั้ง
4. ไทยชนะ ลงทะเบียนตามที่รัฐกำหนด ด้วยแอปพลิเคชันไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า-ออก
อยา่ งชดั เจน
5. สำรวจตรวจสอบบุคคล นักเรียน และกลุ่มเส่ียงที่เดนิ ทางจากพืน้ ที่เสยี่ งเพ่ือเขา้ สู่กระบวนการคัดกรอง
6. กักกนั ตวั เอง 14 วนั เมอ่ื เขา้ ไปสัมผสั หรอื อยใู่ นพืน้ ท่ีเสีย่ งทีม่ กี ารระบาดโรค

17

กอ่ นเปิดภาคเรยี น
การเตรยี มความพร้อม โรงเรียนบางกะปิมกี ารดำเนนิ การดังน้ี

1.1 ด้านอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องประกอบ ห้องสมุด ห้องพยาบาล สนามกีฬา โรงอาหาร ฯลฯ
มีการทำความสะอาด

1.2 ดา้ นอปุ กรณ์ จดั เตรียมเคร่อื งมือป้องกนั การแพร่ระบาด อาทเิ ชน่ เคร่ืองวดั อณุ หภูมิ หน้ากากอนามัย
เจลแอลกอฮอร์ สบู่เหลว ทกี่ ั้นรับประทานอาหาร

1.3 จัดทำแผนปฏิบัติการเฉพาะกิจการบริหารโรงเรียนในช่วงการแพร่ระบาดโรค COVID-19 และแนว
ปฏิบตั ใิ นภาพรวมของโรงเรยี น

1.4 ครู บุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง สร้างองค์ความรู้ สร้างความเข้าใจและขอความร่วมมือและแต่งตั้ง
คณะกรรมการเฉพาะกจิ ดา้ นการสอื่ สารองคก์ รในสถานการณก์ ารแพร์ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา (COVID- 19)

1.5 หอ้ งปฏิบตั ิการ
- ห้องแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation)

1.6 วางแผนการจดั การเรียนรู้แนวใหม่
- แผนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

การเตรียมความพรอ้ มของโรงเรยี นบางกะปิ เน้นความร่วมมอื 8 แนวทาง ดงั นี้
1. มีมาตรการคดั กรอง ครูนักเรยี น บุคลากรและผู้มาตดิ ต่อราชการทุกคน เช่น การวดั ไข้ สวมใส่หน้ากาก

ผ้า/หน้ากากอนามัยก่อนเข้าโรงเรียน ผู้ปกครองร่วมให้ประวัติหากนักเรียนมีความเสี่ยง เมื่อนักเรียนมีอาการไข้
ไมส่ บายตอ้ งหยุดเรยี นทนั ทีและแจ้งหน่วยงานสาธารณสขุ ในพน้ื ที่

วิธีการตรวจคัดกรอง การตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นช่วงสถานการณ์โรคโควิด-19 โรงเรียนบางกะปิ
วางแผนดำเนินการตามขั้นตอนทีส่ ำคัญ ไดแ้ ก่ การตรวจวดั อณุ หภูมริ ่างกายหรือวัดไข้ การซักประวตั ิ การสัมผัสใน
พน้ื ทเี่ สย่ี ง การสงั เกตอาการเสีย่ งตอ่ การติดเชือ้ โดยมวี ิธีปฏบิ ัตทิ ส่ี ำคญั พอสงั เขป ดงั น้ี

1) จดั ตง้ั จดุ คัดกรองบรเิ วณทางเขา้ ของสถานศึกษา โรงเรียนบางกะปิ ได้กำหนด จุดคัดกรอง
บุคลากร นกั เรยี นและผู้มาติดตอ่ ราชการโดยยดึ หลกั Social distancing ดังนี้

1.1) ครู บุคลากรโรงเรียน นักเรยี นกำหนดให้เขา้ สถานศึกษาโดยใช้ประตูท่ี 1
1.2) มีการกำหนดให้เข้าสถานศึกษาโดยใช้ประตูที่ 1 เดินตามช่องทาง จำนวน 2 ช่องทาง

และมรี ะยะหา่ งระหว่างบุคคล 1 - 1.5 เมตร
1.3) ผู้มาตดิ ตอ่ ราชการ มกี ารกำหนดให้นักเรยี นเขา้ สถานศึกษาโดยใช้ประตทู ่ี 1
2) ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายหรือวัดไข้โดยใช้เครื่องวัดอุณหภูมิทางหน้าผาก เนื่องจาก จำนวนนักเรียน
มีเป็นจำนวนมาก โดยคนทั่วไปจะมีอุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง 36.1 - 37.2 องศาเซลเซียส สำหรับผู้ที่เริ่มมีไข้
หรือสงสยั วา่ ตดิ เชื้อจะมอี ณุ หภมู ิท่ีมากกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส
2.1) ครู บุคลากรโรงเรียน ตรวจวดั อณุ หภมู ิร่างกายบริเวณสแกนหนา้ ผากหรือฝา่ มอื และลงชอ่ื

ปฏบิ ัตริ าชการ โดยเนน้ ระยะหา่ งระหวา่ งคน 1 - 1.5 เมตร

18

2.2) นกั เรยี น ในชว่ งเชา้ จะมคี ุณครเู วรประจำวนั ทำหนา้ ทต่ี อ้ นรบั นกั เรยี นและทำหน้าท่ี
ตรวจวัดอณุ หภมู ิรา่ งกายแต่ละแถว โดยเน้นระยะหา่ งระหวา่ งคน 1 - 1.5 เมตร

2.3) ผมู้ าติดต่อราชการ จะมเี จ้าหน้าทีท่ ำหนา้ ท่ีตรวจวดั อณุ หภมู ิรา่ งกายบริเวณทางข้นึ
อาคารสำนักงาน โดยเน้นระยะหา่ งระหวา่ งคน 1 - 1.5 เมตร จะต้องลงเบยี นการเช็คอิน
“ไทยชนะ” หรือ ลงชอื่ เขา้ ใช้บริการ กำหนดให้สำนักงานและหอ้ งพักครูต้องติดตั้งปา้ ย
QR Code “ไทยชนะ” หรอื สมดุ ลงช่ือ ไวท้ ี่หนา้ ห้องใหเ้ รียบร้อย

*** หากตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายครั้งแรก บุคลากร นักเรียนหรือผู้มาติดต่อราชการมีอุณหภูมิร่างกาย
มากกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส ใหพ้ กั คอยหรอื ควรอยู่ในบริเวณจุดตรวจวดั อย่างนอ้ ย 5 นาที ก่อน การวัดอีกครัง้

*** กรณี วัดอุณหภูมิร่างกายได้ ไม่เกิน 37.5 องศาเซลเซียส และไม่มีอาการ ทางเดินหายใจ อาทิ ไอ
มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ไม่มีประวัตสิ ัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยนั ในช่วง 14
วัน ก่อนมีอาการถือว่า ผ่านการคัดกรอง จะติดสัญลักษณ์หรือสติกเกอร์ให้เข้าเรียน ปฏิบัติงานหรือติดต่อได้
ตามปกติ

- กรณี วัดอุณหภูมิร่างกาย ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป หรือมีไข้ ร่วมกับอาการทางเดินหายใจ
อย่างใดอย่างหนง่ึ อาทิ ไอ มนี ำ้ มกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ดก้ ลนิ่ ไมร่ ้รู ส ให้ปฏิบตั ิ ดงั น้ี

> แยกนักเรยี นไปไวท้ ่ีห้องแยก ซง่ึ ทางงานอนามยั โรงเรยี นไดจ้ ัดเตรยี มไว้
> บันทึกรายชื่อและอาการป่วย
> ซกั ประวตั ิและสังเกตอาการเส่ยี ง
> แจ้งผปู้ กครอง
3) สอบถามและซักประวัติการสัมผัสในพื้นที่เสี่ยงและบันทึกผล ลงในแบบบันทึกการตรวจคัดกรอง
สขุ ภาพสำหรับนักเรียน บคุ ลากรหรอื ผูม้ าตดิ ต่อในสถานศกึ ษา
3.1) หากไม่มปี ระวตั เิ ส่ียง ให้พานกั เรยี นไปพบแพทย์ และให้หยดุ พักจนกวา่ จะหายเป็นปกติ
3.2) หากตรวจพบว่า มีประวัติเสี่ยง และ/หรือมีประวัติสัมผัส ใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยันหรือสงสัย
มีประวัติเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่เกิดโรคไปในพื้นที่ที่มีคนแออัด จำนวนมากในช่วง 14 วันก่อนมีอาการ
ถือว่าเป็นผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงหรือเป็นกลุ่มเสี่ยง โดยจำแนกเป็นกลุ่มเสี่ยงมีประวัติเสี่ยงสูง และกลุ่มเสี่ยง
มปี ระวัติเสีย่ งตำ่ ให้ปฏิบตั ิ ดังนี้

19

กลุ่มเสีย่ งมีประวตั ิเสย่ี งสูง
- แยกนักเรยี นไปไว้ทีห่ อ้ งแยกซง่ึ งานอนามัยโรงเรียนจัดเตรยี มไว้
- บันทึกรายชอ่ื และอาการปว่ ย
- แจ้งผู้ปกครอง ใหม้ ารับนกั เรยี น แลว้ พาไปพบแพทย์
- แจ้งเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ ประเมนิ สถานการณ์ การสอบสวนโรค
- ทำความสะอาดจุดเสย่ี งและบรเิ วณโดยรอบ
- เก็บตัวอยา่ ง
- กักตวั อย่บู า้ น
- ติดตามอาการให้ครบ 14 วนั
- ครรู วบรวมขอ้ มูลและรายงานผลใหผ้ ้บู ริหารสถานศึกษาผ้เู กย่ี วข้อง

กล่มุ เส่ียงมปี ระวตั ิเสี่ยงต่ำ
- แยกนักเรยี นไปไวท้ ่หี อ้ งแยกซึง่ งานอนามัยโรงเรยี นจดั เตรยี มไว้
- บนั ทึกรายชือ่ และอาการปว่ ย
- แจง้ ผู้ปกครอง ให้มารับนักเรียน แล้วพาไปพบแพทย์
- แจง้ ทอ้ งถน่ิ ทำความสะอาด จุดเส่ียงและบรเิ วณโดยรอบ
- ติดตามอาการให้ครบ 14 วัน
- ครูรวบรวมข้อมลู และรายงานผลใหผ้ บู้ ริหารสถานศกึ ษา ผ้เู ก่ียวขอ้ ง

โรงเรียนบางกะปิ มีการกำหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบสำหรับบุคลากรและนักเรียนที่สงสัยติดเช้ือ
หรือป่วยด้วยโรคโควิด-19

1. โดยไม่ถือเป็นวันลาหรือวันหยุดเรียน โดยนำหลักฐาน ใบรับรองแพทย์มายืนยัน เพื่อกลับเข้าเรียน
ตามปกติ โดยไม่ถือว่าขาดเรียนหรือขาดงาน และมีการกักตัวผู้ใกล้ชิดกับผู้ป่วยตามเกณฑ์ควบคุมโรคและ
ดำเนินการช่วยเหลอื เช่นเดยี วกบั ผู้ปว่ ย

2. ตรวจสอบการสวมหน้ากาก (Check mask) ของบุคคลทุกคนที่เข้ามาในสถานศึกษา ครู นักเรียน
บุคลากรและผู้มาติดต่อราชการสวมใส่หน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยูใ่ นโรงเรียน และครูจะต้อง
ใส่เฟซชิลด์ (Face Sheild) ขณะปฏิบัติการสอน โดยจะต้องนำหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยมาโรงเรียนอย่าง
น้อย 2 ชิ้น หากนักเรียนหรือผู้มาติดต่อราชการที่โรงเรียนลืมหรือไม่ได้เอามา สามารถขอจากทางโรงเรียนได้ซ่ึง
โรงเรียนจัดหนา้ กากผา้ และหนา้ กากอนามยั ไว้สำรองให้

3. จัดให้มีจุดล้างมือด้วยสบู่เหลวล้างมือแอลกอฮอล์เจลอย่างเพียงพอ ให้ผู้รับการตรวจคัดกรองล้างมือ
ด้วยสบู่และน้ำหรือใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือ โรงเรียนได้จัดให้มีอ่างล้างมือจำนวน ที่มีเพียงพอต่อ
นักเรียนละบุคลากรในโรงเรียน เพื่ออำนวยความสะดวกและสุขอนามัยที่ดีคือการล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ
หรือเจลแอลกอฮอลท์ ำความสะอาดมือและในแต่ละจดุ จะมีป้ายแสดงการล้างมือที่ถูกวธิ ีอยา่ งน้อย 20 วินาที ดังน้ี

20

- บริเวณทางเข้าสถานศึกษา บริเวณทางขึ้นอาคารสำนักงานและบริเวณต่างๆ ของโรงเรียน
นอกจากนี้ยังมีเจลแอลกอฮอล์ หน้าห้องสำนักงาน ห้องพักครู ห้องประชุม และทางขึ้นอาคารอย่างน้อยสถานท่ี
ละ 1 ขวด

4. การเว้นระยะห่างในห้องเรียน เน้นจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนเดียวกันตลอดทั้งวัน เนื่องจาก
โรงเรียนบางกะปิเป็นขนาดใหญ่พิเศษที่มีจำนวนนักเรียนมากในระดับหนึ่ง ซึ่งห้องเรียนและพื้นที่มีจำกัด จึงใช้
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) รูปแบบที่ 1 การสลับชั้นมาเรียนของ
นักเรียน แบบสลับชั้นมาเรียน โดยกลุ่มนักเรียนที่มาเรียน นักเรียนจะเรียนประจำชั้นเรียน แต่ละห้องเรียนจะมี
จำนวนนักเรียน 20 - 25 คน และภายในห้องเรียนมีการจัดห้องเรียนแบบเว้นระยะห่าง 1 – 2 เมตร ส่วนกลุ่มท่ี
เรยี นทบ่ี ้าน เรยี นผ่านระบบออนไลน์ (Online)

5. เนน้ การทำความสะอาดพืน้ ผิวสัมผสั ตา่ ง ๆ ที่ใชร้ ่วมกนั จดั ใหม้ กี ารดแู ลอาคารสถานที่และยานพาหนะ
ดงั นี้

- ทำความสะอาดหอ้ งและบรเิ วณทม่ี ีการใช้บริการรว่ มกันทุกวัน ด้วยน้ำผสมผงซกั ฟอกหรือน้ำยา
ทำความสะอาดทั่วไป ได้แก่ ห้องเรียน สำนักงาน โรงอาหาร ห้องประชุม ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี
ห้องเก็บอุปกรณ์กีฬา ราวบันได ลูกบิดประตู โต๊ะ เก้าอี้ พนักพิง อุปกรณ์ ดนตรี กีฬา คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

- รถโรงเรียน ก่อนและหลังให้บริการแต่ละรอบให้เปิด หน้าต่างและประตู เพื่อถ่ายเทระบาย
อากาศภายในรถและทำความสะอาดในจุดที่มีการสัมผัสบ่อย ได้แก่ ราวจับ ที่เปิดประตู เบาะนั่ง ที่วางแขน ด้วย
น้ำผสมผงซกั ฟอกหรือนำ้ ยาทำความสะอาดและปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำบนฉลาก

- เปิดประตู หน้าต่าง เพื่อระบายอากาศห้องที่มีการใช้งานร่วมกัน เช่น ห้องเรียน สำนักงาน
โรงอาหาร หอ้ งประชมุ ห้องสมุด หอ้ งคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี ห้องเก็บอปุ กรณก์ ีฬา หากมีเครื่องปรบั อากาศให้ทำ
ความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ

- ห้องสุขาทำความสะอาดบริเวณที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ ทำความสะอาด อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
ด้วยน้ำยาทำความสะอาดหรือน้ำยาที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ได้แก่ พื้นห้องส้วม
โถส้วม ที่กดชักโครก หรือโถปัสสาวะ สายฉีดชำระ กลอนหรือลูกบิดประตู ฝารองนั่ง ฝาปิดชักโครก ก๊อกน้ำ
อา่ งลา้ งมอื และปฏิบตั ิตามคำแนะนำบนฉลาก

- ซักผ้าสำหรับเช็ดทำความสะอาดและไม้ถูพื้น ด้วยน้ำผสมผงซกั ฟอก หรือน้ำยาฆ่าเชื้อ ซักด้วยน้ำ
สะอาดอกี ครัง้ และนำไปผึง่ ตากแดดใหแ้ ห้ง

6. ลดความแออัด ไม่จัดกิจกรรมที่เกิดการรวมกลุ่มของนักเรียน ได้มีการจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล
อย่างน้อย 1 - 2 เมตร เช่น ระหว่างโต๊ะเรียน ที่นั่งเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร ที่นั่งพัก ทางเดิน จุดพักคอย การแบ่ง
จำนวนนักเรียนเป็น 2 กลุ่ม การควบคุมจำนวนนักเรียนที่มาร่วมกิจกรรม ลดแออัด ลดเวลาทำกิจกรรมให้สั้นลง
มีการจัดการเหลื่อมเวลาทำกิจกรรม โดยถือหลักหลีกเลี่ยงการติดต่อสัมผัสระหว่างกันและการใช้พื้นที่ใช้สอย
บริเวณสถานศึกษา โดยยดึ หลกั Social distancing และมีการทำสญั ลักษณแ์ สดงจุดตำแหนง่ ชดั เจนในการจัดเว้น
ระยะห่างระหวา่ งกัน

21

7. จัดใหค้ วามรู้แกค่ รู “รอบรู้โควดิ ” ในโรงเรยี นเพอ่ื รองรับสถานการณโ์ ควิด-19 โดยบุคลากรสาธารณสุข
- โรงเรียนมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ

เบ้อื งต้นเกี่ยวกบั โรคโควดิ -19 ทักษะการลา้ งมือการสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย สุขลักษณะส่วนบคุ คลท่ีดี
รวมทัง้ การทำความสะอาดอย่างถูกวธิ ี

- มกี ารประชุมชีแ้ จงคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
- มีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมรองรับนโยบายและแนวทางการป้องกันโรคโควิด-19
ของสถานศึกษา แต่งตั้งคณะทำงานรับผิดชอบเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา ประกอบด้วย ครู บุคลากร
สถานศกึ ษา นกั เรียน ผู้ปกครอง เจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ และผูเ้ ก่ยี วข้อง
- กำหนดบทบาทหน้าที่ โดยมอบหมายครู ครูอนามัยหรือ บุคลากรของสถานศึกษาทำหน้าที่คัดกรอง
วัดไข้นักเรียน สังเกต สอบถามอาการเสี่ยง และประสานงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ให้บริการในห้อง
พยาบาลดแู ลทำความสะอาดในบรเิ วณสถานศกึ ษาและบรเิ วณจดุ เส่ียง
- โรงเรียนได้ทำประชาสัมพันธ์สื่อสารทำความเข้าใจกับบุคลากร นักเรียนทุกฝ่าย ให้ข้อมูลที่ให้
ความเชื่อมั่นในมาตรการป้องกันและการดูแลตามระบบการดูแลช่วยเหลือในสถานศึกษา โดยเฉพาะการ
ระมัดระวงั การสื่อสารและคำพดู ท่ีมีผลต่อทัศนคติ เพือ่ ลดการรงั เกียจ การตตี ราทางสงั คม (Social stigma) กรณี
ทอ่ี าจพบบุคลากรในสถานศึกษา นกั เรียน ผ้ปู กครองตดิ โรคโควดิ -19
8. ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมกับโรงเรียนในการป้องกันโรคและการปฏิบัติตัวเพื่อ
ปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเช้ือ โรงเรียนไดจ้ ดั โครงการเยยี่ มบา้ นนกั เรียนก่อนเปดิ เรียน เพ่ือประชาสมั พันธ์ ให้ความรู้
และขอความร่วมมือในการดูแลนักเรียนที่อยู่ในการปกครองเพื่อร่วมป้องกันและแพร่เชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019
เมื่อถึงวันเปิดเรียน พร้อมทั้งมอบเอกสารการปฏิบัติตน มาตรการและหน้าที่บทบาทของผู้ปกครอง การรับ – ส่ง
การเรียนออนไลน์ที่บ้าน การติดตามขอ้ มลู ข่าวสาร สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 และสงั เกตอาการ
ปว่ ยของบตุ รหลาน เป็นตน้

ระหว่างเปิดภาคเรียน
1) การเขา้ แถวเคารพธงชาติ ดังน้ี
- การจัดพื้นที่เข้าแถว ให้มีการเว้นระยะหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร กรณีมีพื้นที่จํากัดไม่

เพียงพออาจพิจารณาสลับชน้ั เรียนมาเข้าแถวบริเวณหน้าเสาธง หรือจัดให้มีการเข้าแถวบรเิ วณท่ีมีพ้ืนท่ีกว้างขวาง
เช่น หน้าห้องเรยี น หรือภายในห้องเรยี นท่ีมีการเว้นระยะห่างระหว่างโต๊ะเรยี น ลานอเนกประสงค์ ลานสนามกีฬา
หอประชมุ เป็นต้น

- ครู และนักเรียนทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาเข้าแถวเคารพ
ธงชาติ

- ลดระยะเวลาการจัดกิจกรรมหน้าเสาธง กรณีมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ควรใช้ช่องทางอื่น ๆ
เช่น เสียงตามสาย ผ่านออนไลน์ Line, Facebook แจ้งในห้องเรียน เป็นต้น

22
- ทำความสะอาดอปุ กรณ์ของใช้หรือจดุ สมั ผสั เสีย่ ง ภายหลังการใช้งานทกุ ครง้ั เช่น เชือกทีเ่ สาธง
ไมโครโฟน เป็นต้น

2) การเขา้ ชนั้ เรยี น
- ก่อนเขา้ ชน้ั เรียนต้องล้างมือดว้ ยเจลแอลกอฮอล์
- ครตู รวจเช็คนกั เรียนทุกคนให้สวมหน้ากากอนามยั หรอื หน้ากากผ้า

3) ระหว่างอยู่ในชัน้ เรยี น
- ครู นักเรียนต้องใส่หน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้าขณะจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
- นักเรียนนั่งเรียนที่โต๊ะเรียนของตนเอง ซึ่งมีการเว้นระยะห่างอย่างน้อย 1.5 เมตร งดการยืม

ของใช้อุปกรณก์ ารเรียนกนั
- หลกี เลยี่ งกจิ กรรมท่ตี ้องสมั ผัสแตะต้องตวั
- ทำความสะอาดอุปกรณ์ประกอบการสอน เช่น mouse คอมพิวเตอร์ ปากกา smart board ฯลฯ

อยู่เสมอท้งั กอ่ นใช้งานและหลังใช้งาน รวมถงึ อปุ กรณส์ ่ือการสอนทีเ่ ดก็ ตอ้ งหยบิ
- ครูผู้สอนสังเกตอาการเด็กนักเรียนในชั้นเมื่อพบเด็กมีอาการผิดปกติไม่สบาย มีการตรวจวัด

อณุ หภมู ิร่างกายโดยใช้เครื่องมอื วัดแบบมอื ถือจ่อหน้าผาก หากพบมไี ข้ให้สง่ ตอ่ หอ้ งพยาบาล

4) ชว่ งพัก
- เพิ่มครูเวรสังเกตดูการเล่นของนักเรียน ถ้าพบเห็นมีกิจกรรมใดที่เสี่ยงต่อการระบาดของโรค

ควรเข้าไปให้คำแนะนํา

23

- มีการเหลื่อมเวลาพักเพื่อลดความแออัด และไม่จัดกิจกรรมที่เกิดการรวมกลุ่มของนักเรียน
- แนะนํานักเรียนให้ล้างมือด้วยสบู่เหลวหรือเจลแอลกอฮอล์ ก่อนเข้าห้องเรียนทุกคร้ัง
5) การรบั ประทานอาหารกลางวัน
- ล้างมอื บ่อยๆ ด้วยสบู่และน้ำหรอื ใช้เจลแอลกอฮอร์ทำความสะอาดมือทกุ คร้ังก่อนเขา้ ไปในโรงอาหาร
ก่อนกินอาหาร ภายหลังซื้ออาหาร หลังจากจับเหรียญหรือธนบตั ร หลังจากสัมผัสสิ่งสกปรกหรือหลังออกจากห้องสุขา
- ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในโรงอาหารหรือเข้าไปใน
สถานทจ่ี ำหน่ายอาหาร
- เลือกซ้ืออาหารปรงุ สำเรจ็ สุกใหม่
- เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการรอซื้ออาหาร ขณะนั่งกินอาหาร
โดยนัง่ บริเวณโตะ๊ ก้ันอาหาร 4 มมุ 4 คน
- การรบั ประทานอาหารกลางวันแต่ละระดบั ชั้นมีการเหล่ือมเวลาพักรับประทานอาหารกลางวัน
เพอื่ ลดความแออัด

6) การเจบ็ ป่วยระหว่างเรยี น
- ครูประจำชั้น/ครูประจำวิชา พบนักเรียนมีอาการดังต่อไปนี้ มีไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก หายใจ

เหนื่อยหอบ ส่งตอ่ ไปทหี่ ้องพยาบาลหรอื หอ้ งแยกกักตวั เพ่อื ตรวจสอบประเมินอาการนกั เรยี นเบอื้ งต้น
- ครูงานอนามยั ซักประวตั ิซ้ำ ตรวจสอบอาการว่าอยู่ในเกณฑ์ *PUI หรือไม่
- หากอยู่ในเกณฑ์ PUI ตดิ ต่อผู้ปกครองให้มารับเพอื่ ไปพบแพทย์
- หากไม่อยู่ในเกณฑ์ PUI ให้นอนพักที่ห้องพยาบาล ถ้าอาการดีขึ้นให้กลับมาห้องเรียนได้
- ครูงานอนามัย ติดตามข้อมูลอาการของนักเรียนและสรุปรายงานประจำวันส่งฝ่ายบริหาร
- เมื่อนักเรียนหายป่วยแล้ว และจะกลับเข้าเรียนตามปกติ ให้นักเรียนนําหลักฐานใบรับรอง

แพทย์มายืนยันกับโรงเรียนทุกคร้ัง

24

มาตรการก่อนเข้าเรยี นและหลังเลกิ เรยี น
การผ่านจดุ คดั กรองก่อนเข้าเรยี น

1) นกั เรียนและครูทกุ คนต้องผ่านจดุ คัดกรองของโรงเรยี น มขี น้ั ตอนดงั น้ี
- ยืนรอควิ ตามสญั ลกั ษณ์ (เว้นระยะห่าง 1 เมตร) กอ่ นเขา้ จดุ คดั กรอง
- ตรวจเชค็ การสวมหน้ากากอนามยั หรอื หน้ากากผ้า
- วดั อุณหภมู ริ ่างกาย ด้วยเครอื่ งวดั อุณหภมู ิ
- ล้างมือดว้ ยเจลแอลกอฮอล์ หรือสบู่
- ลงทะเบียนแบบคัดกรองผา่ น “ไทยชนะ”

การปฏบิ ตั หิ ลังเลกิ เรียน
1) ทำความสะอาดผิวสัมผัสต่าง ๆ ในห้องเรียน เช่น โต๊ะ เก้าอ้ี คอมพิวเตอร์ รีโมท ฯลฯ ควรใช้ผ้าชุบ

น้ำยาทำความสะอาดเช็ดถู (ไม่ควรใช้เครื่องพ่นยาฆ่าเชื้อโรค เพราะจะทำให้เกิดการฟุ้งกระจายของเชื้อได้
2) ทำความสะอาด ลูกบิดประตู ราวบนั ได ด้วยผ้าชุบน้ำยาฆ่าเช้อื
3) ลดการแออัดของผู้ปกครองที่มารอรับบตุ รหลาน โดยขอความร่วมมือให้รักษาระยะห่างนง่ั พักที่ จุดพัก

รอทีม่ สี ญั ลักษณ์ เว้นระยะห่าง
4) สรุปสถานการณ์ แตล่ ะวัน โดยงานอนามยั รายงานเปน็ อาทิตย์ เหตุการณ์ต่างๆในช่วงการแพร่ระบาด

ของเช้อื ไวรสั โคโรนา

25

มาตรการเปิดภาคเรียน/ระหว่างปดิ ภาคเรียน ก่อนเข้าเรยี นและหลงั เลิกเรยี น

โรงเรยี นบางกะปิได้จดั การเรียนการสอนให้ครบหลักสูตรตามความเหมาะสม เชน่
- กรณีมาเรียนที่โรงเรียน เน้นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีเนื้อหา เชิงวิเคราะห์ และภาคปฏิบัติที่ต้อง

ใชอ้ ปุ กรณ์และมคี รดู ูแล เนน้ การลงปฏบิ ัติกิจกรรมดว้ ยตนเอง
- กรณีเรียนอยู่ที่บ้าน เน้นเนื้อหาที่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และปฏิบัติงานตามที่ครู

มอบหมาย เช่น เรียนรจู้ ากแบบเรียน ใบความรู้ ส่ือการสอนทางไกลผา่ นโทรทัศน์ หรือทาง On-Line
- กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ครูชี้แจง วัตถุประสงค์การเรียนรู้กับผู้ปกครองและนักเรียนอาจเรยี นรูจ้ ากการช่วยของผู้ปกครองทำงานบ้านหรอื
ประกอบอาชีพเท่าที่ทำได้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา อาจให้นักเรียนดูแลสุขภาพและออกกำลังกาย
ที่บ้านแล้วบันทึกการปฏิบัติส่งครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ บางภาระงานให้นักเรียนปฏิบัติที่บ้าน เป็นต้น

- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรม นักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ มีวิธีการจัดกิจกรรม หรือบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอน ทั้งนี้ การเรียนรู้นอก
ห้องเรียน เช่น การเรียนด้วยระบบการสอนทางไกล ผ่านโทรทัศน์ หรือช่องทางการ เรียนอื่น ๆ เช่น Online
การศึกษาจากแบบเรียนหรือใบความรู้ สามารถนำมานับเวลาเรียนได้ การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน
มกี ารนำกระบวนการจดั การเรียนรู้ ที่เนน้ ฝึกกระบวนการคิด ให้นกั เรียนเรยี นรู้จากการลงมอื ปฏิบตั ิมากกว่าการฟัง
บรรยายเพียงอย่างเดยี ว จากเดิมเริ่มท่ีครสู อนในห้องเรียน แล้วมอบการบ้านให้ไปทำท่ีบา้ น เปลี่ยนเป็นครูกำหนด
ประเด็นหรือหัวข้อ พร้อมทั้งให้แหล่งข้อมูล นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองล่วงหน้า เมื่อมาเรียนในห้องเป็ น
การอภิปราย ถกแถลงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกให้เกิดการเรียนรู้
การตรวจสอบความเข้าใจการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นสิ่งสำคัญ มีการดำเนินการเป็นระยะ โดยสังเกตดูจากการ
แสดงความคดิ เห็นการทำกิจกรรมระหวา่ งเรียน การทำแบบฝกึ การสรปุ การเรียนรู้ เชน่ Mind Map เปน็ ต้น

การจัดประสบการณ์สำหรับนักเรียน โดยเลือกใช้เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรม หรือผสมผสานกิจกรรม
แบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมพัฒนาการนักเรียนทุกด้าน โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้สนับสนุนและอำนวยความสะดวก
สำหรับการกำหนดตารางหรือกิจวัตรประจำวันและสิ่งแวดล้อมในห้องเรียนให้คำนึงถึงการรักษาความปลอดภัย
ของนกั เรียนเปน็ สำคัญ

รปู แบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน
เนื่องจากโรงเรียนบางกะปิเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีห้องเรียนจำนวน 81 ห้อง และห้องศูนย์ต่างๆ

แต่ละพื้นที่มีพื้นท่ีจำกัดและโรงเรียนที่มีการจัดการเรียนจึงใช้รูปแบบการจัดการเรียนการใช้แบบผสมผสาน
(Blended Learning) รูปแบบที่ 1 การสลับชั้นมาเรียนของนักเรียน แบบสลับมาเรียน แบ่งเป็นรูปแบบออนไซต์
(On-site) และแบบออนไลน์ On-Air/Online ที่บ้าน ระดับละ 1 อาทิตย์ สลับไปมา ทั้งนี้ ครูผู้สอนในแต่ละ
รายวิชามีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ล่วงหน้า มีการมอบหมายภาระงานในวันที่มาเรียนที่โรงเรียน On-site,

26

On-Air/Online และผ่านชอ่ งทางสอ่ื สารต่างๆ อาทิ กลมุ่ Line/Facebook/Google Classroom/Zoom/Google
Meet เปน็ ตน้

บทบาทและหน้าท่ี
บทบาทของครูดแู ลนักเรียน

1. บทบาทของครู
1.1 บทบาทของครูในกิจกรรมการเรียนการสอน มดี งั น้ี
1) การปฏิบัติงานสอน วันที่นักเรียนมาเรียน ครูปฏิบัติหน้าที่จัดการเรียนการสอนตาม

ตารางสอนท่ีโรงเรยี นกำหนด วนั ทน่ี กั เรยี นไม่มาเรียนหรือคาบว่าง
1.1.1 ทำหนา้ ที่เปน็ ครชู ่วยสอนให้กับครูทีท่ ำการสอนปกติ
1.1.2 ประสานกับนักเรียนและผู้ปกครองเพื่อ ติดตาม การเรียน การทำงาน หรือภาระ

งานทีค่ รมู อบหมาย
2) การจัดตารางเรียนตารางสอนดำเนินการจัดตารางเรียนตามปกติ โดยตารางสอนของครูและ

ตารางเรียนของนกั เรียนเป็นตารางชุดเดียวกัน
3) การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีการวางแผนแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อยกลุ่มละ 20 คนหรือไม่

เกิน 25 คน ตอ่ ครูผู้สอน 1 ท่าน
4) การช่วยเหลือนักเรียนที่ไม่มีความพร้อมหรือไม่สามารถเข้าถึงการจัดการเรียนการสอน

ทางไกล โรงเรียนกำหนดให้มีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อสำรวจสภาพปัจจุบัน ปัญหา/อุปสรรคในการเรียน
การสอนทางไกล ครูที่ปรึกษาจัดทำข้อมูลนักเรียนและส่งข้อมูลให้กับกลุ่มบริหารวิชาการสรุปข้อมูลให้ ความ
ชว่ ยเหลือเป็นรายกรณแี นวทางการใหค้ วามช่วยเหลอื

4.1 ประสานเขตพื้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขอความอนุเคราะห์ให้นักเรียนได้ใช้
สญั ญาณอินเทอร์เนต็ ในการเรยี นทางไกล

4.2 ประสานขอกล่องรับสัญญาณดิจิทัลทีวีจากหน่วยงานต้นสังกัด แนวทางการจัดการ
เรียนการสอน

4.2.1 ครูจดั ทำข้อมลู นักเรยี นเปน็ รายบคุ คล
4.2.2 ครจู ดั ทำชุดการสอน ใบกิจกรรม ใบความรู้ ใบงาน ฯลฯ มอบหมาย

ใหใ้ นวนั ทมี่ าเรยี นทโี่ รงเรยี น (On-Site)
4.2.3 ครูใช้ชอ่ งทางการส่ือสารกบั นักเรียนและผู้ปกครองผา่ น

Line/Facebook โทรศัพท์หรือชอ่ งทางอ่ืน ๆ อธิบายเพมิ่ เติมหรือ
ตอบคำถามนกั เรยี น
4.2.4 ครูผู้สอนมอบหมายให้เพื่อนที่อยู่หมู่บ้านเดียวกันหรือใกล้เคียงให้ความ
ชว่ ยเหลอื
4.2.5ครูวดั ผลและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ตามความพร้อมและบรบิ ทของนกั เรยี น

27
5) การจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนที่ป่วย กักตัว ทางโรงเรียนใช้วิธีการออกเยี่ยมบ้าน
ส่งมอบใบงาน/ใบความรู้/บทเรียนสำเร็จรูป มีการติดตามและขอความร่วมมือจากผู้ปกครองในการกำกับ ดูแล
แนวทางการจัดการเรยี นการสอน
5.1 ครูผู้สอนทำความเข้าใจกับผู้ปกครองและนักเรียน การนับชั่วโมงเรียน การวัดผลและประเมินผลใน
ระหวา่ งพักรักษาตวั ช่วงกกั ตัว
5.2 ครจู ัดมอบหมายภาระงาน ชุดการเรยี น ใบงาน ใบกจิ กรรม แบบฝกึ หัดฯ ให้กบั นกั เรียน
5.3 กำหนดช่องทางการสื่อสารกับผู้ปกครองและนักเรียน เพื่ออธิบายเพิ่มเติม ตอบคำถาม นักเรียนและ
ผปู้ กครอง

แนวปฏิบัตสิ ำหรบั ครผู ูด้ แู ลนักเรยี น
1. ติดตามขอ้ มลู ข่าวสาร สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พนื้ ที่เสีย่ งคำแนะนำการป้องกันตนเองและ

ลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของเช้ือโรคโควดิ -19 จากแหลง่ ขอ้ มูลท่ีเชื่อถอื ได้
2. สงั เกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ไอ มนี ้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ย หอบ ไม่ได้กล่ิน

ไม่รรู้ ส ให้หยดุ ปฏิบัติงานและรบี ไปพบแพทย์ทันที กรณมี ีคนในครอบครัวปว่ ยดว้ ยโรคโควดิ -19 หรอื กลับจากพื้นท่ี
เสยี่ งและอยใู่ นช่วงกกั ตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ อยา่ ง เคร่งครัด

3. แจ้งผู้ปกครองและนักเรียน ให้นำของใช้ส่วนตัวและอุปกรณ์ป้องกันมาใช้เป็นของตนเองพร้อมใช้เช่น
ชอ้ น ส้อม แก้วน้ำ แปรงสฟี ัน ยาสีฟนั ผ้าเชด็ หน้า หน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัย เป็นต้น

4. สื่อสารความรู้คำแนะนำหรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกัน และลดความเสี่ยงจากการ
แพร่กระจายโรคโควิด-19 ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก

28

อนามยั คำแนะนำการปฏิบตั ติ วั การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาด หลกี เล่ียงการทำกิจกรรมร่วมกัน
จำนวนมากเพอ่ื ลดความแออดั

5. ทำความสะอาดสื่อการเรียนการสอนหรืออุปกรณ์ของใช้ร่วมที่เป็นจุดสัมผัสเสี่ยงทุกครั้งหลังใช้งาน
6. ควบคุมดูแลการจัดทีน่ ั่งในหอ้ งเรียน ระหว่างโต๊ะเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร การจัดเว้นระยะห่างระหว่าง
บุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร และเหลื่อมเวลาพักทานอาหารกลางวันและกำกับให้นักเรียนสวมหน้ากากผ้าหรือ
หน้ากากอนามัยตลอดเวลา และล้างมอื บอ่ ย ๆ
7. ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัวหรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการติด
โรคโควิด 19 และรายงานตอ่ ผบู้ รหิ าร
8. ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคนท่เี ข้ามาในสถานศึกษาในตอนเช้าให้กับนักเรียน ครู บุคลากรและผู้
มาติดต่อ โดยใช้เครื่องวัดอุณหภูมิทางหน้าผากหรือฝ่ามือ พร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบ
ทางเดินหายใจ เช่น ไข้ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์
สตกิ เกอร์หรือตราปัม๊ แสดงใหเ้ ห็นชดั เจนวา่ ผ่านการคดั กรองแล้ว

- กรณีพบนักเรียนหรือผู้มีอาการมีไข้อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับ
อาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ให้รีบแจ้งผู้ปกครองมารับและพาไปพบ
แพทย์ให้หยุดพักที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ พร้อมแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อประเมินสถานการณ์และ
ดำเนินการสอบสวนโรคและแจ้งผู้บริหารเพื่อพิจารณาการปิดสถานศึกษาตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข

- บันทึกผลการคดั กรองและส่งต่อประวัตกิ ารป่วยตามแบบบันทึกการตรวจสขุ ภาพ
- จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณ ทางเข้า
สบู่ลา้ งมือบริเวณอ่างล้างมือ
9. กรณคี รสู ังเกตพบนักเรยี นทีม่ ีปญั หาพฤติกรรม เช่น เด็กสมาธสิ น้ั เดก็ ทมี่ ีความวิตกกงั วลสงู และนำเข้า
ข้อมูลที่สังเกตพบในฐานข้อมูล ด้านพฤติกรรมอารมณ์สังคมของนักเรียน เพื่อให้เกิดการดูแลช่วยเหลือร่วมกับ
ผูเ้ ชยี่ วชาญดา้ นสุขภาพจิตต่อไป
10. วธิ กี ารปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรยี นท่ีไมร่ ว่ มมือปฏิบัติตามมาตรการท่ีครูกำหนด ด้วยการแก้ปัญหา
การเรียนรใู้ หมใ่ หถ้ ูกตอ้ ง น่ันคือ “สร้างพฤติกรรมทพ่ี ึงประสงค์” หรือ “ลดพฤติกรรมท่ไี ม่พึงประสงค์”
11. ครูสื่อสารความรู้เกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติที่มีการแพร่
ระบาดของโรคโควิด-19 และนำกระบวนกาการจัดการความเครียด การฝึกสติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับ

29

นักเรียนและวัยร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ (Resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่
ทกั ษะชวี ติ ด้านอารมณ์สงั คมและความคดิ เป็นตน้

12. ครสู ังเกตอารมณค์ วามเครียดของตัวทา่ นเอง เน่อื งจากภาระหน้าที่การดแู ลนักเรียน จำนวนมาก และ
กำกับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคโควิด-19 เป็นบทบาทสำคัญ อาจจะสร้างความเครียด วิตกกังวล
ทั้งจากการเฝ้าระวังนักเรียนและการป้องกันตัวท่านเองจากการสัมผัสกับเชื้อโรค ดังนั้น เมื่อครู
มคี วามเครียดจากสาเหตุตา่ ง ๆ มีขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้

1) ความสบั สนมาตรการของสถานศกึ ษาที่ไมก่ ระจา่ งชดั เจน แนะนำใหส้ อบถามกบั ผูบ้ ริหาร หรอื
เพอ่ื นร่วมงาน เพ่อื ให้เข้าใจบทบาทหนา้ ท่ีและข้อปฏิบัติทต่ี รงกนั

2) ความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในสถานศึกษา พูดคุยสื่อสารถึงความไม่สบายใจ ร้องขอ
สิ่งจำเป็น สำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคโควิด-19 เช่น สถานที่สื่อการสอน
กระบวนการเรียนรู้การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากท่านเป็นกลุมเสี่ยง มีโรคประจำตัว สามารถเข้าสู่
แนวทางดแู ลบุคลากรของสถานศกึ ษา

3) จัดให้มีการจัดการความเครียด การฝึกสติเป็นกิจวัตรก่อนเร่ิมการเรียนการสอน เพื่อลดความ
วติ กกงั วลต่อสถานการณท์ ต่ี งึ เครยี ดน้ี

บทบาทของนักเรยี น
บทบาทของนักเรียนในกิจกรรมการเรียนรู้มีดังนี้ วันที่นักเรียนมาเรียน เข้าเรียนตามวันเวลา

ตามตารางสอนที่โรงเรียนกำหนด วันที่นักเรียนไม่มาเรียนหรือคาบว่าง ทำใบกิจกรรมใบงานและการบ้าน ที่ครู
มอบหมายในวันมาเรียน โดยเรียนผ่านระบบการเรียนทางไกล (On-Air) เรียนผ่านระบบออนไลน์ (Online) สลับ
ไปมาแตล่ ะชั้นเรยี น

แนวปฏบิ ัติสำหรบั นกั เรียน
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคโควิด-19 พื้นที่เสี่ยง คำแนะนําการป้องกัน
ตนเองและลดความเส่ียงจากการแพรก่ ระจายของโรคโควิด-19 จากแหล่งข้อมูลท่ีเช่อื ถือได้
2. สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลําบาก เหนอื่ ยหอบ ไม่ได้กล่ิน
ไม่รู้รส รีบแจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์กรณีมีคนใน ครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด-19 หรือ กลับจาก
พ้นื ทเี่ สยี่ งและอย่ใู นช่วงกกั ตวั ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามคำแนะนําของเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุขอย่างเคร่งครดั
3. มแี ละใช้ของใช้ส่วนตวั ไม่ใชร้ ว่ มกบั ผอู้ ื่น เชน่ ชอ้ น ส้อม แกว้ น้ำ หน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัยและ
ทำความสะอาดหรือเก็บใหเ้ รยี บร้อยทุกครั้งหลังใชง้ าน
4. สวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศึกษา
5. หมัน่ ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ ดว้ ยวิธลี า้ งมอื 7 ข้นั ตอน อยา่ งน้อย 20 วนิ าที
ก่อนกนิ อาหาร หลงั ใช้ส้วม หลีกเล่ียง ใชม้ อื สมั ผสั ใบหนา้ ตา ปาก จมกู
โดยไม่จาํ เป็น รวมถงึ สร้างสุขนิสยั ทดี่ ี หลงั เลน่ กบั เพื่อน เม่อื กลับ

30

มาถงึ บา้ นต้องรบี อาบนำ้ สระผม และเปลีย่ นเส้ือผ้าใหมท่ ันที
6. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการทำกิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก และหลัง

เลกิ เรียน เช่น นง่ั กนิ อาหาร เล่นกับเพือ่ น เขาแถวต่อคิว ระหวา่ งเดินทางอยบู่ นรถ
7. หลีกเล่ยี งการไปในสถานท่ีที่แออัดหรอื แหลง่ ชมุ ชนทเ่ี ส่ียงตอการติดโรคโควิด-19
8. กรณีนักเรียนดื่มน้ำบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทำเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เฉพาะ ไม่ให้

ปะปนกับของคนอืน่
9. ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรุงสุก ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่และผัก เสริมสร้าง

ภูมคิ มุ้ กัน ควรเสริมอาหารเช้าจากบ้านหรือให้ผู้ปกครองจัดเตรียมอาหารกล่องกินที่โรงเรียนแทน รวมถงึ ออกกําลังกาย
อยา่ งน้อย 30 นาที ทกุ วนั และนอนหลับอย่างเพยี งพอ 8 - 10 ชัว่ โมงต่อวัน

10. กรณีนักเรียนขาดเรียนหรือถูกกักตัว ควรติดตามความคืบหน้าการเรียนอย่างสม่ำเสมอ ปรึกษาครู
เช่น การเรยี นการสอน ส่ือออนไลนอ์ า่ นหนงั สอื ทบทวนบทเรยี น และทำแบบฝึกหัดทบ่ี า้ น

11. หลีกเลี่ยงการล้อเลียนความผิดปกติหรืออาการไม่สบายของเพื่อน เนื่องจากอาจจะก่อให้เกิดความ
หวาดกลวั มากเกนิ ไปตอ่ การป่วยหรือการติดโรคโควดิ -19 และเกิดการแบง่ แยกกีดกนั ในหมนู่ กั เรียน

บทบาทหนาท่ขี องนกั เรียนแกนนำดา้ นสุขภาพ
นักเรียนทมี่ จี ติ อาสาและสภานักเรียน ทำหนา้ ทีเ่ ป็นอาสาสมคั รช่วยดูแลสุขภาพเพ่ือนนักเรยี นด้วยกันหรือ

ดูแลรนุ่ น้องด้วย โดยมบี ทบาทหน้าทด่ี งั นี้
1. ตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรค พน้ื ทีเ่ ส่ยี ง คำแนะนาํ การปอ้ งกนั ตนเองและ

ลดความเสย่ี งจากการแพร่กระจายของโรคโควดิ -19 จากแหลง่ ขอ้ มลู ทเี่ ช่อื ถอื ได้
2. ชว่ ยครูตรวจคดั กรองวดั อุณหภูมิร่างกายของนักเรยี น ทุกคนท่ีมาเรียนในตอนเชา้ บรเิ วณทางเข้าโดยมี

ครดู แู ลใหค้ ำแนะนาํ อยา่ งใกลช้ ดิ เนน้ การจดั เวน้ ระยะหา่ ง ระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 – 2 เมตร
3. ตรวจดูความเรียบร้อยของนักเรียนทุกคนที่มาเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

หากพบนักเรียนไมไ่ ด้สวมให้แจ้งครผู ู้รบั ผดิ ชอบเพื่อจัดหาหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั สาํ รองให้
4. เฝา้ ระวงั สงั เกตอาการของนักเรยี น หากมีอาการไข้ไอ มนี ำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลาํ บาก เหน่อื ยหอบ ไมไ่ ด้

กลนิ่ ไมร่ ูร้ ส ใหร้ ีบแจง้ ครูทันที
5. จัดกจิ กรรมสื่อสารใหค้ วามร้คู ำแนะนําการป้องกันและลดความเสีย่ งจากการแพร่กระจาย โรคโควดิ -19

แกเ่ พอื่ นนักเรยี น เชน่ สอนวิธกี ารลา้ งมือท่ีถูกต้อง การทำหนา้ กากผ้า การสวมหน้ากาก การถอดหน้ากากผ้ากรณี
เก็บไว้ใช้ต่อการทำความสะอาดหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล จัดทำป้ายแนะนําต่าง ๆ

6. ตรวจอุปกรณ์ของใส่ส่วนตัวของเพื่อนนักเรียนและรุ่นน้องให้พร้อมใช้งาน เน้นไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น
จาน ช้อน สอ้ ม แกว้ นำ้ ผ้าเชด็ มอื ของตนเอง

7. จัดเวรทำความสะอาดห้องเรียน ห้องเรียนร่วม และบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยงทุกวัน เช่น ลูกบิด ประตู
กลอนประตู ราวบันได สนามเดก็ เล่น อปุ กรณ์กีฬา เครือ่ งดนตรี คอมพิวเตอร์

8. เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ด้วยการสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก

31

อนามัยล้างมือบอ่ ย ๆ กินอาหารใช้จาน ช้อน สอ้ ม แก้วนำ้ ของตนเอง การเวน้ ระยะหา่ ง เป็นตน้ โดยถอื ปฏิบัติเป็น
สุขนิสัยกจิ วัตรประจำวันอย่างสมำ่ เสมอ

มาตรการและแนวทางในการดแู ลนักเรยี นของผ้ปู กครอง
1. เตรยี มอาหารเช้าใหน้ กั เรยี นรับประทานก่อนมาโรงเรียน
2. จดั เตรยี มอุปกรณก์ ารเรียนส่วนตวั และหนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามยั ใหน้ ักเรียน
3. การเดินทางมาโรงเรยี นของนกั เรียน
- กรณีนักเรียนเดินทางโดยรถตู้โดยสาร โรงเรียนต้องมีมาตรการ ขอความร่วมมือกับ
คนขับรถ ในการใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้งขณะขับรถ ทำความสะอาดรถ เบาะที่นั่ง ก่อนรับนักเรียน
ในชว่ งตอนเช้า และส่ง นักเรียนในชว่ งตอนเยน็ อย่างเคร่งครัด โดยทางโรงเรยี นกำชับ การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
ในสัดส่วนท่สี ามารถฆ่าเชอ้ื โรคไวรัสโคโรนา 2019 ได้
- กรณีผู้ปกครองมาส่งด้วยตัวเอง โรงเรียนกำหนดมาตรการขอความร่วมมือจาก
ผู้ปกครอง ในการใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้งที่มาส่ง นักเรียน และทำตามกฎระเบียบของโรงเรียนอย่าง
เคร่งครดั
- เมื่อนักเรียนเดินทางถงึ โรงเรียน กรณีที่ผู้ปกครองมาส่งที่โรงเรยี นและมคี วามประสงค์
ขอเข้า บริเวณโรงเรียน โรงเรียนจะจัดพื้นที่สำหรับผู้ปกครองบริเวณหนา้ โรงเรยี นใหเ้ ป็นสัดส่วน มีการคัดกรอง
ตรวจเช็คอุณหภูมิ และใช้แอลกอฮอลเ์ จล โดยเนน้ มาตรการทางสาธารณสุขอย่างเคร่งครัดและปฏิบัติตาม
กฎระเบียบของโรงเรยี นอยา่ งเครง่ ครดั

บทบาทของผ้ปู กครอง
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 พื้นที่เสี่ยง คำแนะนําการป้องกัน

ตนเอง และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโรคจากแหล่งข้อมูลทเ่ี ชื่อถือได้
2. สงั เกตอาการป่วยของบุตรหลาน หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้

กลิ่น ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่นกับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกวาจะหายเป็นปกติ
กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด-19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนําของ
เจา้ หนา้ ที่สาธารณสุขอย่างเคร่งครดั

3. จัดหาของใช้ส่วนตัวให้บุตรหลานอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผ้า
ชอ้ น สอ้ ม แก้วน้ำ

4. จัดหาสบ่หู รอื เจลแอลกอฮอล์และกำกบั ดูแลบุตรหลานให้ลา้ งมือบอ่ ย ๆ กอ่ นกินอาหารและหลงั
ใช้ส้วม หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็นและสร้างสุขนิสัยที่ดี หลังเล่นกับเพื่อนและ
เมือ่ กลบั มาถึงบ้าน ควรอาบนำ้ สระผม และเปลีย่ นชุดเสือ้ ผ้าใหมท่ ันที

5. หลกี เล่ยี งการพาบตุ รหลานไปในสถานเสยี่ งต่อการตดิ โรคโควดิ -19 สถานทีแ่ ออัดทมี่ กี ารรวมกันของคน
จำนวนมาก หากจำเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ด้วย วิธีการ 7 ขั้นตอนด้วยสบู่

32

และน้ำนาน 20 วินาทีหรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์
6. ดูแลสุขภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรุงสุกใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่

และผักผลไม้ และควรจัดอาหารกล่องให้แก่นักเรียนในช่วงเช้า แทน การซื้อจากโรงเรียน (กรณีที่ไม่ได้กินอาหาร
เช้าจากท่ีบ้าน) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกําลังกายอย่างน้อย 60 นาทีทุกวัน และนอนหลับอย่างเพียงพอ
8 - 10 ชัว่ โมงตอ่ วนั

7. กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกลออนไลน์ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการดูแล
จัดการเรยี นการสอนแกน่ กั เรียน เชน่ การส่งการบ้าน การร่วมทำกิจกรรม เปน็ ต้น

มาตรการและแนวทางในการดแู ลด้านอนามยั และสง่ิ แวดลอ้ มของโรงเรียน
1. เมื่อมาถึงโรงเรียนนักเรียนต้องใส่หน้ากากอนามัย ตรวจวัดอุณหภูมิ มีการเว้นระยะห่าง
2. งดกจิ กรรมหน้าเสาธง
3. ในห้องเรยี นจดั โตะ๊ เกา้ อ้ี จำนวนไม่เกิน 25 ชุด เวน้ ระยะหา่ ง 1-2 เมตร มีฉากก้นั
4. ทำความสะอาดห้องเรียน โต๊ะเรียน และเก้าอี้ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ มีการบันทึกข้อมูลอย่าง

เคร่งครัด
5. จัดห้วงเวลาการพักรับประทานอาหารของนักเรียนให้มีความเหมาะสม มีฉากกั้นบนโต๊ะ

อาหาร
6. กำหนดจุดใหน้ กั เรียนรอคิวเข้าห้องน้ำ/การใชอ้ า่ งลา้ งมือ ให้มีระยะหา่ งอย่างชดั เจน
7. ความสะอาดของโรงอาหาร ร้านค้า แมค่ ้า มรี ะยะห่างระหว่างร้านคา้ กบั นกั เรียน
8. ทำความสะอาดเครื่องกรองน้ำดื่มของโรงเรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานความสะอาดและ

ปลอดภัย

แนวปฏบิ ตั ิด้านอนามยั สิ่งแวดล้อม
สถานศึกษาเป็นสถานที่ที่มคี นอยู่รวมกันจำนวนมาก ทั้งนักเรียน ครู ผู้ปกครอง บุคลากร ผู้มาติดต่อและ

ผู้ประกอบการร้านค้า กรณีที่นักเรียนต้องทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ทำให้มีโอกาสใกล้ชิดกันมาก ทำให้เกิดความ
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเชื้อโรคได้งา่ ย จึงมแี นวปฏิบัตกิ ารจัดอาคารสถานที่ ดงั น้ี

1. ห้องเรียน ห้องเรียนรวม ห้องคอมพวิ เตอรห์ ้องดนตรี

33

1) จัดโต๊ะ เก้าอี้หรือที่นั่งให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร และจัดทำ
สัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจน จัดให้มีการสลับวันเรียนแต่ละชั้นเรียน การใช้พื้นที่ใช้สอยบริเวณสถานศึกษา
โดยยึดหลัก Social distancing

2) จัดใมีการเหลื่อมเวลาเรียน การเรียนกลุ่มย่อยและเน้นให้นักเรียนสวม หน้ากากผ้าหรือ
หน้ากากอนามัยขณะเรยี นตลอดเวลา

3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง กรณีใช้
เครอ่ื งปรับอากาศกำหนดเวลาเปิด

– ปิดเครื่องปรับอากาศและเปิดประตู หน้าต่างให้ระบายอากาศ และทำความสะอาดอย่าง
สม่ำเสมอ

4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับนักเรียนและครูใช้ประจำทุกห้องเรียน
5) มีการทำความสะอาดโต๊ะ เกา้ อี้อุปกรณ์และจุดสมั ผสั เสย่ี ง เชน่ ลกู บดิ ประตู ของใช้ร่วมทุกวัน
อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้าก่อนเรียนและพักเที่ยงหรือกรณีมีการย้ายห้องเรียนต้องทำความสะอาด โต๊ะ เก้าอี้
กอ่ นและหลังใช้งานทกุ ครัง้
2. ห้องสมดุ
1) จัดโต๊ะ เก้าอี้หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่าง น้อย 1 - 2 เมตร และทำ
สญั ลักษณแ์ สดงจุดตำแหนง่ ชดั เจน
2) มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง กรณีใช้เครื่องปรับอากาศ
กำหนดเวลาเปิดและปิด
- ปิดเครื่องปรับอากาศ ควรเปิดประตู หน้าต่างให้ระบายอากาศ และทำความสะอาดอย่าง
สม่ำเสมอ
3) มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครู บรรณารักษ์ นักเรียน และผู้ใช้บริการ
บรเิ วณทางเข้าดา้ นหนา้ และภายในห้องสมดุ อย่างเพยี งพอ
4) ทำความสะอาดโต๊ะ เกา้ อ้ี อุปกรณ์ และจุดสัมผสั เส่ียง เชน่ ลูกบิดประตู ชนั้ วางหนังสือทุกวัน
วันละ 2 ครงั้ เชน่ เชา้ กอ่ นให้บรกิ ารพักเท่ยี ง
5) จำกัดจำนวนคนจำกัดเวลาในการเข้าใช้บริการห้องสมุด และให้นักเรียนและผู้ใช้บริการ
ทกุ คนสวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยขณะใชบ้ ริการห้องสมุดตลอดเวลา
3. ห้องประชุม หอประชมุ
1) จัดให้มีการคัดกรองตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าห้องประชุม หอประชุม หากพบผู้มี
อาการ ไข้ ไอ มีน้ำ เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส แจ้งงดร่วมประชุมและแนะนำให้ไปพบ
แพทย์ทันที
2) จดั โตะ๊ เก้าอ้ี หรอื ท่นี ัง่ ใหม้ กี ารเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล 1 - 2 เมตร และจัดทำสัญลักษณ์
แสดงจุดตำแหนง่ ชดั เจน
3) ผเู้ ข้าประชุมทกุ คนสวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยขณะประชมุ ตลอดเวลา

34

4) จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอล์ใชท้ ำความสะอาดมือสำหรบั ผู้เขา้ ประชุม บรเิ วณทางเข้าภายในอาคาร
หอประชุม บริเวณทางเขา้ ดา้ นหน้าและด้านในของห้องประชมุ อย่างเพยี งพอและทว่ั ถงึ

5) งดหรอื หลีกเลยี่ งการให้บรกิ ารอาหารและเคร่ืองด่ืมภายในหอ้ งประชุม
6) ทำความสะอาดโตะ๊ เกา้ อี้ อปุ กรณ์ และจดุ สมั ผัสเสย่ี งร่วม เชน่ ลกู บิดประตู รีโมท อุปกรณส์ ่ือ
กอ่ นและหลงั ใชห้ ้องประชมุ ทุกครั้ง
7) มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หนา้ ต่าง ก่อนและหลังใช้ห้องประชุม
ทุกครง้ั ควรใชเ้ ครื่องปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด
- ปิดเครื่องปรับอากาศ ควรเปิดประตู หน้าต่างให้ระบายอากาศ และทำความสะอาดอย่าง
สม่ำเสมอ
4. สนามกฬี า
1) จดั พ้ืนท่ที ำกจิ กรรมและเล่นกฬี า ลดความแออัด อาจจัดใหเ้ ลน่ กีฬาเป็นรอบ หรอื ให้มีการเว้น
ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร
2) จัดใหม้ ีเจลแอลกอฮอล์ใชท้ ำความสะอาดมือสำหรับนักกีฬาและผู้มาใชบ้ ริการ บริเวณทางเข้า
และบริเวณด้านในอาคารอยา่ งเพียงพอและทัว่ ถงึ
3) ทำความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องเล่นแต่ละชนิด ก่อนหรือหลังเล่นทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
4) จัดใหม้ กี ารระบายอากาศ ใหอ้ ากาศถ่ายเท เชน่ เปิดประตู หน้าต่าง เปดิ พดั ลม
5) จำกัดจำนวนคนจำนวนเวลาในการเลน่ กีฬาหรือกิจกรรมภายในอาคารหรือสนามกีฬา
6) หลีกเลย่ี งการจัดกิจกรรมหรอื เล่นกีฬาประเภทแข่งขนั เปน็ ทมี หรือมีการปะทะกันอย่าง
รนุ แรงเช่น วอลเลย์บอล ฟุตบอล ฟุตซอล บาสเกตบอล เปน็ ต้น
5. ห้องสว้ ม
1) จัดเตรยี มอปุ กรณ์ทำความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ำยาทำความสะอาดหรือนำ้ ยา
ฟอกขาว อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้ำ ไม้ถูพื้น คีบด้ามยาวสำหรบั เกบ็ ขยะ ผ้าเช็ดทำความสะอาด และอุปกรณ์
ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน เช่น ถุงมือ หน้ากากผ้า เสื้อผ้าที่จะน้ำมาเปลี่ยนหลังทำ
ความสะอาด
2) การทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม อย่างน้อยวนั ละ 2 ครั้ง ด้วยน้ำยาทำความสะอาดทัว่ ไป
พื้นห้องส้วม ให้ฆ่าเชื้อโดยใช้ ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท ราดน้ำยาฆ่าเชื้อทิ้งไวอย่าง
น้อย 10 นาที เน้นเชด็ บรเิ วณท่ีรองน่งั โถสว้ ม ฝาปิดโถส้วม ที่กดชักโครก สายชำระ ราวจับ ลูกบิดหรือกลอนประตู
ที่แขวนกระดาษชำระ อ่างล้างมือ ขันน้ำ ก๊อกน้ำ ที่วางสบู่ ผนัง ซอกประตู ด้วยผ้าชุบน้ำยาฟอกขาว หรือใช้
แอลกอฮอล์ 70 หรอื ไฮโดรเจนเปอรออกไซด์ 0.5 %
3) หลังทำความสะอาด ควรซักผ้าเช็ดทำความสะอาดและไม้ถูพื้น ด้วยน้ำผสมผงซักฟอกหรือ
นำ้ ยาฆ่าเช้อื แลว้ ซกั ด้วยน้ำสะอาดอกี คร้ังและนำไปผ่งึ แดดให้แห้ง
4) ผู้ปฏิบัติงานที่ดูแลความสะอาดและผู้ปฏิบัติงานเก็บขยะ ให้สวมถุงมือยาง หน้ากากผ้า
เสื้อกันฝนหรือผ้ายางกันเปื้อน รองเท้ายางหุ้มสูงถึงหน้าแข้ง และใช้อุปกรณ์ปากคีบด้ามยาวเก็บขยะ ใส่ถุงขยะ

35

ปิดปากถุงให้มดิ ชิดนำไปรวบรวมไว้ท่ีพักขยะ แล้วล้างมือใหส้ ะอาดทุกครั้งภายหลังปฏิบัติงาน และเมื่อปฏิบัตงิ าน
เสรจ็ ในแต่ละวัน หากเปน็ ไปได้ควรอาบนำ้ และเปลี่ยนเสื้อผา้ ทนั ที

6. หอ้ งพักครู
1) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร คำนึงถึง

สภาพห้องและขนาดพื้นที่ และจัดทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจน โดยถือปฏิบัติตามหลัก Social
distancing อยา่ งเครง่ ครัด

2) ให้ครูสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาท่ีอย่ใู นสถานศกึ ษา
3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง กรณีใช้
เครือ่ งปรับอากาศ กำหนดเวลาเปดิ
- ปิดเครื่องปรับอากาศ ควรเปิดประตู หน้าต่างให้ระบายอากาศ และทำ ความสะอาดอย่าง
สม่ำเสมอ
4) มีการทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู โทรศัพท์
อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ เปน็ ประจำทุกวัน อย่างนอ้ ยวันละ 2 คร้งั
5) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครูและผู้มาติดต่อบริเวณทางเข้า
ด้านหนา้ ประตูและภายในหอ้ งอยา่ งเพียงพอและท่ัวถึง
7. หอ้ งพยาบาล
1) มีครูหรือเจ้าหน้าที่เพื่อดูแลนักเรียน ในกรณีที่มีนักเรียนป่วยมา นอนพักรอผู้ปกครองมารับ
2) มีพื้นที่หรือห้องแยกอย่างชัดเจน ระหว่างนักเรียนป่วยจากอาการไข้หวัดกับนักเรียนป่วยจาก
สาเหตุอื่น ๆ เพื่อปอ้ งกันการแพรกระจายเชื้อโรค
3) ทำความสะอาดเตียงและอุปกรณ์ของใชท้ ุกวนั
4) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือ บริเวณทางเข้าหน้าประตูและภายในห้อง
พยาบาลอยา่ งเพียงพอ
8. โรงอาหาร
การจัดบริการภายในโรงอาหาร การนั่งกินอาหารร่วมกันของผู้ใช้บริการ รวมถึงอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์
ตู้กดน้ำดื่ม ระบบกรองน้ำและผู้สัมผัสอาหาร อาจเป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค กลุ่มงานโภชนาการ
โรงเรยี นมกี ารดูแลเพอื่ ลดและปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชื้อโรค ดังนี้
1) มีการกำหนดมาตรการการปฏิบตั ิใหส้ ถานท่ีสะอาด ถกู สุขลกั ษณะ ดังนี้
(1) จัดให้มีอ่างล้างมือพร้อมสบู่ สำหรับให้บริการแกผู้เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร บริเวณก่อน
ทางเขา้ โรงอาหาร
(2) ทกุ คนที่จะเข้ามาในโรงอาหาร ตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัย
(3) จัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น ที่นั่งกิน
อาหาร จุดรบั อาหาร จดุ ซือ้ อาหาร จดุ รอกดน้ำดมื่ จุดปฏบิ ัติงานรว่ มกนั ของผ้สู มั ผัสอาหาร
(4) จัดเหลือ่ มชว่ งเวลาซื้อและกินอาหาร เพื่อลดความแออดั พื้นทภี่ ายในโรงอาหาร

36

(5) ทำความสะอาดสถานทีป่ รงุ ประกอบอาหาร พืน้ ท่ตี ้งั ต้กู ดนำ้ ดืม่ และพน้ื ท่บี ริเวณ
ทีน่ ง่ั กิน อาหารใหส้ ะอาดด้วยนำ้ ยาทำความสะอาดหรอื ผงซักฟอกและจดั ให้มีการฆ่าเชือ้

(6) ทำความสะอาดโต๊ะและทีน่ ่ังให้สะอาด สำหรบั นั่งกนิ อาหารด้วยน้ำยาทำความสะอาดและ
จัดให้มีการฆ่าเช้อื

(7) ทำความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์และเครอ่ื งใชใ้ หส้ ะอาดด้วยนำ้ ยาล้างจาน และใหม้ ีการฆ่า
เชอ้ื ดว้ ยการแช่ในนำ้ ร้อน 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 วนิ าที

(8) ทำความสะอาดตกู้ ดน้ำด่ืม ภายในตถู งั นำ้ เย็น อย่างน้อยเดอื นละ 1 ครั้ง เชด็ ภายนอกตู้และ
กอ๊ กนำ้ ด่มื ใหส้ ะอาดทกุ วัน

(9) จัดบริการอาหาร เนน้ ป้องกันการปนเป้ือนของเช้ือโรค เช่น อาหารปรุงสำเร็จสกุ ใหมท่ ุกคร้งั
การปกปดิ อาหารปรงุ สำเรจ็ การใชภ้ าชนะท่เี หมาะสมกับประเภทอาหาร และจดั ให้มีภาชนะอุปกรณ์ สำหรบั การ
กนิ อาหารอยา่ งเพียงพอเป็นรายบคุ คล เช่น จาน ถาดหลุม ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้ำ เปน็ ต้น

(10) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ภายในโรงอาหาร เช่น การสวมหน้ากากท่ีถูกวิธี ขน้ั ตอน การลา้ งมือ
ที่ถกู ต้อง การเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล การเลือกอาหารปรุงสุกใหมส่ ะอาด เปน็ ตน้

(11) กรณีมีการใช้บริการร้านอาหารจากภายนอก จัดส่งอาหารให้กับสถานศึกษา ควรให้ครู
หรือผู้รับผิดชอบ ตรวจประเมินระบบสุขาภิบาลอาหารของร้านอาหาร โดยกำหนดข้อตกลง การจัดส่งอาหารปรงุ
สุกพร้อมกิน ภายใน 2 ชั่วโมง หลังปรุงเสร็จและมีการปกปิดอาหาร เพื่อป้องกันการปนเปื้อนสิ่งสกปรกลงใน
อาหาร

(12) พิจารณาทางเลือกให้ผปู้ กครองสามารถเตรียมอาหารกลางวนั ใหน้ ักเรยี นมารับประทานเอง
เพ่ือป้องกันเชือ้ และลดการแพรก่ ระจายเชอ้ื

2) ผู้สัมผัสอาหาร ต้องดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเองและป้องกันการแพร่
กระจายเชือ้ โรค ดงั น้ี

(1) กรณีมีอาการป่วย ไข้ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจ ลําบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้
หยดุ ปฏิบตั ิงานและแนะนาํ ใหไ้ ปพบแพทยท์ นั ที

(2) ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเอง แต่งกายให้สะอาด สวมใส่ผ้ากันเปื้อน และ
อปุ กรณ์ป้องกนั การปนเปื้อนสอู่ าหารในขณะปฏิบตั งิ าน

(3) รักษาความสะอาดของมือด้วยการล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำก่อนปฏิบัติงาน และขณะ
เตรียมอาหารประกอบอาหาร และจำหน่ายอาหาร รวมถึงหลังจากการจับเหรียญหรือธนบัตร หรือสัมผัสสิ่ง
สกปรก อาจใชเ้ จลแอลกอฮอลท์ ำความสะอาดมือร่วมดว้ ย หลกี เลยี่ งการใชม้ ือสัมผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่
จำเปน็

(4) สวมใส่หน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาขณะปฏบิ ตั งิ าน
(5) มีพฤติกรรมขณะปฏิบัติงานป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค เช่น ใช้อุปกรณ์ในการปรุง
ประกอบอาหาร เช่น เขียง มีด การหยิบจับอาหาร แยกระหว่างอาหารสุก อาหารประเภทเนื้อสัตว์สด
ผกั และผลไมแ้ ละไม่เตรยี มปรงุ ประกอบอาหารบนพ้ืนโดยตรง

37

(6) จัดเมนูอาหารที่จำหน่าย โดยเน้นอาหารปรุงสุกด้วยความร้อน โดยเฉพาะเนื้อสัตว์ปรุงให้ สุกด้วย
ความร้อนไมน่ อ้ ยกวา่ 70 องศาเซลเซยี ส

(7) อาหารปรุงสำเร็จ จัดเก็บในภาชนะสะอาด มีการปกปิดอาหารจัดเก็บสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า
60 เซนติเมตร กรณอี าหารปรุงสำเรจ็ รอการจำหนา่ ยให้นาํ มาอุ่นทุก 2 ช่วั โมง

(8) ระหวา่ งการปฏบิ ัตงิ าน ให้มกี ารเวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร
3) ผทู้ ่ีเข้ามาใชบ้ ริการโรงอาหาร ตอ้ งป้องกันตนเองและปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื โรค ดังนี้
(1) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือทุกครั้งก่อนเข้าไ ปในโรง
อาหาร ก่อนกินอาหาร ภายหลังซื้ออาหารหลงั จากจับเหรยี ญหรือธนบัตร หลังจากสัมผัสส่ิงสกปรก หรือหลังออก
จากหอ้ งส้วม
(2) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาที่อยู่ในโรงอาหารหรือเข้าไปในสถานที่
จำหน่ายอาหาร
(3) เลือกซื้ออาหารปรุงสำเร็จสุกใหม่ หลีกเลี่ยงการกินอาหาร ประเภทเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ที่ปรุงไม่
สุกและตรวจสอบคุณภาพของ อาหารทันที เช่น สภาพอาหาร กลิ่น ความสะอาดและความเหมาะสมของภาชนะ
บรรจุ มีการปกปิดอาหารมดิ ชดิ ไม่เลอะเทอะ ไมฉ่ ีกขาด เป็นตน้
(4) ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการซื้ออาหาร ขณะรออาหาร นั่งกิน
อาหาร ขณะรอกดนำ้ ดม่ื
9. รถโรงเรยี น

1) ทำความสะอาดรถโรงเรียนและบริเวณจุดสัมผสั เสีย่ ง เชน่ ราวจบั ทเ่ี ปิดประตู เบาะนั่ง ที่วาง
แขน ดว้ ยน้ำผสมผงซกั ฟอกหรือน้ำยาทำความสะอาด

2) บคุ ลากร นกั เรยี นทใี่ ช้บรกิ ารรถโรงเรียน ตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัย ตลอดเวลา
ทีอ่ ยบู่ นรถ ลดการพูดคยุ กัน เล่นหยอกลอ้ กนั

3) จัดที่น่งั บนรถ จดั ใหม้ ีการเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร ท้ังนคี้ วรคำนึงถึง
ขนาดพื้นที่ของรถ จำนวนที่นั่งพิจารณาตามคุณลักษณะของรถและความเหมาะสม ยึดหลัก Social distancing
อย่างเครง่ ครัด

4) ก่อนและหลังใหบ้ รกิ ารแต่ละรอบ ทำความสะอาดภายในและภายนอกรถทุกครง้ั เปดิ หน้าตา่ ง
ประตู ระบายอากาศใหอ้ ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก

5) จดั ให้มเี จลแอลกอฮอลส์ ำหรับใช้ทำความสะอาดมอื บอ่ ย ๆ บนรถ
10. การเขา้ แถวเคารพธงชาติ

1) งดกิจกรรมหน้าเสาธง ให้นักเรียนเข้าแถวหน้าห้องเรียนและ/หรือให้นักเรียนเข้าแถว ที่โต๊ะ
เรยี นในหอ้ งเรยี น มกี จิ กรรมหน้าเสาธงผา่ นทางเสยี งตามสาย ประชาสัมพันธ์โรงเรยี น

2) ครูและนักเรียนทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาทำกิจกรรม
3) ลดระยะเวลาการจดั กจิ กรรมหนา้ เสาธง กรณีมีการส่ือสารประชาสัมพนั ธใ์ ชช้ อ่ งทางอน่ื ๆ เชน่
เสียงตามสาย ผ่านออนไลน์ Line, Facebook แจ้งในหอ้ งเรียน เปน็ ต้น

38

4) ทำความสะอาดอุปกรณ์ของใช้หรือจุดสัมผัสเสี่ยง ภายหลังการใช้งานทุกครั้ง เช่น เชือกที่ใช้
ชกั ธงชาติ ไมโครโฟน เป็นต้น

มาตราการอ่ืนๆ
การจดั การดา้ นสขุ ภาพจติ ในสถานการณ์โควิด-19
สร้างความเข้มแข็งของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ดำเนินการในโรงเรียนแต่ละแห่งเพิ่มข้ึน

โดย 5 ขน้ั ตอน หลกั มดี งั นี้
1. การรูจ้ ักนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ดำเนินการได้โดย
1) ครูใหเ้ วลาในการสร้างความสัมพนั ธ์ ทำความรจู้ ักนักเรียนทัง้ ระดบั บุคคลและครอบครัว สร้าง

ความไว้วางใจกับนกั เรียน เพื่อพิจารณาความพรอ้ มของนักเรียนตอ่ การเรียนรู้
2) ครูควรเปิดโอกาสให้ตัวท่านเองและนักเรียนในห้องเรียน หรือชั้นเรียนได้เรียนรู้ทักษะทาง

สังคมกบั เพ่ือนใหม่ ครูใหม่ ชัน้ เรยี นใหม่ โดยเว้นระยะหา่ งทางกายภาพเพื่อปอ้ งกนั การแพร่กระจายของ โรคติดต่อ
3) ครูสังเกตสภาวะอารมณ์ การปรับตัวของเด็ก ทั้งที่เกิดจากสถานการณ์โรคระบาดและการ

เรียนรู้ตามหลักสูตร โดยติดตามความร่วมมือความรับผิดชอบของเด็ก ผ่านการสังเกต การพูดคุย
การตรวจสอบผลงาน เพอื่ ให้ไดข้ ้อมลู เชิงประจักษ์

2. การคดั กรองนกั เรยี น
1) เมื่อครูสังเกตความผิดปกติทางอารมณ์ พฤติกรรมหรือสังคมของนักเรียนโดยใช้เครื่องมือ

ง่ายๆในการคัดกรองปัญหา โดยเฉพาะปัญหาทางอารมณ์ที่จำเป็นต้องสอบถามจากนักเรียนหรือให้นักเรียน
ประเมนิ ตวั เอง

2) นอกจากปัญหาด้านอารมณ์ พฤติกรรม หรือสังคมแล้ว ครูควรประเมินความสามารถด้าน
การส่ือสารตามระดับพัฒนาการหรอื ระดบั ความสามารถของนกั เรยี นแตล่ ะคน เพอ่ื พิจารณาชว่ ยเหลอื ในด้านความ
บกพรอ่ งด้านการสอ่ื สารหรือการเขา้ ใจภาษาของนักเรียน

3. การป้องกันและแก้ไขปัญหา ประกอบด้วย 2 เทคนิคหลัก คือ การให้คำาปรึกษา และการจัดกิจกรรม
เพื่อปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา

1) เมื่อครูสังเกตเห็นความผิดปกติของนักเรียน ประกอบการคัดกรองเพื่อค้นหานักเรียนกลุ่ม
เสี่ยงหรือมีปัญหาเพิ่มเติมแล้ว ให้ครูใช้ทักษะการให้คำปรึกษาเพื่อช่วยเหลือด้านจิตใจแก่นักเรียน โดยให้เวลาอยู่
นักเรียน คนนั้นอย่างสงบ รับฟงั ปญั หาและสนับสนุนใหน้ ักเรยี นมองหาแหล่งชว่ ยเหลอื ดา้ นจิตใจท่ีเข้าถึงงา่ ย

2) จัดกิจกรรมกับกลุ่มนักเรียน เพื่อช่วยให้เกิดการยอมรับอารมณ์ที่เกิดขึ้นในภาวะวิกฤติ มีบท
สนทนาที่เปิดกว้างสำาหรับปัญหาความไม่สบายใจของทุกคนในห้องเรียน เพิ่มวิธีการสร้างสรรค์ในการช่วยเหลือ
ร่วมมอื กันและให้กำลงั ใจสำหรับผูท้ ำดมี คี วามเอ้อื เฟ้ือและเมตตาต่อผอู้ นื่

3) ครูให้ข้อกำหนดกับนักเรียนว่า ขณะที่ต้องเรียนรู้ผ่านออนไลน์เพิ่มขึ้น อาจขยายเวลาการอยู่
หน้าจอเพ่มิ ขึ้น แตเ่ มือ่ สถานการณ์กลบั สู่ภาวะปกติระยะเวลาหนา้ จอจะลดลงเทา่ ปกติ

4) ครูและพ่อแม่ให้ความสำคัญกับ “กระบวนการ” ของการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหามากกว่า

39

ผลลัพธ์เพียงอย่างเดียว เพื่อสร้างความกระตือรือร้นในการเรียนรู้และให้ความสำคัญกับความพยายามต่อความ
ยากลำบากมากขนึ้

4. ส่งเสริมพฒั นานักเรียน ด้วย 4 เทคนคิ หลัก คือ กิจกรรมโฮมรูม การเยยี่ มบ้าน การหารือผู้ปกครองชั้น
เรยี นและการจดั กิจกรรมทักษะชีวติ

1) การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนานักเรียน ควรบูรณาการองค์ความรู้ด้านสุขภาพกายและ
สุขภาพจิตเข้าด้วยกัน โดยครูสื่อสารเรือ่ งความเครยี ดว่าเป็นปฏิกิริยา ปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติที่มี การแพร่
ระบาดของไวรัส โควดิ -19 ในเวลาน้ี และนำกระบวนการจัดการความเครียด การฝึกสติให้กลมกลืน และเหมาะสม
กับนักเรียนแต่ละวัย ร่วมกับการฝกึ ทักษะชีวิตท่ีเสริมสร้างความเข้มแขง็ ทางใจ (resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่
ทักษะด้านอารมณ์สงั คมและความคิด

2) ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวอย่างใกล้ชิด เพื่อส่งต่อข้อมูลสำคัญ
ให้กบั ผปู้ กครอง ในการดูแลต่อเนือ่ ง

5. การส่งต่อ ในกรณีที่ครูพบปัญหาของนักเรียนที่ยากต่อการช่วยเหลือ ควรส่งต่อใหู้เชี่ยวชาญได้ แก้ไข
เยยี วยาอย่างเหมาะสม

1) การสง่ ต่อภายในไปยงั ครแู นะแนว ครพู ยาบาล
2) การส่งตอ่ ภายนอกไปพบผเู้ ชีย่ วชาญจากหน่วยงานสาธารณสขุ
3) ให้ขอ้ มูลแหลง่ ชว่ ยเหลือดา้ นจิตใจทเ่ี ขา้ ถึงงา่ ย ไดแ้ ก่ สายด่วนกรมสุขภาพจิต 1323

การป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรค COVID 19 ในสถานศึกษา
ในกรณีที่โรงเรียนพบว่ามีนักเรียน ครูหรือบุคลากรอื่น ๆ ในโรงเรียนที่อยู่ ในกลุ่มเสี่ยง ให้โรงเรียน
ดำเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 กรณีเกิดการระบาดของกรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข ดังต่อไปน้ี กรณีเกิดการระบาดในสถานศกึ ษา เหตุการณ์การระบาด หมายถึง เมื่อพบผู้ป่วย
ยนื ยนั อย่างนอ้ ย 1 ราย ท่คี ดิ ว่าอาจมีการแพร่กระจายเชื้อในสถานศึกษา
1. ผปู้ ว่ ยที่เข้าเกณฑ์ต้องสอบสวน (PUI = Patient Under Investigation) หมายถึง ผทู้ ม่ี ี ประวัติไข้หรือ
วัดอุณหภูมิกายได้ต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่างใด อย่างหนึ่ง (ไอ น้ำมูก
เจบ็ คอ หายใจเรว็ หายใจเหน่ือยหรือหายใจลําบาก) และมีประวตั ิสัมผัสใกล้ชิดกบั ผู้ปว่ ยยืนยันในช่วง 14 วันก่อน
มีอาการ
2. ผู้ปว่ ยยนื ยัน หมายถึง ผ้ทู ่มี ีผลตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร พบว่า ติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019

40

3. ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง (High risk contact) หมายถึง ผู้สัมผัส ใกล้ชิด ตามลักษณะ
ขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ดังนี้

- ผ้ทู ่ีเรยี นร่วมหอ้ ง ผทู้ ่นี อนรว่ มห้องหรือเพอื่ นสนทิ ท่คี ลกุ คลกี ัน
- ผู้สัมผัสใกล้ชิดหรือมีการพูดคุยกับผู้ป่วยในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5 นาทีหรือถูกไอ จาม รด
จากผู้ปว่ ย โดยไมม่ ีการปอ้ งกนั เชน่ ไมส่ วมหนา้ กากอนามยั
- ผ้ทู ่ีอยู่ในบรเิ วณที่ปิด ไมม่ กี ารถ่ายเทอากาศ เชน่ ในรถปรบั อากาศ ในหอ้ งปรับอากาศ ร่วมกับ
ผู้ป่วยและอยู่ห่างจากผู้ป่วยไมเ่ กนิ 1 เมตร นานกวา่ 15 นาทีโดยไม่มีการปอ้ งกัน
4. ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อต่ำ (Low risk contact) หมายถึง ผู้ที่ทำกิจกรรม อื่น ๆ ร่วมกับ
ผู้ปว่ ย แตไ่ มเ่ ขา้ เกณฑ์ความเสี่ยง
5. ผู้ไม่ได้สัมผัส หมายถึง ผู้ที่อยู่ในสถานศึกษาแต่ไม่มีกิจกรรมหรือพบผู้ป่วยในช่วง 14 วัน ก่อนป่วย
6. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการป่วยรุนแรง (Underlying condition) หมายถึง ผู้ที่มีภูมิตา้ นทานต่ำ หรือมีโรค
ประจาํ ตวั หรือผ้สู งู อายุ กิจกรรมการเฝ้าระวงั กอ่ นการระบาด
1) ให้มีการตรวจสอบการลาป่วยของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา หากพบว่าป่วยมาก
ผิดปกติ ใหร้ ายงานเจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ ในพน้ื ทท่ี ราบ
2) ให้มีการคัดกรองไข้บริเวณทางเข้าสถานศึกษาทุกวัน หากพบว่ามีเด็กที่มีไข้จำนวนมาก
ผิดปกติให้แจง้ เจา้ หนา้ ที่
3) หอ้ งพยาบาลใหม้ ีการบนั ทกึ รายช่อื และอาการของนักเรยี นทป่ี ่วย

กิจกรรมเมอ่ื มกี ารระบาด
1. ปิดสถานศึกษา/ชั้นเรียน เพื่อทำความสะอาด เป็นระยะเวลา 3 วัน โดย ผู้อํานวยการสถานศึกษา
มีอำนาจสั่งปิดด้วยเหตุพิเศษ ไม่เกิน 7 วัน ผู้อํานวยการเขตพื้นที่การศึกษา ไม่เกิน 15 วัน เลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่เกิน 30 วัน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและปลัดกระทรวง
ศกึ ษาธิการสง่ั ปิดไดต้ ามความเหมาะสม
2. สํารวจคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทุกคน บริเวณทางเข้าสถานศึกษา โดยใช้เครื่องวัดอุณหภูมิแบบ
มือถือ (Handheld thermometer) และดำเนินการตามแผนผัง ตาม QR Code ที่ปรากฏ หากพบผู้เข้าเกณฑ์
สอบสวน (PUI) ใหเ้ ก็บตวั อย่าง NP swab สง่ ตรวจหาเชอ้ื
3. ผู้สมั ผสั กลุ่ม High risk ให้ดำเนินการเก็บตวั อย่าง NP swab ส่งตรวจหาเช้อื
4. ผู้สัมผัสกลุ่ม Low risk ไม่ต้องเก็บตัวอย่าง แต่ให้แยกตัวอยู่ที่บ้านและรายงานอาการ
(Self report) ทุกวัน หากพบวา่ มอี าการเขา้ เกณฑ์ PUI ใหด้ ำเนนิ การแบบผปู้ ว่ ย PUI
5. เมื่อเปิดเทอม ให้มีการคัดกรองไข้ทุกวัน หากพบมีอาการเข้าได้กับ PUI ให้เก็บตัวอย่างและพิจารณา
ความเสีย่ งเพ่อื ตัดสนิ ใจวา่ จะใหผ้ ปู้ ่วยดอู าการทบี่ ้านหรอื ต้องแยกตวั ในโรงพยาบาล

41

6. ทีมสอบสวนโรคทำการติดตามผู้สัมผัสทุกวันจนครบกำหนดการป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรคโควิด-19 กรณีเกิดการระบาด 22 ขั้นตอนการคัดกรองนักเรียน และเจ้าหน้าที่ในสถานศึกษา การกำกับ
ติดตาม และรายงานผลสถานศึกษามีการกำกับติดตาม ทบทวนการดําเนินงานให้สอดคล้องตามแนวปฏิบัติ
สถานการณ์ และบริบทพื้นที่อย่างต่อเนื่อง กรณีพบผู้มีอาการเสี่ยงหรือป่วย ต้องรีบรายงานต่อผู้บริหารและแจ้ง
เจ้าหน้าทส่ี าธารณสุขทนั ที

42


Click to View FlipBook Version