The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3.Best-Practice-การส่งเสริมอาชีพการทำผ้ามัดย้อม 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anocha.tu, 2022-04-03 01:39:24

3.Best-Practice-การส่งเสริมอาชีพการทำผ้ามัดย้อม 65

3.Best-Practice-การส่งเสริมอาชีพการทำผ้ามัดย้อม 65

(Best Practice)

ระดับความสำเรจ็ ในการจัดทำผลการปฏบิ ัติงานท่ดี (ี Best Practice)
งานการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะอาชีพ
หลักสตู รวิชา การทำผ้ามดั ยอ้ ม

นางสาวอโนชา สายทองตงิ่
ครูกศน.ตำบลหนองไขว่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหลม่ สัก
สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั

เพชรบูรณ์
สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1.ชอื่ ผลงาน(Best Practice) การสง่ เสรมิ อาชีพการทำผ้ามัดย้อม

2.หน่วยงาน/สถานศึกษา กศน.ตำบลหนองไขว่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอหลม่ สัก
สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั เพชรบรู ณ์
เบอรโ์ ทร 083-0407599 e-mail [email protected]

3.ผจู้ ดั ทำ : นางสาวอโนชา สายทองติ่ง

4. ความสอดคล้อง ความสอดคล้อง
นโยบายเรง่ ด่วนเพอ่ื รว่ มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ
2 ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
2.1 เร่งปรบั หลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาชพี กศน. เพอ่ื ยกระดับทักษะดา้ นอาชีพของ

ประชาชนใหเ้ ป็นอาชพี ทร่ี องรบั อตุ สาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดย
บูรณาการความร่วมมอื ในการพัฒนาและเสริมทักษะใหม่ดา้ นอาชพี (Upskill & Reskill) รวมถงึ มงุ่ เนน้ สร้างโอกาส
ในการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ
โดยเฉพาะในพื้นที่เขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศสำหรับพื้นที่ปกติให้
พัฒนาอาชีพทเ่ี น้นการตอ่ ยอดศกั ยภาพและตามบริบทของพืน้ ท่ี

2.3 พัฒนาและสง่ เสรมิ ประชาชนเพื่อตอ่ ยอดการผลติ และจำหนา่ ยสนิ ค้าและผลติ ภัณฑ์ออนไลน์
1) เร่งจดั ตงั้ ศนู ย์ให้คำปรึกษาและพฒั นาผลิตภณั ฑ์ Brand กศน. เพื่อยกระดบั คุณภาพ
ของสนิ ค้าและผลิตภัณฑ์ การบรหิ ารจดั การทีค่ รบวงจร (การผลิต การตลาด การส่งออก และสรา้ งชอ่ งทาง
จำหน่าย) รวมทั้งสง่ เสริมการใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยดี จิ ิทัลในการเผยแพรแ่ ละจำหนา่ ยผลติ ภัณฑ์
2) พัฒนาและคัดเลือกสุดยอดสินค้าและลิตภัณฑ์ กศน. ในแต่ละจังหวัด พร้อมทั้งประสานความ
ร่วมมือกบั สถานีบริการนำ้ มนั ในการเปน็ ซอ่ งทางการจำหนา่ ยสดุ ยอดสินคา้ และผลติ ภณั ฑ์ กศน.ให้กว้างขวางยง่ิ ขน้ึ
5.ทม่ี าและความสำคัญของผลงาน
จากที่ กศน.ตำบลหนองไขว่ได้จัดกิจกรรมงานการศึกษาต่อเนื่องการจัดกลุ่มอาชีพการทำผ้ามัดย้อม
ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ท่ีหมู่บ้านแห่งการเรียนรู้ หมู่ที่ 10 บ้านโนนทองตำบลหนองไขว่ อำเภอหล่มสัก
จังหวัดเพชรบูรณ์ ใหก้ ับกลุ่มเป้าหมาย 2 กลุม่ จำนวน 16 คน น้นั กลมุ่ เปา้ หมายทีไ่ ด้รับการฝึกอบรมสามารถนำไป
ประกอบอาชพี ต่อยอดอาชีพ นอกจากนีผ้ ู้ทไี่ ดร้ บั การฝึกอบรมยงั สามารถสอนวิธกี ารทำผ้ามัดย้อมให้กับผู้ท่ีสนใจแต่
ไมม่ ีรายชือ่ ในการฝึกอบรมช่วงเวลาที่มีการฝึกอบรมอีกจำนวน 2 คน ท่สี ามารถเป็นวิทยากรการทำผ้ามัดย้อมให้กับ
ประชาชนในหมู่บา้ นอนื่ ได้ ซง่ึ ในแต่ละกลุม่ สามารถนำไปต่อยอดทำเปน็ อาชีพเสรมิ และทำไว้ใช้ในครัวเรอื นได้ทำให้มี
รายไดแ้ ละประหยัดค่าใชจ้ า่ ย
6. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายสามารถนำความรู้ หรอื ทักษะจากกจิ กรรมการเรียนรไู้ ปใชใ้ นการพฒั นา
อาชีพเพื่อเพิม่ รายได้ใหก้ ับชุมชน
2. เพอ่ื พัฒนาตอ่ ยอดกลุ่มอาชีพให้ก้าวไปสูระดบั วสิ าหกิจชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื
3. เพอื่ ส่งเสรมิ สบื สานและอนรุ ักษก์ ารย้อมผา้ ฝ้ายจากสีธรรมชาติ

7. วิธีดำเนินการ
1. กำหนดกลุ่มเปา้ หมาย จำนวน 2 กลุ่ม
2. การดำเนนิ การจัดกจิ กรรม
2.1 ครู ประชาชน ชุมชน ทำการสำรวจความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย ซึ่งทำการ

ประชาคม/ประชาพจิ ารย์ระดับหมูบ่ ้าน ระดับตำบล เพ่ือสอบถามความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย ในดา้ นต่างๆ
2.2 ครู ประชาชน ชมุ ชน ประชมุ ร่วมกันเพือ่ วางแผนการดำเนินงาน ชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงคใ์ ห้

ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมใหท้ ราบ
2.3 ศกึ ษาเอกสารข้อมลู เกย่ี วกับการสง่ เสริมพัฒนาอาชพี ในชุมชน และวางแผนจัดกิจกรรมเรยี นรู้

รว่ มกัน
2.4 จดั ส่งเสริมกลมุ่ พัฒนาอาชีพผลิตภัณฑ์การย้อมผ้าท่ีหลากหลาย เป็นที่ต้องการของกลุ่มตลาด

โดยมุง่ เนน้ ผลติ ภณั ฑ์ที่มีคณุ ภาพ
2.5 ให้ฝึกการเป็นวิทยากรการทำผา้ มดั ยอ้ ม โดย ครู กศน.ตำบล เปน็ ผูแ้ นะนำและใหค้ ำปรกึ ษา
2.6 ปลูกจิตสำนึกให้สมาชิกน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการจัดการบริหาร

กล่มุ
2.7 สรุปผลการดำเนินกิจกรรมโดยรวบรวมผลงานที่เป็นจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา รวมท้ัง

ข้อเสนอแนะจากการประเมินผล การนำไปใช้ประโยชน์ และการจัดทำรายงานด้านการศึกษาเพื่อพฒั นา
อาชพี

2.8 เผยแพร่ผลงานด้านการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพเพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการวางแผนจัดกิจกรรมครั้ง
ตอ่ ไป

8. ตวั ชีว้ ัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
ระหว่างวนั ที่ 7-8 มกราคม 2565 กลุ่มอาชพี ผา้ มัดยอ้ ม หมู่ท่ี 10 จำนวน 10 คน

วนั ที่ 10 มกราคม 2565 กลมุ่ อาชพี ผ้ามัดย้อม หมู่ท่ี 10 จำนวน 6 คน

ตวั ช้วี ัดเชิงคณุ ภาพ
ผรู้ ว่ มโครงการสามารถนำความรทู้ ไ่ี ด้รับไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวัน และสามารถนำไปประกอบอาชพี ได้

9. การประเมินผลและเครอื่ งมอื การประเมินผล
ประเมินผลตามสภาพจรงิ โดยประเมนิ จากผลติ ภณั ฑ์จากการย้อมผ้าท่ีหลากหลาย

รปู แบบสามารถเพม่ิ มูลค่าให้กับผลิตภัณฑแ์ ละเพ่ิมรายไดใ้ ห้ชมุ ชน เช่น การย้อมหัวซ่ินแดงลวดลายรวมสมัย
การยอ้ มผ้าตัดเปน็ เสอ้ื รูปแบบตา่ ง

จากผเู้ รียนสูก่ ารเปน็ วทิ ยากร
วิทยากรการทำผ้ามดั ยอ้ มใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมายหมู่ที่ 10 บา้ นโนนทอง ตำบลหนองไขว่

10. ผลการดำเนินงาน
สมาชิกกลุม่ พัฒนาอาชพี การทำผา้ มดั ย้อม สามารถนำความรู้ และทักษะจากกจิ กรรมการเรียนรู้

ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ สามารถเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายตำบลอื่น และ
สามารถพัฒนาตอ่ ยอดกลุ่มอาชพี ใหก้ ้าวไปสูระดับวิสาหกจิ ชมุ ชนอย่างยงั่ ยืนดว้ ยผลิตภัณฑจ์ ากการทำผ้ามัด
ย้อม ท่ีหลากหลายรปู แบบสามารถเพ่ิมมูลคา่ ให้กับผลิตภัณฑแ์ ละเพ่ิมรายได้ให้ชุมชน เชน่ การย้อมหัวซ่ิน
หัวแดงตีนก่านลวดลายรวมสมัย การเย็บเป็นเสื้อผ้าไทหล่ม การเย็บเป็นกระเป๋ารักษ์โลกและการตัดเย็บ
เป็นกระโปรง ฯลฯ

หัวผา้ ซ่นิ พัฒนา
เย็บใสห่ ัวผา้ ซน่ิ
พฒั นา
จากย้อมหัวซิน่ ยอ้ มตดั ตอ่ เป็นหวั ซน่ิ

11. บทสรปุ
วิธกี ารและขัน้ ตอนการทำงาน โดยใชว้ งจรเดมิ่ง (Deming Cycle) PDCA
วางแผน (Plan : P)
กศน.ตำบลหนองไขว่ ได้ร่วมทำการสำรวจความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย ซง่ึ ทำการประชาพิจารอยูใ่ น

ระดบั หมู่บ้าน ระดบั ตำบล เพือ่ สอบถามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ในด้านต่างๆ และไดว้ ิเคราะห์ปัญหา จดุ
แขง็ จดุ ออ่ น โอกาสและอปุ สรรคของกลมุ่ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2565 ไว้และทำการวิเคราะห์ผลรว่ มกนั ดงั นี้

จดุ แขง็ (S)
1. มีการรวมกล่มุ ที่ชดั เจน
2. มีเครอื่ งมอื วสั ดุ –อุปกรณก์ ารในการย้อมผ้า
3. สมาชิกกลมุ่ พฒั นาอาชพี มีผรู้ ้ซู ่งึ เป็นภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ทมี่ ีทกั ษะความร้ใู นการย้อมผา้ และการ

ทำผลิตภณั ฑ์จากผ้ายอ้ ม
4. มีกลมุ่ ลกู คา้ ที่มาซอ้ื สินค้า
5. ผนู้ ำท่เี ข้มแข็ง สนบั สนุนกิจกรรมของกล่มุ
จุดอ่อน (W)
1. ขาดทกั ษะการบรหิ ารจัดการกลุม่ ทด่ี ี
2. ขาดการทำบญั ชรี ายรบั -รายจ่าย
3. ไมม่ ที กั ษะการส่งเสริมการขาย
โอกาส (O)
1. มหี นว่ ยงานในพนื้ ทีใ่ หก้ ารสนับสนนุ
2. มีงบประมาณสนบั สนนุ จากหน่วยงานของรฐั เชน่ เทศบาล อบต. กศน. พฒั นาชมุ ชน

กองทัพภาค6
3. มีชอ่ งทางการตลาด ท่ีสามารถตอ่ ยอดได้
อปุ สรรค (T)
1. ต้องฝกึ การย้อมผ้าให้ดีข้ึนเรอ่ื ยๆ
2. ตอ้ งฝึกการทอและการตัดเย็บให้กบั กลุ่มเป้าหมาย
การปฏบิ ตั ิ (Do : D)
กศน.ตำบลหนองไขว่ ได้จดั ทำ/พัฒนาหลกั สตู ร/แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ และดำเนนิ งาน
ซึ่งได้จัดทำโครงการ/แผนการจดั กิจกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการ และปัญหาของกลุ่มโดยมีหลักสตู รตา่ งๆ ในแต่
ละปีงบประมาณ ดำเนินกจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี ไดด้ ำเนนิ การจัดตั้งกลมุ่ อาชีพรูปแบบกลุ่ม
สนใจ ดงั นี้

• หลักสตู ร โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน พฒั นาอาชพี รูปแบบกลุม่ สนใจ การทำผ้ามัดย้อม
จำนวน 10 ชั่วโมง
(ปี 2565)

กลุ่มพัฒนาอาชีพกลุ่มย้อมผ้าของบ้านโนนทองหมู่ที่ 10 ต.หนองไขว่ อำเภอหล่มสัก มีความ
ต้องการในการทบทวนเรียนรู้ ทักษะการการย้อมผ้าและรวบรวมสมาชิก และเริ่มต้นดำเนินย้อมผ้า และ
วทิ ยากรสอนความรเู้ รื่องการยอ้ มผา้ ลายตา่ งท่ีหลากหลายมากยง่ิ ขึน้ และการทอผา้ เพมิ่ ข้ึน

• หลักสตู ร โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน พัฒนาอาชีพรปู แบบกลมุ่ สนใจ การทำผา้ มดั ยอ้ ม
จำนวน 5 ช่วั โมง ไตรมาส 2 (ปี 2565)

กลุ่มพัฒนาอาชีพกลุ่มผ้ามัดย้อมของบ้านโนนทอง หมู่ที่ 10 ต.หนองไขว่ อำเภอหล่มสัก มีความ
ต้องการในการทบทวนเรียนรู้ ทักษะการการย้อมผ้าและรวบรวมสมาชิก และเริ่มต้นดำเนินย้อมผ้า และ
วทิ ยากรสอนความรู้เรอ่ื งการยอ้ มผา้ ลายต่างทห่ี ลากหลายมากยิง่ ข้ึน
การตรวจสอบและประเมนิ ผล (Check : C)

การตรวจสอบและประเมนิ ผล และสรปุ ผลการดำเนินงาน โดย ครูอาสาสมัคร ฯ และครู กศน.
ตำบล
ไดจ้ ดั กิจกรรมหลักสูตรต่างๆตามแผนชุมชนของตำบล และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีของ กศน.อำเภอ และได้
สรปุ ผลการดำเนนิ งานร่วมกันกับกลุ่ม และผู้เกยี่ วขอ้ ง โดยใชก้ ระบวนการสองเงื่อนไข สามห่วง ตามแนวทางหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคเพอื่ นำไปปรับปรงุ ต่อไป ในการสรุปผลการดำเนินงาน

การนิเทศตดิ ตาม โดยครู/ผู้บรหิ าร กศน. รว่ มกบั ผู้นำชุมชน และผบู้ ริหาร กศน.อำเภอ
หล่มเก่า ไดร้ ่วมตดิ ตาม ในทกุ กิจกรรม

รายงานผูจ้ บหลกั สตู ร ของแตล่ ะหลกั สูตร ซงึ่ ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100 ของ
ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมทัง้ หมด

ผลงาน การนำสินคา้ สู่ตลาด การนำเสนอเปน็ แหล่งเรยี นรู้ แหลง่ ศึกษาดงู าน งานแสดง
สนิ คา้ ในกิจกรรมต่างๆของกศน. และของหน่วยงานในทอ้ งถนิ่

การตดิ ตามผู้จบหลกั สูตร หลงั เรียนร่วมตดิ ตามกบั ผนู้ ำชุมชน พบวา่ มีการนำความรไู้ ปใช้
ในการตอ่ ยอดอาชีพ และทำเปน็ อาชพี เสริม

การพัฒนาปรบั ปรงุ (Action : A)
การนำผลการสรปุ กจิ กรรม/โครงการท่ไี ด้ดำเนินไปแลว้ นน้ั มาวเิ คราะหแ์ ละเป็นขอ้ เสนอแนะ

พัฒนาปรับปรุงในปงี บประมาณตอ่ ไป อยา่ งตอ่ เนื่อง ยกตวั อยา่ ง เชน่ เมือ่ แกป้ ัญหาดา้ นการฟ้ืนฟูรวบรวมกลมุ่ และ
ทักษะความรู้ด้านเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการสรา้ งผลิตภณั ฑ์ใหม่ให้กับกลุ่มเพื่อตอบสนองความตอ้ งการของตลาด
เม่อื วเิ คราะห์ผลหลงั จดั กิจกรรมไดท้ ราบปัญหาใหม่ คอื การรวมกลุ่มทไี่ มเ่ ขม้ แขง็ ขาดการทำบญั ชีรายรบั –
รายจา่ ย และการพฒั นาสร้างผลิตภัณฑ์ จงึ ไดม้ ีการนำปญั หามาจดั ทำหลกั สูตร การพฒั นาศกั ยภาพกลุ่มพัฒนาอาชีพ
ผลติ ภัณฑจ์ ากผ้ายอ้ มผ้าซ่ินหวั แดงตนี ก่านหลากหลายรปู แบบสามารถเพ่มิ มูลค่าใหก้ ับผลิตภัณฑ์และเพ่ิมรายไดใ้ ห้
ชุมชน เชน่ การยอ้ มผ้าหวั ซิ่นแดงตีนกา่ น การเย็บเปน็ เสอื้ ผ้าไทหล่ม การเยบ็ เป็นกระเปา๋ รักษ์โลกและการตดั เยบ็
เป็นกระโปรง การทำพวงกญุ แจจากผา้ มัดย้อม เป็นต้น

12. กลยทุ ธห์ รอื ปัจจัยที่ทำใหป้ ระสบความสำเรจ็
กลุ่มพัฒนาอาชีพการทำผ้ามัดย้อมบ้านโนนทองหมทู่ ่ี 10 ตำบลหนองไขว่ อำเภอหล่มสกั ได้รบั การติดต่อ

ใหย้ อ้ มหัวซ่นิ แดงสง่ ขายจากแม่บ้านตำบลตาลเด่ียว ไดร้ บั การตดิ ต่อจากเกษตรตำบลหนองไขว่ ทำเส้ือทีมจากผ้าย้อม
ซึ่งขณะนี้ ได้มี หลายหน่วยงานให้การสนับสนุนสั่งผลิตภัณฑ์จากกลุ่ม เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล กศน.อำเภอ
หล่มสัก สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอหล่มสัก สำนักงานเกษตรอำเภอหล่มสัก และกำลังขอข้ึนทะเบียนเป็นกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน และผลิตภัณฑ์จากผ้าย้อมหลากหลายรูปแบบสามารถเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์และเพิ่มรายได้ให้
ชุมชน เช่น การย้อมผ้าหัวซิ่นหวั แดงตีนก่านลวดลายรวม สมาชิกในกลุ่มสามารถเผยแพรค่ วามรู้ให้กับชมุ ชน ตำบล
ใกล้เคียง

ในการบริหารจัดการกลุ่มและการดำเนินงานของกลุ่มได้เน้นกระบวนการตามหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง
น่นั ก็คือ สองเง่อื นไข สามห่วง สามารถวเิ คราะหไ์ ด้ ดังนี้

เงอ่ื นไขความรู้
กลุ่มพัฒนาอาชีพการทำผ้ามัดย้อม มีการพัฒนาความรู้ ทักษะด้านต่างๆ ของการประกอบอาชีพ
ซึง่ กลุม่ ได้มกี ารขวนขวายหาความร้อู ยา่ งสมำ่ เสมอ มีการศึกษาดงู าน การอบรมเร่อื งวิสาหกจิ ชุมชน พฒั นาความรู้เดมิ
เพิ่มเติมความรใู้ หม่ อยอู่ ย่างสมำ่ เสมอ ดจู ากการเรยี นหลักสูตรตา่ งๆเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพของกลุ่ม โดยมกี ารประสาน
กบั หน่วยงานต่างๆในพ้ืนที่ อย่างตอ่ เน่อื ง
เงือ่ นไขคณุ ธรรม
ในการประกอบอาชพี ของกลุ่มดำเนินด้วยคณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ มคี วามซอื่ สตั ยต์ อ่
ลูกคา้ มีความขยนั อดทน พยายามเรียนรู้และนำความรูม้ าใชอ้ ย่างเตม็ ความสามารถ กลมุ่ เน้นการทำงานร่วมกนั
ทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเหน็ ของกนั และกัน และใช้ความเพียรในการดำเนนิ ชวี ิต
ดา้ นพอประมาณ
กลุ่มพัฒนาอาชพี การทำผา้ มัดยอ้ มบา้ นโนนทองหมู่ที 10 ตำบลหนองไขว่ อำเภอหล่มสัก มีการนำทรัพยากร
ของตนเองทม่ี อี ยู่มาใช้อย่างค้มุ ค่า ซง่ึ มีผรู้ ู้ ภูมิปญั ญา ผ้ทู รงวฒุ ิในทอ้ งถนิ่ ที่ความรู้ สามารถถา่ ยความรู้และสืบทอด
ต่อกันมารุ่นส่รู ุ่นได้ นอกจากนัน้ ยงั การต่อยอดผลิตภัณฑ์จากผ้าหวั ซิน่ หวั แดงตนี กา่ นหลากหลายรูปแบบสามารถเพ่ิม
มลู ค่าใหก้ ับผลติ ภณั ฑ์และเพ่ิมรายได้ให้ชุมชน จึงเปน็ การประมาณตนว่ามีทกั ษะ ความสามารถ ตน้ ทุน และนำมาใช้
อยา่ งเกดิ ประโยชน์
ดา้ นความมเี หตุผล
การดำเนินกิจกรรมของกลุ่มอาชีพการย้อมผ้าบ้านโนนทอง เป็นการดำเนินตามเหตุและผลที่ควรจะเป็น
เน่ืองด้วยปจั จัยต่างๆเออ้ื ต่อการเรียนรู้ และการปฏบิ ตั ิ เชน่

- ความพร้อมด้านภูมปิ ญั ญา/ผู้รู้
- ความพร้อมดา้ นผู้นำ ผสู้ นบั สนนุ
- ความพรอ้ มดา้ นหน่วยงานท่ีให้การสนับสนนุ
จึงเป็นเหตุผลที่กลุ่มสามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง และพัฒนาขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม มีผลการ
ดำเนินงานเชงิ ประจกั ษ์

ด้านการมีภูมิคมุ้ กันท่ีดี
กลุม่ อาชพี การการทำผ้ามัดยอ้ มบา้ นโนนทองหมทู่ ี่ 10 ตำบลหนองไขว่ อำเภอหลม่ สกั จงั หวัดเพชรบูรณ์ มี
ความพรอ้ มในการรบั ความเปลย่ี นแปลงและรบั การพฒั นาตลอดเวลาในพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ และมคี วามพยายามพัฒนา
ทักษะของสมาชิก การทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย และก้าวสู่วิสาหกิจชุมชน เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคม
อาเซยี น เป็นการสรา้ งภูมิคุ้มกันที่ดี ใหก้ ับตนเอง

13. ข้อเสนอแนะ
1.ควรพฒั นากลุ่มสมาชกิ ในเรื่องการจำหนา่ ยสินค้าผ่านสือ่ ออนไลนเ์ พือ่ เพ่ิมชอ่ งทางในการจำหนา่ ยสรา้ ง

รายได้ให้ชมุ ชน
2. ควรพฒั นากลุ่มสมาชิกจดั ทำคลังสนิ ค้าทส่ี ามารถเกบ็ รวบรมไดอ้ ยา่ งหลากหลายชอ่ งทาง เช่น จัดทำ

เวบ็ ไซดส์ อ่ื ออนไลน์ตา่ ง ๆ

บรรณานุกรม

“ครนู อกกรอบ คนนอกระบบ”. [ออนไลน์] . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://www.facebook.com/groups/1855376591391992/permalink/2793016140961361/
[สบื คน้ เม่อื วนั ท่ี ๒๗ มนี าคม ๒๕๖๔]

“แนวทางการนาเสนอแนวปฏบิ ตั ทิ ่ี ของศนู ยภ์ าคกศน.”. [ออนไลน์] . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://northnfe-media.blogspot.com/2017/07/best-practice.html
[สบื คน้ เม่อื วนั ท่ี ๒ เมษายน ๒๕๖๔]

ภาคผนวก

ค่มู ือแนวทางการนาเสนอสู่แนวปฏิบตั ทิ ่ดี ี

ประชาสมั พนั ธผ์ ลงานผ่านโซเซียลมเี ดยี

ประชาสมั พนั ธ์ผลงานผา่ นโซเซียลมเี ดยี

ประชาสมั พนั ธ์ผลงานผา่ นโซเซียลมเี ดยี

(Best Practice)
การสง่ เสรมิ อาชพี การทำผา้ มดั ยอ้ ม

1. ชือ่ โครงการ : โครงการการจดั Best Practice กศน.ตำบลหนองไขว่ ประจำปงี บประมาณ 2565

2. สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน.
พันธกจิ 1. จดั และส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่มี ีคุณภาพ เพื่อยกระดับ

การศกึ ษา พัฒนาทักษะการเรยี นรขู้ องประชาชนทุกกลมุ่ เป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวยั และพร้อมรับการ
เปลยี่ นแปลงบริบททางสังคม และสร้างสงั คมแห่งการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต

จดุ เนน้ ขอ้ ท่ี 1.3 พฒั นากระบวนการดำเนินงานใน กศน.ตำบล โดยใช้ความสำคัญกบั วงจรคณุ ภาพเดมมง่ิ
(PDCA) เพ่ือการวางแผนการปฏบิ ตั งิ าน การติดตามประเมนิ ผลและนำผลมาพัฒนา
นโยบายเร่งดว่ นเพื่อร่วมขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

2. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
2.1 เร่งปรบั หลักสตู รการจัดการศกึ ษาอาชีพ กศน.เพ่ือยกระดับอาชีพของประชาชนให้เป็นอาชีพท่ี

รองรับอตุ สาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S-curve และ New S- curve) โดยบูรณาการร่วมกันในการพัฒนา
และเสริมทักษะใหม่ด้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุ่งเน้นสร้างโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ และ
ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพื้นเขตระเบียง
เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศสำหรับพื้นที่ปกติให้พัฒนาอาชีพที่เน้นการต่อยอด
ศกั ยภาพและตามบรบิ ทพืน้ ท่ี

2.3 พฒั นาและส่งเสรมิ ประชาชนเพ่อื ต่อยอดการผลิตและจำหน่วยสินค้าและผลติ ออนไลน์
1. เร่งจัดต้ังศูนยใ์ ห้คำปรึกษาและผลิตภัณฑ์ Brand กศน.เพือ่ ยกระดับคุณภาพของสินค้า

และผลิตภณั ฑ์ การบรหิ ารจัดการที่ครบวงจร (การผลติ การตลาด การสง่ ออก และสร้างชอ่ งทางจำหน่าย) รวมทั้ง
ส่งเสริมการใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการเผยแพรแ่ ละจำหน่ายผลิตภัณฑ์

2. พฒั นาและคดั เลอื กสุดยอดสนิ ค้าและผลติ ภณั ฑ์ กศน.ในแต่ละจงั หวัด พร้อมทัง้ ประสาน
ความร่วมมือกับสถานบี รกิ ารน้ำมันในการเป็นช่องทางการจำหน่ายสุดยอดสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.ให้กวา้ งขวาง
ยงิ่ ขนึ้

3. หลักการและเหตผุ ล
ปงี บประมาณ 2565 สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้กำหนด

ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย จากหลักการท่ีวา่ “ถ้าได้นำ
ความรไู้ ปใช้ ความรั้นกย็ ิ่งเพ่ิมคณุ คา่ เพราะทำให้เกดิ การต่อยอดความรู้ให้แตกแขนงออกไปอบา่ งกว้างขวาง " ดังน้ี
เป้าหมายสำคัญประกาศหน่งึ ในการปฏบิ ัติงานเพ่ือเพิม่ ผลผลติ ในการทำงานทัง้ ในดา้ นปริมาณและด้านคุณภาพ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหล่มสัก และ กศน.ตำบลกลุ่มโซนหลัก
เมือง เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำ “ โครงการ Best Practice โซนหลักเมือง ประจำปีงบประมาณ
2565” ข้ึน เพอ่ื ให้ครูอาสาสมัคร ฯ ครู กศน.ตำบล ครปู ระจำศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน บรรณารกั ษ์หอ้ งสมุดประชาชน
สำหรับเป็นแนวทางในการปฏิบัติและพัฒนางาน กศน. ในด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน งานการศึกษาต่อเนื่อง งาน
การศึกษาตามอธั ยาศยั และสง่ เสริมการรหู้ นงั สือ ทด่ี ำเนินการจดั กิจกรรมงาน กศน.ใน

ปีงบประมาณ 2565 อยา่ งเป็นระบบเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานดา้ นปริมาณงานและคุณภาพของงานอย่าง
แท้จริง

4. วตั ถุประสงค์
1. เพื่อพฒั นาประสทิ ธิภาพในการทำงานด้านปรมิ าณงานและคณุ ภาพของงานดา้ นการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

งานการศกึ ษาต่อเนอื่ ง งานการศึกษาตามอธั ยาศัย และการสง่ เสริมการรูห้ นังสือ

5. เป้าหมาย
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 จำนวนหน่วยงานท่ีจัด Best Practice
- กศน. ตำบล จำนวน 1 แหง่
5.1.2 บคุ ลากรผู้จัดทำ Best Practice
- ครู กศน.ตำบล จำนวน 1 คน
- ครู ศรช. จำนวน 1 คน
5.1.3 เนอ้ื หาสาระในการจดั ทำ Best Practice
- การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
- การสง่ เสริมการรหู้ นังสอื
- การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง
การจัดการศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ /โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน
- การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

5.2 เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ
1. กศน.ตำบล สามารถจัดทำ Best Practice ในการดำเนนิ งาน กศน. ใหเปนไปตามยุทธศาสตร์

และจดุ เนนการดาํ เนนิ งาน กศน. ปงบประมาณ 2565 อยางมปี ระสิทธิภาพ
2.บุคลากร กศน. พัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานดา้ นปรมิ าณงานและคุณภาพของงานดา้ น

การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน งานการศึกษาต่อเน่ือง งานการศึกษาตามอธั ยาศัย และการส่งเสรมิ การร้หู นังสอื

6. วิธกี ารดำเนินงาน วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย พนื้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ
กจิ กรรม ดำเนนิ การ ม.ค.65

1. แต่งต้งั คณะกรรม เพอ่ื สร้างทมี งาน/มอบหมาย ครู กศน.ตำบล ต.หนองไขว่
การจัดดำเนนิ การ หนา้ ท่รี ับผดิ ชอบ อ.หลม่ สกั
จดั ทำ Best
Practice ในกลุม่
โซนและในอำเภอ

2.จัดทำแผนการ - เพื่อให้ผู้เก่ียวขอ้ งได้ ต.หนองไขว่ ม.ค.65

จัดทำ Best ทราบ เป็นขอ้ มูลในการ Best ครู กศน.ตำบล

Practice ในแต่ละ Practice ในแตล่ ะกิจกรรม

กิจกรรม

3.ดำเนนิ การนเิ ทศ ติดตาม ผลการดำเนินงาน

3.1 การประชุม - เพ่อื วางแผนออกแบบ - ครู กศน.ตำบล ต.หนองไขว่ 19 ม.ค.65

ช้ีแจงการ กจิ กรรมในการจัดกจิ กรรมก

ดำเนนิ การจดั ทำ ให้เปน็ ไปตามนโยบายและ

Best Practice ใน จดุ เน้นการดำเนนิ งาน

แตล่ ะกิจกรรม

3.2 การสำรวจความ - เพอ่ื สำรวจความต้องการ - นักศึกษา -ต.หนองไขว่ 22 -31

ต้องการของชุมชน อย่างแทจ้ รงิ ของกล่มุ เปา้ หมาย กศน. ม.ค.65

- กล่มุ ผู้สงู อายุ

- กลุ่มอาชีพ

- ประชาชน

ทัว่ ไป

3.3 ปฏิบัตกิ ารจัดทำ -เพื่อให้การจดั กิจกรรม กศน. -นักศกึ ษา -กศน.ตำบล ก.พ – มี.ค

Best Practice แต่ เป็นไปตามนโยบายของ กศน. - หมบู่ ้าน 65

ละกจิ กรรม ในพืน้ ที่ สำนักงาน กศน. - กลมุ่ ผู้สูงอายุ แหง่ การ

ตามแผน -เพื่อใหค้ รู ครู กศน.ตำบล - กล่มุ อาชพี เรยี นรู้

ครู ศรช.สามารถจัดกจิ กรรม - ประชาชน

6. วธิ กี ารดำเนินงาน (ตอ่ )

กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
มี.ค.65
ดำเนนิ การ

กิจกรรม กศน. ให้มีคุณภาพ ทว่ั ไป

-พฒั นาประสิทธภิ าพในการ

ทำงานด้านปรมิ าณงานและ

คุณภาพของงานดา้ นการศึกษา

ข้นั พื้นฐาน งานการศกึ ษา

ตอ่ เน่ือง งานการศึกษาตาม

อัธยาศัย และการส่งเสรมิ การรู้

หนังสอื

4. สรปุ ผลการการ - เพ่อื ประเมนิ ผลการจดั Best รายการ กศน.ตำบล

ทำจัด Best Practice ปงี บประมาณ 2564 การทำ Best หนองไขว่

Practice Practice

ปงี บประมาณ 2564 จำนวน 2 เล่ม

7. วงเงนิ งบประมาณ

-

หมายเหตุ ทกุ รายการขอถัว่ เฉลย่ี จ่ายจรงิ

8. แผนการเบกิ จ่ายงบประมาณเปน็ รายไตรมาส

กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ต.ค.–ธ.ค. 64) (ม.ค.–ม.ี ค. 65) (เม.ย.–มิ.ย.65) (ก.ค.–ก.ย.65)
1 การประชมุ ชแ้ี จงการดำเนนิ การจดั ทำ
Best Practice ในแต่ละกิจกรรม //
2.การสำรวจกลุ่มเป้าหมายสำหรบั จัดทำ
Best Practice ในแตล่ ะกจิ กรรม //
3 ปฏิบัตกิ ารจัดทำ Best Practice แต่ละ
กิจกรรม ในพื้นท่ีตามแผน //
4. สรุปผลการการทำจัด Best Practice
ปงี บประมาณ 2565 /

9. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ

1. ว่าท่ีร้อยตรปี ระจวบ เจนชัย
2. นายจงรักษ์ อปุ รี
3. นางสาวณฐมน บุญเทยี ม
4. นางสาวอโนชา สายทองต่งิ

10. เครือขา่ ย
1. คณะครู กศน.ตำบล
2. กลุ่มวชิ าชีพในชุมชน
3. อาสาสมัครหมู่บ้านแห่งการเรียนรู้

11. โครงการทเ่ี กี่ยวข้อง
โครงการจดั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
โครงการจดั การศกึ ษาต่อเน่อื ง
โครงการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

12.ผลลพั ธ์ (Outcome)
12.1 กศน.ตำบล สามารถจัดทำ Best Practice ในการดำเนนิ าน กศน. ใหเปนไปตามยทุ ธศาสตร์

และจดุ เนนการดําเนนิ งาน กศน. ปงบประมาณ 2565 อยางมปี ระสทิ ธิภาพ
12.2 บคุ ลากร กศน. พฒั นาประสทิ ธิภาพในการทำงานด้านปริมาณงานและคุณภาพของงานดา้ น

การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน งานการศกึ ษาตอ่ เนื่อง งานการศึกษาตามอธั ยาศัย และการสง่ เสรมิ การรูห้ นังสอื

13. ตวั ชีว้ ดั ผลสำเร็จของโครงการ
13.1 ตวั ชีว้ ดั ผลผลิต (Output)
1) กศน.ตำบล สามารถจดั ทำ Best Practice ในการดำเนนิ งาน กศน. ใหเปนไปตามยทุ ธศาสตร์

และจดุ เนนการดําเนินงาน กศน. ปงบประมาณ2565 อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ จำนวน 2 เรอ่ื ง/ปี
2).บคุ ลากร กศน. พฒั นาประสิทธภิ าพในการทำงานด้านปรมิ าณงานและคณุ ภาพของงานด้าน

การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน งานการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง งานการศึกษาตามอธั ยาศยั และการส่งเสรมิ การร้หู นงั สอื
3) มีรายงานการจัดทำ Best Practice ให้เป็นข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ

สถานศึกษา
13.2 ตวั ช้วี ดั ผลลัพธ์ (Outcome)
1) กศน.ตำบล สามารถจัดทำ Best Practice ในการดำเนินงาน กศน. ใหเปนไปตาม

ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนนการดาํ เนินงาน กศน. ปงบประมาณ 2565 อยางมปี ระสิทธภิ าพ
2)บุคลากร กศน. พัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานดา้ นปริมาณงานและคณุ ภาพของงานด้าน

การศึกษาข้นั พื้นฐาน งานการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง งานการศึกษาตามอธั ยาศยั และการส่งเสรมิ การรหู้ นังสอื
2) มีรายงานการจัดทำ Best Practice ให้เป็นข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ

สถานศกึ ษา

14. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ
14.1 แบบประเมนิ ความสำเร็จของการทำ Best Practice
14.2 รายงานการจดั ทำ Best Practice

ลงชือ่ .................................................................ผู้เขียนโครงการ
(นางสาวอโนชา สายทองตง่ิ )
ครกู ศน.ตำบลหนองไขว่

ลงชื่อ.................................................................ผู้เสนอโครงการ
(นางกนกรดา กอกเชียงแสน)

ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน

ลงชอ่ื ............................................................ ผู้เหน็ ชอบโครงการ
(นายจงรกั ษ์ อปุ รี)
ครู

วา่ ท่ีรอ้ ยตรี........................................................... ผ้อู นมุ ัติโครงการ
(ประจวบ เจนชยั )

ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหลม่ สกั

1

2


Click to View FlipBook Version