The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประชุมวันที่5 พ.ย.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by takarn_m, 2021-11-20 05:34:10

รายงานการประชุมวันที่5 พ.ย.2564

รายงานการประชุมวันที่5 พ.ย.2564

1

ระเบียบวาระการประชุม
ครแู ละบคุ ลากร กศน.อาเภอคลองหอยโข่ง วันพธุ ที่ 5 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖4

ผา่ นระบบออนไลน์ ระบบ Google Meet
……………………………………………

กอ่ นระเบียบวาระการประชุม
อญั เชญิ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถ

บพิตร
ในการดาเนินชีวติ และการประกอบกจิ การงาน ย่อมจะต้องมีปัญหาต่าง ๆ เป็นอุปสรรค ขัดขวางความสาเร็จ

อยู่เสมอ ยากท่ีผู้ใดหรือหรือสิ่งหน่ึงส่ิงใดจะหลีกเล่ียงพ้นได้ คนก็มีปัญหาของคน สังคมก็มีปัญหาของสังคม ประเทศ
ก็มีปัญหาของประเทศ แม้กระท่ังโลกก็มีปัญหาของโลก ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและกิจการงาน จึงเป็นเรื่องธรรมดา
ข้อสาคัญเมื่อมีปัญหาเกิดข้ึน จะต้องแก้ไขให้ลุล่วงไปโดยไม่ชักช้า ผู้ใดมีสติคิดได้ดี ปฏิบัติได้ถูก ผู้นั้นก็มีหวังบรรลุ
ถึงเปา้ หมาย มคี วามสาเร็จสูง ถ้าเป็นตรงกนั ขา้ ม กย็ ากที่จะประสบความสาเร็จสมหวังได้

พระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั ร มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ วนั ท่ี 31 กรกฎาคม ๒๕๓9

ระเบยี บวาระท่ี ๑ เรื่อง ประธานแจ้งทป่ี ระชุมทราบ
1. มาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และแนวทางการ

ปฏิบตั ิงาน
1.1 ปฏบิ ัติในการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ตามมาตรการอยา่ งเครง่ ครดั และไมป่ กปดิ

ขอ้ มูล กรณีตนเองเขา้ ข่ายกลุ่มเสี่ยง
1.2 ขา้ ราชการครู บรรณารกั ษ์ ครูอาสา ปฏบิ ัติทสี่ ถานศกึ ษา / ห้องสมุดประชาชน และพื้นทตี่ าม

ภารกจิ / ครู กศน.ตาบล ปฏิบตั ิงานประจาที่ กศน.ตาบล
1.3 คัดกรอง (Screening) ผู้ทีเ่ ข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ตอ้ งได้รบั การคัดกรองวดั อุณหภูมิรา่ งกาย

และบนั ทึกการมาติดตอ่ ราชการ
1.4 สวมหนา้ กาก (Mask) ทกุ คนตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามัย (2ช้ัน) ตลอดเวลาท่อี ย่ใู น

สถานศึกษา
1.5 ลา้ งมอื (Hand Wash) ลา้ งมือบอ่ ย ๆ ด้วยสบูแ่ ละนา้ นานอยา่ งน้อย 20วินาที หรอื ใชเ้ จล

แอลกอฮอล์ หลกี เลีย่ งการสมั ผัสบรเิ วณจดุ เสี่ยงโดยไม่จาเปน็
1.6 เวน้ ระยะห่าง (Social distancing) เว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อย่างน้อย 1- 2เมตรรวมถึงการจดั

เวน้ ระยะหา่ งของสถานที่
1.7ทาความสะอาด (Cleaning) เปดิ ประตู หนา้ ต่าง ให้อากาศถา่ ยเท หากจาเปน็ ตอ้ งใช้
1.8 เครอ่ื งปรับอากาศ กาหนดเวลาเปดิ - ปดิ เครอื่ งปรับอากาศ และเปดิ ประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ

และทาความสะอาดบริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทาความสะอาดพ้ืนผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอี้ และวัสดุอุปกรณ์ ช่วงพักเท่ียง
และหลงั เลิกงานทกุ วัน รวมถึงจัดให้มถี งั ขยะมลู ฝอยแบบมฝี าปิดและรวบรวมขยะออกจากสถานศึกษาเพื่อนาไปกาจัด
ทกุ วัน

1.9 ลดแออดั (Decrease) ลดระยะเวลาการทากจิ กรรมใหส้ ัน้ ลงเท่าท่จี าเป็นหรือเหลอื่ มเวลาทา
กจิ กรรมและหลีกเลีย่ งการทากจิ กรรมรวมตวั กนั เปน็ กล่มุ

1.10 บรหิ ารเวลาในการทานอาหารกลางวัน ให้สลบั เวลากนั ทาน ไมน่ ั่งรวมกนั

/ผู้รบั ผิดชอบงานอาคารสถานที.่ ..

2

1.11 ผู้รับผิดชอบงานสถานที่และงานบุคลากรของสถานศึกษา มีการกากับ ติดตาม ทบทวน
การดาเนินงานให้สอดคล้องตามแนวปฏิบัติ สถานการณ์ และบริบทพ้ืนท่ี อย่างต่อเน่ือง กรณีพบ ผู้มีอาการเส่ียงหรือ
ป่วย ตอ้ งรีบแจ้งเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขทันที และรายงานต่อผบู้ รหิ าร ผู้เกย่ี วขอ้ ง

2. ขอขอบคณุ การรว่ มทาบุญและร่วมงานกฐินวัดท่านางหอม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
3. มอบอานาจให้รองเลขาธกิ าร กศน.ปฏบิ ัตริ าชการแทน (คาสง่ั สานักงาน กศน.ที่ 139/2564
ลว.1 ต.ค.64)
4. การจดั ตงั้ กลมุ่ สานักงาน กศน.จงั หวัดและสถานทตี่ ง้ั กลมุ่ สานักงาน กศน.จงั หวัด
5. การจัดต้ังกล่มุ สถานศกึ ษาและแต่งตง้ั ผทู้ าหน้าทป่ี ระธานกลุม่ สถานศึกษา

ระเบียบวาระท่ี ๒ เรือ่ ง รับรองรายงานการประชุมคร้ังท่ีผา่ นมา
การประชุมประจาเดือนตลุ าคม 2564 ประจาปีงบประมาณ 2565 วันศกุ รท์ ี่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖4

ณ หอ้ งประชมุ กศน.อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวัดสงขลา

ระเบียบวาระท่ี ๓ เรอื่ งสืบเนื่องจากการประชมุ ครั้งทีแ่ ล้ว
3.1 การดาเนินงานพฒั นาสถานศกึ ษาพอเพียงเพอื่ ยกระดับเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
3.2 การจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ประจาปีงบประมาณ 2564 (งานประกนั

คุณภาพสถานศกึ ษา)

ระเบยี บวาระที่ ๔ เรอ่ื งเสนอเพื่อทราบ พจิ ารณา และถือปฏิบัติ
4.1 การขับเคลอ่ื นนโยบายสู่การปฏบิ ตั ปิ ระจาปงี บประมาณ 2565
- นโยบายรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (คาแถลงนโยบายการจดั การศกึ ษาของ

นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร)
- นโยบายรฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ดร.กนกวรรณ วลิ าวลั ย์
- นโยบายเลขาธกิ าร กศน. นายสรุ ศกั ด์ิ อนิ ศรไี กร

4.2 การเตรียมความพร้อมในการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
4.3 การประเมินเปดิ สถานศึกษาในสถานการณ์ฉกุ เฉนิ พ.ศ. 2548 (ฉบบั ที่ 32) ลงวนั ที่ 20 กันยายน
2564
4.4 การส่งข้อมลู สารสนเทศนกั ศกึ ษาลงทะเบยี น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 (งานพน้ื ฐาน)
4.5 การรายงานข้อมูลผลการเรยี นเฉลีย่ สะสม (GPAX) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 (งานพืน้ ฐาน)
4.6 ปฏทิ ินการดาเนนิ งานหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ.2551 ภาคเรยี นท่ี
2/2564 และปฏิทนิ การสอบ N – Net ครง้ั ที่ 2 ปีการศึกษา 2564 (งานพน้ื ฐาน)
4.7 รายงานข้อตรวจพบจากการตรวจสอบภายในการขออนมุ ตั ิเบกิ จา่ ยงบประมาณ ประจาไตรมาส 4
ปีงบประมาณ 2564
4.8 แผนปฏบิ ัติการประจาปี งบประมาณ 2565 /แผนการจัดกจิ กรรม ไตรมาสที่ 1 - 2 (งานแผน ฯ )
4.9 การจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุดประชาชน / ห้องสมดุ
กศน.ตาบลสาขา/บา้ นหนงั สือชุมชนในสถานการณ์แพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
4.9 นารถมินโิ มบาย บูรณการกบั การจดั กิจกรรมศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน ประจาปีงบประมาณ 2565
4.10 การจดั กิจกรรมต่อยอดจติ อาสาพระราชทาน - ค้นหาผู้นาดเี ดน่ /ชมุ ชนดีเดน่ ดา้ นจติ อาสา

/4.11 อาสาสมัคร กศน....

3

4.11 อาสาสมัคร กศน. ดาเนินการทกุ ตาบล ๆ ละ 3 คน / อาสาสมัคร 1 คน รับผดิ ชอบ 50 หลังคาเรอื น
4.12 การดาเนนิ โครงการลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน
4.13 การดาเนินงานโครงการรณรงคป์ ้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติด การจดั ต้ังชมรม / ศนู ยเ์ พ่ือนใจ
TO BE NUMBER ONE
4.14 แนวทางการดาเนนิ งานโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน ประจาปีงบประมาณ 2565
4.15 การเบิกจา่ ยงบประมาณตามแผนการจัดกจิ กรรม / พสั ดุ - การเงนิ
4.16 การบันทกึ ลงนามข้อตกลงร่วมกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย MOU
4.17 การจดั ทาขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน
4.18 การดาเนนิ งานองค์กรนกั ศกึ ษา
4.19 การอยูเ่ วร - บันทกึ เวรยาม / การออกนอกสถานที่ตั้งของสถานศึกษา
ระเบียบวาระที่ ๕ เร่อื งอื่น ๆ (ถา้ มี)
5.1 การจัดกิจกรรมเข้าจังหวะ exercise ทกุ วนั พธุ เวลา 15.30 น.
5.2 ........................................................................................................................... ........................................

4

รายงานการประชมุ
ครแู ละบุคลากร กศน.อาเภอคลองหอยโข่ง วนั พธุ ท่ี 5 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖4

ผา่ นระบบออนไลน์ ระบบ Google Meet

ผู้มาประชุม จานวน ……………………………………………
๑1 คน
๑. นางสาวพัชรี ไชยโรจน์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอคลองหอยโข่ง

๒. นางสาวยุพเรศ สวุ รรณะ ครู

๓. นางสาวอนสุ รา ยาพระจันทร์ ครูผู้ช่วย

๔. นางสาวตากาญจน์ มีนุ่น บรรณารักษ์

๕. นายภธู ร มณรี ตั น์ พนักงานพิมพ์

๖. นายคานงึ ศัทโธ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

๗. นายมนตรี จันวดี ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น

๘. นางสุภาภรณ์ จันวดี ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน

๙. นายศิรชิ ยั บุญชว่ ย ครู กศน.ตาบล

๑๐.นางสาวกันตชิ า ดาอาไพ ครู กศน.ตาบล

๑๑.นางสาวอนุชตรา ปาโต ครู กศน.ตาบล

ผู้ไม่มาประชุม จานวน 1 คน
ครู กศน.ตาบล
นางสาวสาลนิ ี อาแวเลา๊ ะ ลาปว่ ย

เร่มิ ประชุมเวลา 10.30 น.
นางสาวพัชรี ไชยโรจน์ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ

คลองหอยโขง่ เป็นประธานการประชมุ กลา่ วเปิดการประชุม และดาเนนิ การประชุม ดังนี้

ก่อนระเบยี บวาระการประชุม
อัญเชญิ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระชนกาธเิ บศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ

บพติ ร
ประธาน อนั เชิญพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาอดุยเดชมหาราช บรมนาถ

บพิตร
ในการดาเนนิ ชีวิตและการประกอบกจิ การงาน ย่อมจะต้องมีปัญหาต่าง ๆ เป็นอุปสรรค ขัดขวางความสาเร็จ

อยู่เสมอ ยากทีผ่ ้ใู ดหรือหรอื สิ่งหนง่ึ ส่ิงใดจะหลีกเลี่ยงพ้นได้ คนก็มีปัญหาของคน สังคมก็มีปัญหาของสังคม ประเทศก็
มีปัญหาของประเทศ แม้กระทั่งโลกก็มีปัญหาของโลก ปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชีวิตและกิจการงาน จึงเป็นเรื่องธรรมดา
ข้อสาคัญเมื่อมีปัญหาเกิดข้ึน จะต้องแก้ไขให้ลุล่วงไปโดยไม่ชักช้า ผู้ใดมีสติคิดได้ดี ปฏิบัติได้ถูก ผู้น้ันก็มีหวังบรรลุ
ถงึ เป้าหมาย มคี วามสาเรจ็ สงู ถา้ เปน็ ตรงกันข้าม ก็ยากทจ่ี ะประสบความสาเรจ็ สมหวังได้

พระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั ร มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 31 กรกฎาคม ๒๕๓9
ประธาน เพ่ิมเติมให้ทาคนทีกาลังในในการปฏิบัติงาน การทางานการดาเนินชีวิตย่อมมีปัญหา อุปสรรค
เมื่อมแี ลว้ เราจะสามารถแกไ้ ขปัญหานัน้ ให้ผ่านพน้ ไปได้อยา่ งไร

/ระเบยี บวาระที่ 1 ...

5

ระเบียบวาระท่ี ๑ เรื่อง ประธานแจ้งท่ีประชุมทราบ
1. มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และ

แนวทางการปฏบิ ตั งิ าน
1.1 ปฏิบัติในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ตามมาตรการอย่างเคร่งครัด และ

ไม่ปกปดิ ขอ้ มลู กรณตี นเองเขา้ ข่ายกลมุ่ เส่ยี ง
ประธาน แจง้ การใชช้ วี ติ ประจาวนั ของทกุ คนมีความเสยี่ ง ใหป้ ฏบิ ัตติ ามมาตรการอย่างเคร่งครัด เมื่อรู้

วา่ เป็นกลมุ่ เสี่ยงใหว้ เิ คราะห์ตวั เอง แจ้ง หรือปรึกษา ให้ ผอ.ทราบโดยให้พิจารณาความสาคัญของเรื่องน้ัน ๆ ช่วยกับ
ขบั เคล่ือนงานของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายจุดเน้นการดาเนินงาน ขอให้ทุกคนทบทวนบทบาทหน้าที่ของ
ตนเองตามตาแหน่งและปฏบิ ัตงิ านให้เปน็ ผลสาเรจ็ ตามเกณฑต์ ัวช้วี ดั ท่ีเก่ยี วข้องของงานในที่หน้าทรี่ ับผิดชอบ

1.2 ข้าราชการครู บรรณารักษ์ ครูอาสา ปฏิบัติที่สถานศึกษา / ห้องสมุดประชาชน และพ้ืนที่
ตามภารกิจ / ครู กศน.ตาบล ปฏิบัตงิ านประจาท่ี กศน.ตาบล

ประธานแจ้งครูปฏิบัติหน้าที่ ณ กศน.อาเภอ บรรณารักษ์ ปฏิบัติหน้าท่ีห้องสมุดประชาชน
ครูอาสาสมัครฯ ปฏิบัติงามตามคาส่ัง ครู กศน.ตาบลปฏิบัติงานที่ กศน.ตาบล ซ่ึง ดร.สุรศักด์ิ อินศรีไกร เลขาธิการ
กศน. มุ่งเน้นการปฏิบัติงานและพัฒนากศน.ตาบล ซ่ึงนับเป็นหัวใจของการทางาน กศน. มอบหมายให้กศน.ตาบล
ปฏิบัติตาม กศน.5 ดี พรีเมี่ยม โดยในการประกวดจะส่งกศน.ตาบลเดิม ท้ังน้ี นางเกษร ธานีรัตน์ ผู้อานวยการ
สานกั งาน กศน.จังหวดั สงขลา และคณะกรรมการระดับจังหวัด จะเปน็ ผู้ลงประเมิน

1.3 คัดกรอง (Screening) ผู้ที่เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องได้รับการคัดกรองวัดอุณหภูมิ
ร่างกายและบนั ทกึ การมาตดิ ตอ่ ราชการ

ประธานแจ้งมอบหมายให้ทุกคนสแกนวัดอุณหภูมิ ผู้มาติดต่อราชการทุกคนรวมทั้งให้ลงบันทึก
การมาติดตอ่ ราชการทุกครั้ง

1.4 สวมหนา้ กาก (Mask) ทุกคนตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัย (2ชั้น) ตลอดเวลาที่
อยู่ในสถานศึกษา

ประธานแจ้งการมาปฏิบัติงานให้ครูและบุคลากรทุกคนสวมใส่หน้ากากอนามัย 2 ช้ัน ตลอดช่วง
ช่วงเวลาทป่ี ฏิบตั ิงาน

1.5 ล้างมอื (Hand Wash) ลา้ งมือบ่อย ๆ ดว้ ยสบู่และน้า นานอย่างนอ้ ย 20วินาที หรอื ใช้เจล
แอลกอฮอล์ หลกี เลี่ยงการสมั ผสั บรเิ วณจุดเสยี่ งโดยไม่จาเป็น

ประธานแจ้งนอกจากการสวมใส่หน้ากากอนามัยแล้วขอให้ทุกคนตระหนักและดูแลตัวเองด้วยการ
ลา้ งมือบอ่ ยดว้ ยสบู่ หรอื เจลแอกอฮอร์

1.6 เว้นระยะห่าง (Social distancing) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1- 2 เมตร
รวมถงึ การจัดเวน้ ระยะห่างของสถานท่ี

ประธานแจ้งการปฏิบัติงาน หรือการให้บริการผู้มาติดต่อราชการให้มีการเว้นระยะห่างระหว่าง
บคุ คลอยา่ งน้อย1-2 เมตร

1.7 ทาความสะอาด (Cleaning) เปิดประตู หนา้ ตา่ ง ให้อากาศถ่ายเท หากจาเป็นต้องใช้
ประธานแจง้ ใหม้ ีการดแู ลทาความสะอาดสถานที่ จุดให้บริการผู้มาติดต่อราชการอย่างสม่าเสมอใน
ทุกช่วงเวลา
1.8 เครอ่ื งปรบั อากาศ กาหนดเวลาเปิด - ปิดเคร่อื งปรับอากาศ และเปิดประตู หน้าต่าง ระบาย
อากาศ และทาความสะอาดบริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทาความสะอาดพื้นผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอ้ี และวัสดุอุปกรณ์
ช่วงพักเที่ยง และหลังเลิกงานทุกวัน รวมถึงจัดให้มีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิดและรวบรวมขยะออกจาก
สถานศึกษาเพอื่ นาไปกาจัดทกุ วนั

/ประธานแจง้ ...

6

ประธานแจ้งการเปิด-ปิดเครื่องปรับอากาศให้กาหนดเวลาที่ชัดเจนรวมทั้งพิจารณาดูลักษณะสภาพ
อากาศ หากไม่จาเป็นงดเว้นการเปิดเคร่ืองปรับอากาศ เปิดประตู หน้าต่างเพื่อให้ระบายอากาศ และทาความสะอาด
พืน้ ผิดสมั ผัสทั้งโตะ๊ ทางานและจดุ ให้บริการผ้มู าติดต่อราชการ รวมทั้งถังขยะและการเก็บขยะมูลฝอยประจาวันทุกวัน
เพื่อปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของเชือ้ โรค

1.9 ลดแออัด (Decrease) ลดระยะเวลาการทากิจกรรมใหส้ น้ั ลงเท่าท่ีจาเป็นหรือเหลอื่ มเวลา
ทากจิ กรรมและหลกี เล่ยี งการทากิจกรรมรวมตวั กนั เปน็ กลุ่ม

ประธานแจ้งการทากจิ กรรมให้พจิ ารณาความเหมาะสมของจานวนคน และระยะเวลา หลกี เลี่ยงการ
ทากจิ กรรมท่เี ป็นการรวมกลุม่

1.10 บริหารเวลาในการทานอาหารกลางวัน ใหส้ ลบั เวลากันทาน ไมน่ ั่งรวมกัน
ประธานแจ้งการปฏบิ ตั ิตนช่วงสถานการณ์ของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ขอให้ดูแลเร่อื งการ
รับประทานอาหารของตนเอง หมนุ เวียน สลบั เวลากบั รบั ประทาน ไม่ทานอาหารร่วมกนั เพอื่ ลดความเสย่ี ง และ
1.11 ผู้รับผิดชอบงานสถานที่และงานบุคลากรของสถานศึกษา มีการกากับ ติดตาม ทบทวน
การดาเนินงานใหส้ อดคล้องตามแนวปฏิบัติ สถานการณ์ และบริบทพ้ืนที่ อย่างต่อเน่ือง กรณีพบ ผู้มีอาการเส่ียง
หรอื ปว่ ย ต้องรีบแจง้ เจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสขุ ทันที และรายงานต่อผู้บรหิ าร ผเู้ กี่ยวข้อง
ประธานแจง้ ในการปฏิบัติงานประจาวนั หากพบเหน็ หรือมีสถานการณ์อะไรเกิดขึ้นมอบหมายให้ผู้ท่ี
เก่ียวข้องรีบแจ้งให้ผอ.ทราบตามลาดับความสาคัญของเรื่อง เน้นย้าให้ผู้อยู่เวรยามรักษาความปลอดภัยสถานที่
ราชการปฏบิ ัติหน้าท่ีและบันทึกผลการปฏิบัตหิ นา้ ท่ีให้เป็นไปตามระเบยี บ
2. ขอขอบคณุ การรว่ มทาบุญและรว่ มงานกฐนิ วดั ทา่ นางหอม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
ประธานกล่าวขอบคุณครูบุคลากร นักศึกษาบุคคลอ่ืนๆท่ีร่วมทาบุญ งานกฐิน ท้ัง 3 กฐิน และขอขอบคุณ
นางสาวยพุ เรศ สุวรรณะ และนางสาวกนั ตชิ า ดาอาไพ ทเ่ี ป็นตวั แทนสถานศึกษาในการดูแลเรื่องอาหารในงานกฐินวัด
ท่านางหอม เมอ่ื วันท3ี่ 1 ตุลาคม 2564
3. มอบอานาจให้รองเลขาธกิ าร กศน.ปฏบิ ัตริ าชการแทน (คาสั่งสานกั งาน กศน.ที่ 139/2564
ลงวันท่ี 1 ต.ค. 64)
ประธาน แจง้ คาสง่ั สานักงาน กศน. เร่ืองมอบอานาจใหร้ องเลขาธิการ กศน. ปฏบิ ตั ิราชการ ไดแ้ ก่
ข้อ 1 นางสาวทรงศรี วิระรังษิยากรณ์ ตาแหน่งรองเลขาธิการ กศน. รับผิดชอบ ศูนย์วิทยาศาสตร์
เพ่ือการศึกษา ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สถาบันส่งเสริมและพัฒนานนวัตกรรมการเรียนรู้ สถาบัน กศน.ภาค
และปฏิบัติงานอนื่ ทเ่ี ลขาธกิ าร กศน.มอบหมาย
ข้อ 2 นายปรเมศวร์ ศิริรัตน์ ตาแหน่งรองเลขาธิการ กศน. รับผิดชอบ กลุ่มเลขานุการกรม กลุ่มการคลัง
และสินทรัพย์ กลุม่ บรหิ ารการเปล่ียนแปลงและพัฒนาระบบงาน กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน กลุ่มเทคโนโลยีดิจิทัล
และสารสนเทศ กลุ่มบริหารงานบุคคลและนิติการ สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร และปฏิบัติงานอื่นท่ี
เลขาธิการ กศน.มอบหมาย
ข้อ 3 นายภูมิพัทธ เรืองแหล่ ตาแหน่งรองเลขาธิการ กศน. รับผิดชอบ กลุ่มพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษา กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ กลุ่มส่งเสริมกิจการการศึกษาและเครือข่าย สถาบันการศึกษาทางไกล ศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก
(วิทยาลยั ในวงั ) ศนู ย์ฝกึ วิชาชีพจังหวัดกาญจนบุรี “สมสงฆ์ทรงพระคุณ” ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ
ชายแดนทีเ่ ปน็ สถานศกึ ษาทุกแห่ง ศูนย์วงเดือนอาคมสรุ ทัณฑ์ และปฏิบตั งิ านอนื่ ทเ่ี ลขาธิการ กศน.มอบหมาย
4. การจัดตง้ั กลมุ่ สานักงาน กศน.จังหวัดและสถานท่ีตั้งกลุ่มสานกั งาน กศน.จังหวัด
ประธานแจ้งสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา อยู่กลุ่มอ่าวไทย ประกอบด้วย สานักงาน กศน.จังหวัด
สรุ าษฎร์ธานี ชุมพร นครศรธี รรมราช พัทลงุ และสงขลา โดยมีสานักงาน กศน.จังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นสถานท่ีตั้ง
กลมุ่ สานักงาน กศน.จังหวดั

/5.การจัดตง้ั กล่มุ สถานศึกษา...

7

5. การจดั ตงั้ กลมุ่ สถานศึกษาและแตง่ ตั้งผทู้ าหนา้ ท่ปี ระธานกลมุ่ สถานศึกษา
ประธาน แจ้งกศน.อาเภอคลองหอยโข่งอยู่กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย กศน.อาเภอหาดใหญ่ กศน.อาเภอ
สะเดา กศน.อาเภอนาหม่อม และกศน.อาเภอคลองหอยโข่ง โดยมีนางเบญจมาศ มเหสักขกุล ผู้อานวยการ
กศน.อาเภอนาหม่อม เป็นประธาน

มตทิ ีป่ ระชุม รบั ทราบ

ระเบยี บวาระที่ ๒ เรือ่ ง รับรองรายงานการประชมุ คร้ังท่ีผ่านมา
นางสาวตากาญจน์ มนี ุ่น รายงานการประชมุ ประจาเดอื นตุลาคม 2564 ประจาปงี บประมาณ 2565

เมอื่ วนั ศุกร์ที่ 1 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖4 ณ ห้องประชุม กศน.อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

มติท่ปี ระชมุ รบั รองรายงานการประชุม

ระเบียบวาระที่ ๓ เรอื่ งสบื เน่ืองจากการประชมุ คร้งั ทแี่ ล้ว
3.1 การดาเนินงานพฒั นาสถานศึกษาพอเพยี งเพือ่ ยกระดับเปน็ ศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา
ประธานแจ้งการขับเคลื่อนการดาเนินงานพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเพื่อยกระดับเป็นศูนย์การเรียนรู้

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ขอให้ผู้รับผิดชอบประจาฐานจัดทาชุดความรู้ในรูปแบบ
QR-code ประกอบการจัดทาคู่มือและฐานความรู้ มอบนายมนตรี จันวดี ตรวจเช็คชุดนิทรรศการศาสตร์พระราชา
ท้ังนี้แต่ฐานการเรียนรู้หากต้องการวัสดุอุปกรณ์ในการจัดให้แจ้งผอ.ทราบ กาหนดส่งวันที่ 19 พฤศจิกา ยน 2564
ผู้รวบรวมนางสาวอนุสรา ยาพระจันทร์ กาหนดส่งแผนบูรณาการ วันท่ี 26 พฤศจิกายน 2564 ผู้รวบรวมนางสาว
ยุพเรศ สุวรรณะ และตรวจเช็คให้แล้วเสร็จภายในวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2564 ศูนย์เรียนรู้กศน.ตาบลโคกม่วง
ขอใหม้ กี ารขบั เคล่อื นงานอย่างต่อเน่ืองให้เห็นเชิงประจกั ษ์ตามฐานการเรียนรทู้ ีก่ าหนดไว้

3.2 การจดั ทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจาปีงบประมาณ 2564
(งานประกนั คณุ ภาพสถานศกึ ษา)

ประธาน แจ้งการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2564 (SAR)
ขอให้ผู้รับผิดชอบตามคาส่ังดาเนินการจัดทาให้เรียบร้อย กาหนดให้ส่งเป็น 2 ระยะ เพ่ือตรวจเช็คความถูกต้อง
ครั้งที่ 1 ส่งวันท่ี 19 พฤศจิกายน 2564 ครั้งที่ 2 วันท่ี 24 พฤศจิกายน 2564 เพ่ือส่งสานักงาน กศน.จังหวัด
สงขลาภายในวนั ที่ 1 ธนั วาคม 2564

มติที่ประชมุ รบั ทราบ

ระเบยี บวาระที่ ๔ เรอ่ื งเสนอเพือ่ ทราบ พจิ ารณา และถือปฏบิ ตั ิ
4.1 การขับเคล่ือนนโยบายส่กู ารปฏบิ ัตปิ ระจาปงี บประมาณ 2565
- นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (คาแถลงนโยบายการจดั การศกึ ษาของ

นางสาวตรีนชุ เทียนทอง รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ)
ประธานแจ้งคาแถลงนโยบายการจัดการศึกษา ของ นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงศึกษาธิการ ณ ห้องประชุมราชวัลลภ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ พวกเราจะต้องสร้าง “ความ
เชื่อม่ัน ไว้วางใจ” หรือ “TRUST” ให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิง เด็กและผู้ปกครอง ว่าเราสามารถท่ีจะเป็นหลัก
หรือทีพ่ ง่ึ ใหก้ บั พวกเขาได้

/“TRUST”…

8

“TRUST” หมายถงึ “ความไวว้ างใจ”เป็นรูปแบบการทางานท่ีจะทาให้ครู บุคลากรทางการศึกษา

ผ้ปู กครอง ผู้เรียน และประชาชน กลับมาใหค้ วามไว้วางใจในการทางานของกระทรวงศึกษาธิการอีกคร้ังโดย

T ยอ่ มาจาก Transparency (ความโปร่งใส)

R ย่อมาจาก Responsibility (ความรับผดิ ชอบ)

U ยอ่ มาจาก Unity (ความเปน็ อันหนึง่ อันเดยี ว)

S ยอ่ มาจาก Student-Centricity (ผู้เรียนเปน็ เปา้ หมายแห่งการพัฒนา)

T ย่อมาจาก Technology (เทคโนโลยี)

รปู แบบการทางาน “TRUST” คอื การพัฒนาตอ่ ยอดจากรูปแบบการทางาน “MOE ONE TEAM” หรือ

“การทางานร่วมกันเปน็ หนึ่งเดียวของกระทรวงศึกษาธกิ าร”

นโยบายการจัดการศึกษาทง้ั ๑๒ ขอ้ ดังนี้

ขอ้ ๑ การปรับปรงุ หลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปล่ียนแปลงของโลกใน ศตวรรษ

ที่ ๒๑ โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะท่ีเหมาะสมกับ บริบทสังคมไทย 3

ข้อ ๒ การพัฒนาคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพครแู ละอาจารย์ในระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานและอาชีวศึกษา ให้มี

สมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพ่ือให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะทั้งด้านการจัดการ เรียนรู้ ด้วย

ภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใช้สื่อทันสมัย และมีความรับผิดชอบต่อ ผลลัพธ์ทางการ

ศกึ ษาทเ่ี กิดกับผเู้ รยี น

ข้อ ๓ การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ(NDLP) และการ

ส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจาวัน เพ่ือให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วย ดิจิทัล

แห่งชาตทิ ีส่ ามารถนาไปใชใ้ นกระบวนการจดั การเรียนรทู้ ่ีทันสมยั และเขา้ ถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่าง กว้างขวางผ่านระบบ

ออนไลน์ และการนาฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ประสิทธิภาพการบริหารและการจัด

การศึกษา

ข้อ ๔ การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มี

ความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศัย

อานาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติท่ีได้รับการปรับปรุงเพ่ือกาหนดให้มีระบบบริหารและการ จัดการ รวมถึงการ

จัดโครงสร้างหนว่ ยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มี ความเป็นอิสระและคล่องตัว

การบรหิ ารและการจัดการศึกษาโดยใช้จงั หวัดเป็นฐาน มรี ะบบการบรหิ ารงาน บคุ คลโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล

ข้อ ๕ การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบวัดความรู้และ

ทกั ษะท่จี าเป็นในการศกึ ษาต่อระดับอุดมศกึ ษาทั้งสายวชิ าการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบการประเมินผล การศึกษา

ทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย ตอบสนองผลลัพธ์ ทางการศึกษาได้

อย่างเหมาะสม

ข้อ ๖ การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ท่ัวถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากรทาง

การศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพ่ือให้การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษามีความเป็นธรรมและสร้าง โอกาส

ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอ่ืน ๆ กระจายทรัพยากรท้ังบุคลากรทาง การศึกษา

งบประมาณและส่อื เทคโนโลยไี ด้อยา่ งทัว่ ถงึ

ข้อ ๗ การนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การปฏิบัติเป็น

การผลิตและการพัฒนากาลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศโดยใช้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เช่ือมโยงระบบการศึกษา และ

การอาชีพโดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิตและการจัดทามาตรฐานอาชีพใน สาขาที่

สามารถอ้างอิงอาเซียนได้ 4

/ขอ้ 8 การพัฒนาเด็กปฐมวยั ...

9

ขอ้ ๘ การพฒั นาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย
อารมณ์สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพื่อเป็นการขับเคลื่อนแผนบูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตามพระราชบัญญตั กิ ารพัฒนาเด็กปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๒ สู่การปฏบิ ตั ิเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง นาไปเป็น
กรอบในการจัดทาแผนปฏบิ ัติการเพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวัย และมกี ารติดตามความกา้ วหนา้ เป็นระยะ

ขอ้ ๙ การศกึ ษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อให้ผู้จบการศึกษา ระดับ
ปริญญาและอาชีวศึกษามีอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสมกับการดารงชีพและคุณภาพชีวิตที่ดี มีส่วนช่วย เพ่ิมขีด
ความสามารถในการแขง่ ขันในเวทโี ลกได้

ข้อ ๑๐ การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัด
การศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ใน การ
จัดการศึกษาผา่ นระบบดจิ ิทัล

ข้อ ๑๑ การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา และ ผู้เรียน
ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ เพื่อเป็นการเพ่ิมโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพของกลุ่ม ผู้ด้อยโอกาส
ทางการศึกษา และผูเ้ รียนท่ีมีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ

ข้อ ๑๒ การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการมี
ส่วนร่วมของผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ ง เพอื่ เพม่ิ โอกาสและการเขา้ ถงึ การศึกษาท่มี คี ณุ ภาพของกลุ่มผูด้ ้อยโอกาสทาง การศึกษา
และผู้เรยี นทีม่ คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ

- นโยบายรฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดร.กนกวรรณ วิลาวลั ย์
ประธานแจง้ นโยบายรัฐมนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ดร.กนกวรรณ วิลาวลั ย์

การขบั เคลื่อน กศน. สู่ “กศน.WOW (6G)” ไดแ้ ก่
Good Teacher การพัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้
Good Place โดยพัฒนา กศน. ตาบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งจะเป็นการ

ยกระดับให้ กศน.ตาบล, ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”, ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่
ทันสมยั มคี ณุ ภาพตอบสนองตอ่ การเรียนรูข้ องประชาชนทุกช่วงวัย

Good Activities สง่ เสริมการจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ที นั สมัยและมีประสทิ ธิภาพ อาทิ การปรับหลักสูตรการ
จดั การศึกษาอาชีพ หลกั สูตรลกู เสือมัคคเุ ทศก์ และพัฒนาการจดั การศึกษาออนไลน์

Good Partnership การเสริมสร้างความรว่ มมือกับภาคีเครอื ขา่ ย โดยให้มคี วามรว่ มมือจัดทาทาเนยี บ
ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน และส่งเสริมภูมิปัญญาสู่การจัดการเรียนรชู้ มุ ชน

Good Innovation การพัฒนานวตั กรรมทางการศึกษา เพื่อประโยชนต์ ่อการจัดการศกึ ษาและกลมุ่ เป้าหมาย
โดยใหจ้ ดั ตั้งศูนยใ์ ห้คาปรกึ ษาและพัฒนาผลิตภณั ฑ์ brand กศน. รวมทั้งการสร้างช่องทางจัดจาหนา่ ยไปยังสถานี
จาหนา่ ยน้ามัน

Good Learning การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย ซึ่งต้องมีการจัดเตรียมข้อมูลและประสานงานเบ้ืองต้น
โดยผู้บริหาร กศน. ท้ังส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ต้องช่วยกันขับเคลื่อนภารกิจสาคัญต่าง ๆ ไปสู่การปฏิบัติ และ
ช่วยกันถ่ายทอดความเข้าใจไปสู่เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน พร้อมทั้งดูแลและสนับสนุนให้เกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลต่อไป

- นโยบายเลขาธกิ าร กศน. ดร.สรุ ศกั ดิ์ อินศรไี กร
ประธานแจ้งนโยบายเลขาธกิ าร กศน. นายสรุ ศักด์ิ อินศรีไกร ภายใตห้ ลักการ กศน.เพื่อประชาชน : กศน.
กา้ วใหม่ ก้าวแห่งคณุ ภาพ เนน้ การเรยี นรทู้ ่ีมีคณุ ภาพ เน้นกศน.ตาบล ขบั เคล่ือนการทางานของกศน. รายละเอยี ด
ดังน้ี

/1. ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ…

10

1. ด้านการจัดการเรยี นรู้คุณภาพ
1.1 น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทงั้ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานโครงการ

อนั เนื่องมาจากพระราชดาริทุกโครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์
1.2 ขบั เคลื่อนการจัดการเรียนรู้ทสี่ นองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีวา่ การ

และรฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
1.3 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาเพอื่ เสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจท่ีถูกตอ้ ง ในการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์
ความยึดมนั่ ในสถาบนั หลักของชาติ รวมถึงการมจี ติ อาสา ผ่านกจิ กรรมตา่ ง ๆ

1.4 ปรับปรุงหลักสตู รทกุ ระดับทกุ ประเภทให้สอดรับกบั การพฒั นาคน ทศิ ทางการพัฒนาประเทศ
สอดคล้องกับบริบทท่ีเปลี่ยนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ผู้รับบริการ รวมถึงปรับลด
ความหลากหลายและความซา้ ซ้อนของหลักสตู ร เช่น หลักสตู รการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายบนพ้ืนที่สูง พ้ืนท่ีพิเศษ
และพนื้ ท่ชี ายแดน รวมทง้ั กลุ่มชาติพนั ธ์ุ

1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมอื ให้ผู้เรียน
สามารถเข้าถึงการประเมินผล การเรียนรู้ได้ตามความต้องการ เพ่ือการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสาคัญกับ
การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะผู้เรียน ให้
ตอบโจทย์การประเมนิ ในระดบั ประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพผู้ใหญ่ ตลอดจนกระจายอานาจ
ไปยังพน้ื ทใ่ี นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

1.6 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสตู รการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ด้วยตนเองครบวงจร
ต้ังแตก่ ารลงทะเบียนจนการประเมินผลเม่ือจบหลักสตู ร ทง้ั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนพนฐาน การศึกษา
ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่สามารถ
เรียนรู้ ไดส้ ะดวก และตอบโจทย์ความตอ้ งการของผู้เรียน

1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสานักงาน กศน. ตลอดจน
พฒั นาสื่อการเรียนรู้ทงั้ ในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังส่ือการเรียนรู้ทเ่ี ป็นสื่อทถี่ ูกตอ้ งตามกฎหมาย
งา่ ยต่อการสืบคน้ และนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้

1.8 เร่งดาเนินการเร่ือง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน่วยกติ
เพอ่ื การสร้างโอกาสในการศกึ ษา

1.9 พฒั นาระบบนิเทศการศึกษา การกากับ ติดตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมทงั้
ส่งเสริมการวิจยั เพื่อเป็นฐานในการพัฒนาการดาเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ
2.1 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตทเ่ี น้นการพัฒนาทักษะทจี่ าเป็นสาหรับแต่ละช่วงวัย และ

การจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกบั แตล่ ะกลุ่มเป้าหมายและบริบทพ้ืนที่
2.2 พัฒนาหลักสตู รอาชีพระยะสั้นทเ่ี น้น New skill Up skill และ Re skill ท่ีสอดคล้องกับบริบท

พนื้ ที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายความต้องการของตลาดแรงงานและกลุ่มอาชีพใหม่ทร่ี องรับ Disruptive
Technology

2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินคา้ บริการจากโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ท่ีเน้น “ส่งเสริมความรู้
สร้างอาชีพ เพ่ิมรายได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา
ทอ้ งถน่ิ เพอ่ื สร้างมลู ค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วสิ าหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพม่ิ ช่องทางประชาสัมพนั ธ์และช่องทางการจาหน่าย

2.4 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาของผู้สูงอายุเพ่ือให้เป็น Active Ageing Workforce และม Life skill
ในการดารงชีวติ ทเี่ หมาะกบั ช่วงวัย

/2.5 ส่งเสรมิ การจดั การศึกษา...

11

2.5 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาที่พฒั นาทักษะที่จาเป็นสาหรับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ เช่น ผู้พกิ าร
ออทิสติก เดก็ เรร่ ่อน และผู้ด้อยโอกาสอื่น ๆ

2.6 ส่งเสริมการพฒั นาทักษะดิจทิ ัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน. และผู้เรียนเพ่ือ
รองรับการพัฒนาประเทศ

2.7 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียน กศน.
2.8 สร้าง อาสาสมัคร กศน. เพอื่ เป็นเครอื ขายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
ในชุมชน
2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร่เพื่อให้
หนว่ ยงาน / สถานศึกษา นาไปใช้ในการพฒั นากระบวนการเรียนรู้รว่ มกัน
3. ด้านองคก์ ร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ
3.1 ทบทวนบทบาทหน้าทข่ี องหน่วยงาน สถานศึกษา เช่น สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษา
และพัฒนาต่อเนื่องสิรนิ ธร สถานศึกษาขน้ึ ตรงสังกดั ส่วนกลาง กลุ่มสานักงาน กศน.จังหวัด ศนู ยฝ์ ึกและพัฒนาราษฎร
ไทยบริเวณชายแดน เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตในพืน้ ท่ี
3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตาบล และศูนย์การเรยี นรู้ชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.)
ให้เป็นพนื้ ท่ีการเรยี นรู้ตลอดชีวิตทสี่ าคัญของชุมชน
3.3 ปรับรูปแบบกจิ กรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพอื่ เพ่ิมอัตราการอ่าน
และการรู้หนงั สือของประชาชน
3.4 ให้บริการวิทยาศาสตร์เชิงรกุ Science@home โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือนาวิทยาศาสตร์
สู่ชีวติ ประจาวันในทุกครอบครัว
3.5 ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างพน้ื ทก่ี ารเรียนรู้ ในรปแบบ Public Learning Space/
Co - learning Space เพื่อการสร้างนิเวศการเรียนรู้ให้เกดิ ขนึ้ สังคม
3.6 ยกระดับและพัฒนาศนู ย์ฝึกอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนให้เป็นสถาบันพัฒนาอาชีพระดบั
ภาค
3.7 ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานของกลุ่ม กศน. จังหวัดให้มีประสิทธิภาพ
4. ด้านการบริหารจัดการคุณภาพ
4.1 ขบั เคล่ือนกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจ บทบาท
โครงสรางของหน่วยงานเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงตามกฎหมาย
4.2 ปรับปรงกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง และข้อบังคบั ตา่ ง ๆ ให้มคี วามทนั สมยั เอื้อต่อการบริหาร
จดั การ และการจัดการเรยี นรู้ เชน การปรับหลักเกณฑค์ ่าใช้จา่ ยในการจัดหลักสตู รการศึกษาต่อเนื่อง
4.3 ปรับปรุงแผนอัตรากาลัง รวมทั้งกาหนดแนวทางที่ชดั เจนในการนาคนเขา้ สู่ตาแหน่ง การย้าย
โอน และการเลื่อนระดบั
4.4 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทกุ ระดับให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตาแหนงให้ตรงกบั
สายงาน และทักษะทจ่ี าเป็นในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้
4.5 ปรับปรุงระบบการจดั สรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาให้มีความครอบคลุม เหมาะสม เช่น การ
ปรับ ค่าใช้จา่ ยในการจัดการศึกษาของผูพกิ าร เด็กปฐมวัย
4.6 ปรับปรุงระบบฐานข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอย่างเปน็ ระบบ เช่น
ข้อมล การรายงานผลการดาเนินงาน ขอ้ มลเด็กตกหล่นจากการศึกษาในระบบ เด็กเรร่ อน ผู้พกิ าร
4.7 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือในการบริหารจัดการอย่างเต็มรปู แบบ
4.8 ส่งเสริมพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมินคณุ ภาพ
และความโปร่งใสการดาเนินงานของภาครัฐ (ITA)

/4.9 เสริมสร้างขวัญและกาลังใจ...

12

4.9 เสริมสร้างขวัญและกาลังใจให้กับขา้ ราชการและบุคลากรทกุ ประเภทในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
ประกาศ เกยี รติคณ การมอบโล่ / วุฒบิ ัตร

4.10 ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคส่วน เพ่ือสร้างความพร้อมในการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวิตสาหรับประชาชน

4.2 การเตรยี มความพร้อมในการเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
ประธานแจ้งมอบหมายนางสุภาภรณ์ จนั วดี ดาเนินการเตรยี มความพร้อมในการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปี
การศกึ ษา 2564 ในรูปแบบ On Line On Demand และ On Hand ภายใตส้ ถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคโควิด
19 ซงึ่ จงั หวดั สงขลายงั มกี ารระบาดอยู่เปน็ จานวนมาก ยังไม่สามารถเปิการเรียนการสอนในรปู แบบ On Site ได้
4.3 การประเมินเปดิ สถานศึกษาในสถานการณฉ์ ุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 32) ลงวนั ท่ี 20 กนั ยายน
2564
ประธานแจง้ การประเมนิ เปดิ สถานศึกษามอบงานการศึกษาข้นั พน้ื ฐานตรวจเชค็ ข้อมูลแนวปฏิบตั ิและ
ดาเนินการให้เปน็ ไปตามหนังสอื ส่งั การ
4.4 การสง่ ขอ้ มลู สารสนเทศนักศกึ ษาลงทะเบียน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 (งานพืน้ ฐาน)
ประธานแจ้ง การรับสมัครนักศึกษา กาหนดให้ข้าราชการครูรับผิดชอบนักศึกษา 20 คน ครูอาสาสมัคร ฯ
40 คน และครู กศน.ตาบล 40 คน ให้ดาเนินการให้ครบถ้วนตามท่ีกาหนด ภายในวันท่ี 12 พฤศจิกายน 2564
การลงทะเบยี นเรยี นให้ตรวจดคู วามถูกต้องตามรายวชิ าทีล่ งทะเบียนเรียน และหากผู้เรียนอายุไม่ถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้
ในระเบยี บขอใหค้ รูวางแผนการลงทะเบยี นเรียนให้เป็นไปตามระยะเวลาและโครงสรา้ งหลักสตู ร
4.5 การรายงานข้อมลู ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 (งาน
พืน้ ฐาน)
นางสาวยพุ เรศ สุวรรณะ งานการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน รายงานการส่งข้อมูลไปยังสานกั งาน กศน.จังหวดั สงขลา
เรียบรอยแล้ว
4.6 ปฏิทินการดาเนินงานหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2551 ภาค
เรียนที่ 2/2564 และปฏิทินการสอบ N – Net ครั้งท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 (งานพืน้ ฐาน)
นางสาวยุพเรศ สวุ รรณะงานการศึกษาข้นั พื้นฐาน รายงาน
- กาหนดเปิดภาคเรียนท2ี่ /2564 วันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2564-25 กมุ ภาพันธ์ 2565 ทัง้ นป้ี รบั เปล่ียนการ
เปิดภาคเรยี นตามมาตรการและนโยบายทเ่ี ก่ยี วข้อง
- กาหนดปฐมนเิ ทศนักศึกษาใหมผ่ า่ นระบบออนไลน์ วันท่ี 9 พฤศจิกายน 2564
-ประเมนิ การอ่านขอผู้เรียนและบันทึกผ่านระบบ ระหวา่ งวันที่16-30 พฤศจกิ ายน 2564
-สอบ N-Net ครงั้ ท2ี่ /2564 วนั ที่ 6 กุมภาพนั ธ์ 2564
-สอบวัดผลสมั ฤทธิ์ปลายภาคเรียน2/2564 วันที่ 26-27 กุมภาพันธ์ 2565 และ5-6 มีนาคม 2565
4.7 รายงานขอ้ ตรวจพบจากการตรวจสอบภายในการขออนมุ ตั ิเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาไตรมาส 4
ปงี บประมาณ 2564
ประธานแจ้งใหน้ าข้อตรวจพบจากสานักงาน กศน.จงั หวัดมาดูเปน็ แนวทาง หากมขี ้อผิดพลาดก็ให้ดาเนนิ การ
ใหถ้ กู ต้อง เนน้ ย้าการเบกิ จา่ ยงบประมาณให้ตรวจเชค็ ความถกู ต้องเรียบร้อยและเป็นไปตามระเบียบการเบกิ จ่ายอย่าง
เครง่ ครัด
4.8 แผนปฏบิ ัติการประจาปี งบประมาณ 2565 /แผนการจัดกิจกรรม ไตรมาสที่ 1 - 2 (งานแผนฯ)
ประธานแจง้ มอบหมายใหน้ างสาวอนสุ รา ยาพระจันทร์รายงานขอ้ มลู

แผนการปฏิบัตกิ ารประจาป
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอ
แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยใน
กจิ กรรมค่าจัดการเรียนการสอน (ตุลาคม 2564 - มนี าคม 2565 ) รหสั งบประมาณ
1. งบอดุ หนุน กิจกรรมการจดั การเรยี นการสอน (รอบท่ี 1)
1.1 โครงการจดั การเรียนการสอนการศึกษา ข้ันพื้นฐาน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา
- ค่าตอบแทนครูประจากลมุ่ ทหาร (ตลุ าคม 2564 - ธันวาคม 2564)
- คา่ วัสดจุ ัดการเรียนการสอน

1.2 โครงการกจิ กรรมการบรหิ ารจดั การ กศน.อาเภอคลองหอยโขง่
- ค่าวสั ดสุ านักงาน
- ไวนิลประชาสัมพันธ์/โฟมบอรด์
- คา่ วัสดุงานบา้ นงานครัว
- ค่าซอ่ มคอมพวิ เตอรแ์ ละวัสดคุ อมพวิ เตอร์
- คา่ เดนิ ทางไปราชการ
- ค่าเช่าเครอ่ื งถา่ ยเอกสาร
- ค่าเชา่ เคร่อื งคอมพวิ เตอรโ์ น้ตบคุ๊ /เคร่ืองพมิ พ์

1.3 โครงการพฒั นาบคุ ลากรเพ่ือพฒั นางาน กศน.

13

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5

อัธยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
นการจัดการศึกษาตงั้ แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน งบอดุ หนนุ

ณ 3000343016500225 รหสั กิจกรรมหลัก 200029000Q2605

พืน้ ท่ีดาเนินการ วนั /เดอื น/ปีทจี่ ดั งบประมาณ

2564 - กศน.อาเภอคลองหอยโข่ง ตลุ าคม 2564 58,393

- กศน.ตาบลทงุ่ ลาน –

- กศน.ตาบลคลองหลา มนี าคม 2565

- ศรช.กองบิน 56
- กศน.ตาบลคลองหอยโขง่

- กศน.ตาบลโคกม่วง
- ศรช.กองพลพัฒนาที่ 4
- ศรช.กองพันพฒั นาท่ี 4

กศน.อาเภอคลองหอยโขง่ ตลุ าคม 2564 49,650


มนี าคม 2565

- กศน.อาเภอคลองหอยโขง่ พฤศจิกายน 2564 10,200
- กศน.ตาบลคลองหลา –
- กศน.ตาบลคลองหอยโข่ง
- กศน.ตาบลโคกม่วง มนี าคม 2565
- กศน.ตาบลทุง่ ลาน

แผนการปฏบิ ตั ิการประจาป
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอ
แผนงาน : ยุทธศาสตรส์ รา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา โครงการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยใน
กจิ กรรมค่าจดั การเรยี นการสอน (ตุลาคม 2564 - มนี าคม 2565 ) รหสั งบประมาณ

1. งบอดุ หนนุ กจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอน (รอบท่ี 1)
1.4 โครงการพฒั นาบคุ ลากรจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารและแผนพัฒนาการจัดการศึกษา กศน

งบประมาณ พ.ศ. 2565
งบอดุ หนุน คา่ หนงั สอื เรยี น
โครงการจัดหาหนังสอื เรียน ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖4

*** ยงั ไม่ไดร้ ับจัดสรรงบประมาณ

14

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5
อัธยาศยั อาเภอคลองหอยโข่ง จังหวดั สงขลา
นการจดั การศึกษาตั้งแตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน งบอุดหนุน
ณ 3000343016500225 รหสั กิจกรรมหลกั 200029000Q2605

พ้นื ท่ดี าเนินการ วัน/เดือน/ปที จี่ ดั งบประมาณ
- อาเภอละงู จังหวดั สตูล
น.ตาบล ประจาปี ธันวาคม 2564 27,400

กศน.อาเภอคลองหอยโขง่
หมู่ท่ี 2 ตาบลคลองหอยโขง่
อาเภอคลองหอยโข่ง
จงั หวัดสงขลา

แผนการปฏิบตั กิ ารประจาป
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอ
แผนงาน : พนื้ ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผ
(ตุลาคม 2564 - มนี าคม 2565) รหัสงบประมาณ 2000236004000000 ร

1. บริหารจดั การ (คา่ บรหิ ารจดั การหนว่ ยงานในการปฏิบตั ิงานและสาธา
1.1 บรหิ ารจดั การ (ค่าบรหิ ารจัดการหน่วยงานในการปฏิบตั ิงานและสาธารณปู โภค)

- คา่ บรหิ ารจดั การหน่วยงานในการปฏิบัติงาน
- คา่ สาธารณปู โภค

15

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5
อธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จังหวดั สงขลา
ผู้รับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจดั การศึกษานอกระบบ
รหัสกิจกรรมหลกั 200029000Q2595

ารณปู โภค) พืน้ ที่ดาเนนิ การ วัน/เดอื น/ปีทจ่ี ดั งบประมาณ
19,200
กศน.อาเภอคลองหอยโขง่ ตุลาคม 2564
หมูท่ ่ี 2 ตาบลคลองหอยโขง่ -
อาเภอคลองหอยโข่ง
จงั หวดั สงขลา มีนาคม 2565

แผนการปฏิบัตกิ ารประจาป
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอ
แผนงาน : พืน้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ผลผลิตท่ี ๕
(ตุลาคม 2564 - มีนาคม 2565) รหัสงบประมาณ 2000236005000000 รห

ที่ กจิ กรรม กศน.
1. จ้างเหมาบริการเอกชนดาเนนิ งานของส่วนราชการพนักงานบรกิ ารปฏบิ ัติงานนกั ก

กศน.อาเภอคลองหอยโข่ง

2. โครงการส่งเสรมิ การอ่านและการเรยี นรหู้ ้องสมดุ ประชาชนอาเภอ
คลองหอยโขง่ ปีงบประมาณ ๒๕๖5

3. โครงการจดั สรา้ ง แหลง่ เรยี นรู้ในระดับตาบล (ซ้อื หนงั สือพมิ พส์ าหรับ กศน.ตาบล

16

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5
อัธยาศยั อาเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
ผรู้ บั บริการการศึกษาตามอัธยาศยั งบดาเนินงาน
หสั กิจกรรมหลกั 200029000Q2599

การภารโรง พน้ื ท่ีดาเนินการ วนั /เดอื น/ปที ี่จดั งบประมาณ
54,000
- กศน.อาเภอคลองหอยโข่ง ตุลาคม 2564
- หอ้ งสมดุ ประชาชน –
อาเภอคลองหอยโข่ง
มนี าคม ๒๕๖5

ห้องสมุดประชาชน ตลุ าคม 2564 14,650
อาเภอคลองหอยโขง่ – 4,880

ล) ปงี บประมาณ๒๕๖5 1. กศน.ตาบลคลองหอยโขง่ มีนาคม ๒๕๖5
2. กศน.ตาบลคลองหลา
3. กศน.ตาบลโคกม่วง ตลุ าคม 2564
4. กศน.ตาบลทุง่ ลาน –

มีนาคม ๒๕๖5

/4.9 การจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั …

17

4.9 การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุดประชาชน / ห้องสมุด
กศน.ตาบลสาขา/บา้ นหนงั สือชมุ ชนในสถานการณ์แพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019

ประธานแจ้ง การจัดกิจกรรมตามนโยบาย Library Delivery กศน.ตาบลจัดทาโครงการงานการศึกษาตาม
อัธยาศัยโดยไม่ใช้งบประมาณ บริการความรู้สู่ประชาชน แคมเปญมหกรรมการอ่าน การบันทึกการอ่าน การ
ประชาสมั พันธผ์ ่านช่องทางออนไลน์

4.10 นารถมินิโมบาย บรู ณการกับการจัดกิจกรรมศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน ประจาปงี บประมาณ 2565
ประธานแจ้งสานกั งาน กศน.จงั หวัดสงขลา มนี โยบายในการนารถมินิโมบายห้องสมุดเคล่ือนท่ีบูรการร่วมกับ
การจัดกิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ประจาปีงบประมาณ 2565 มอบหมายให้งานยานพาหนะดูแลการใช้งานและ
ความเรียบร้อยของรถ ครู กศน.ตาบลขับเคล่ือนกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยให้องค์กร
นักศกึ ษา และอาสาสมคั ร กศน. เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการขับเคล่ือนกิจกรรมด้วย
4.11 การจัดกิจกรรมตอ่ ยอดจติ อาสาพระราชทาน - คน้ หาผนู้ าดีเด่น /ชุมชนดเี ดน่ ด้านจติ อาสา
ประธานแจ้งในปีงบประมาณ2565 มีการจัดกิจกรรมต่อยอดจิตอาสาพระราชทาน - ค้นหาผู้นาดีเด่น /
ชมุ ชนดเี ด่น ด้านจิตอาสา ทั้งนีข้ อใหค้ รูจัดเตรยี มข้อมลู สาหรับการดาเนินการต่อยอดในกิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน
ไว้ด้วย
4.12 อาสาสมัคร กศน. ดาเนินการทกุ ตาบล ๆ ละ 3 คน / อาสาสมัคร 1 คน รบั ผิดชอบ 50 หลงั คา
เรอื น
ประธานแจ้งตามนโยบายการดาเนนิ งานอาสาสมคั ร กศน.ทกุ ตาบล ขอใหค้ รดู าเนนิ การในส่วนท่ีเก่ียวข้องให้
เปน็ ไปตามแนวทางการดาเนินงานทกี่ าหนดไว้
4.13 การดาเนินโครงการลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน
การดาเนินงานหลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน เป็นการฝึกอบรมเพ่ือส่งเสริมให้ลูกเสือและบุคลากร
ทางการลูกเสือได้เสริมสร้างจิตสานึกความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง บาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเน่ือง
และยั่งยืน ให้เป็นการถวายความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ
ซ่ึงมี 4 อาเภอนารอ่ ง ได้แก่ กศน.อาเภอรัตภูมิ กศน.อาเภอระโนด กศน.อาเภอนาทวี และกศน.อาเภอคลองหอยโข่ง
โดยมรี ปู แบบและขน้ั ตอนการดาเนินงานลูกเสือจิตอาสาพระราชทานระดับสถานศึกษา ดังนี้

1. ฝึกอบรมผู้บังคับบญั ชาลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา ประจาจงั หวัด 3 หมวด 9
รายวิชา

2. ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา/ผู้อานวยการลูกเสือโรงเรยี น จะต้องดาเนินการฝกึ อบรมลูกเสือจิตอาสา
พระราชทานในสถานศึกษาและดาเนินการจัดตั้ง “หน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน กศน.อาเภอ..........”
โดยฝกึ อบรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา 40 คน จานวน 3 วนั 2 คืน หรือ จานวน 4 วัน

3. สถานศึกษาซง่ึ ผา่ นการฝึกอบรม เสนอรายชื่อผบู้ ังคับบญั ชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน
พร้อมรายชอ่ื สมาชิกหน่วยหน่วยผ่านผบู้ ังคับบญั ชาตามลาดบั ข้นั ถึงผู้มีอานาจตั้งหน่วยลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน

4. ปฏิบัตกิ ิจกรรมจติ อาสา รว่ มกับชมุ ชน สรุปผลการดาเนนิ งานและรายงานผลการดาเนนิ งานถงึ ผู้
มอี านาจตั้งหนว่ ยลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน

4.14 การดาเนนิ งานโครงการรณรงค์ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด การจดั ตงั้ ชมรม / ศูนย์เพือ่ นใจ
TO BE NUMBER ONE

ประธานแจง้ การจดั ตัง้ ชมรม TO BE NUMBER ONE มอบผรู้ บั ผิดชอบได้ขับเคลอ่ื นกิจกรรมของสถานศึกษา
ตามคู่มือการดาเนินงาน ซึง่ ประกอบดว้ ย 3 ก ได้แก่

/ก คณะกรรมการ...

18

ก คณะกรรมการ แต่งต้ังอยา่ งน้อย 5 คน มปี ระธาน รองประธาน กรรมการ เลขานกุ าร และเหรญั ญิก
ก กิจกรรมชมรมสอดคล้องกับ 3 ยุทธศาสตร์ 1) การเสริมสร้างกีฬา ดนตรีเชิงสร้างสรรค์ 2) การสร้าง
ภูมิคุ้มกันทางจิต (ศูนย์เพื่อนใจทูบีนัมเบอร์วัน) เช่นการป้องกันปัญหายาเสพติด การใช้ชีวิต New Normal และ
3) การขับเคลือ่ นกจิ กรรมกบั ภาคเี ครือข่าย
ก กองทนุ สมาชกิ ชมรมต้องมีการหารายได้เปิดบญั ชีของชมรม มกี ารทาบัญชีรายรับรายจา่ ย
ทงั้ นข้ี อให้ผรู้ บั ผิดชอบดาเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมส่สู ถานศึกษา โดยเริ่มวางแผนการดาเนนิ งานตามแนว
ปฏบิ ัติคมู่ ือการดาเนินงาน และนาไปเขียนเปน็ ข้อตกลงในการปฏิบตั ิงานของขา้ ราชการครู (PA)
4.15 แนวทางการดาเนนิ งานโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน ประจาปีงบประมาณ 2565
ประธานแจ้งแนวทางการดาเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ประจาปีงบประมาณ 2565 ในลักษณะ
Upskill คือ เปน็ การเสริมและพฒั นาทักษะจากเดมิ เพ่ือเพิม่ ความสามารถ Reskill คือ การสร้างทักษะใหม่ท่ีแตกต่าง
ไปจากเดมิ ท่ีทาอยู่ เป็นการเรียนรทู้ ักษะใหม่ ๆ เพื่อนาไปใช้กับบริบทอ่ืนเพ่ือให้สามารถก้าวทันในยุคท่ีเทคโนโลยีและ
ดิจิทัลที่เปล่ียนแปลงตลอดเวลา โดยในปีงบประมาณ 2565 ให้คัดเลือกผลิตภัณฑ์ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนที่แปลกใหม่
ไม่ซา้ กบั ผลิตภัณฑ์เดิม
4.16 การเบกิ จา่ ยงบประมาณตามแผนการจดั กจิ กรรม / พสั ดุ – การเงิน
ประธานแจ้งขอใหด้ าเนนิ การเรอื่ งการเบิกจ่ายงบประมาณในการจัดกิจกรรมให้ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นไป
ตามระเบียบ คู่มือและแนวปฏิบัติอย่างเคร่งครัด รวมท้ังนาข้อเสนอขอฝ่ายตรวจสอบภายในสานักงาน กศน.จังหวัด
สงขลา มาเปน็ แนวทางในการปฏิบัตใิ ห้ถกู ตอ้ ง
4.17 การบันทกึ ลงนามข้อตกลงรว่ มกับภาคีเครอื ขา่ ย MOU
ประธาน แจ้งการบันทกึ ลงนามข้อตกลงร่วมกับภาคเี ครือขา่ ย MOU มอบหมายนางสาวอนุสรา ยาพระจันทร์
งานกิจกรรมพิเศษและภาคีเครือข่าย ดาเนินงานจัดทา MOU กับภาคีเครือข่ายเพื่อลงนามข้อตกลงและปฏิบัติงาน
ร่วมกนั ในปีงบประมาณ 2565 ตอ่ ไป
4.18 การจดั ทาข้อตกลงในการพฒั นางาน
ประธานแจ้งการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) กาหนดสง่ ในวันท่ี 16 พฤศจิกายน 2564 และ
สง่ สานกั งาน กศน.จังหวดั สงขลาวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564 โดยนากรอบที่ ก.ค.ศ. กาหนด และเขียนข้อตกลงใน
การปฏบิ ตั งิ านใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อสถานศึกษา ผู้เรยี น และผู้รบั บรกิ ารอย่างสงู สดุ
4.19 การดาเนนิ งานองคก์ รนักศึกษา
ประธานแจ้งมอบหมายให้ผรู้ ับผดิ ชอบไดว้ างแผนการดาเนินงาน จดั ประชมุ นาองคก์ รเข้ามามสี ว่ นร่วมใน
การดาเนินงานของสถานศึกษ และใหม้ กี ารรายงานประชาสัมพันธผ์ า่ นช่องทางออนไลน์ เพจ facebook อีกช่องทาง
หน่งึ ดว้ ย
4.20 การอยูเ่ วร - บันทึกเวรยาม / การออกนอกสถานท่ีตง้ั ของสถานศึกษา
ประธานแจ้งเน้นย้าเรื่องการอยู่เวรยามรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการให้ผู้อยู่เวรยามรักษา
ความปลอดภยั สถานทรี่ าชการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีและบันทกึ ผลการปฏิบัตหิ นา้ ท่ีใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบ การเดินทางหรือการ
ออกนอกสถานศกึ ษาขอให้ถือปฏบิ ัตติ ามระเบียบบนั ทึกการขออนุญาตใหเ้ รยี บรอ้ ย

มตทิ ปี่ ระชุม รบั ทราบ

/ระเบียบวาระท5่ี ...

19

ระเบียบวาระที่ ๕ เร่อื งอน่ื ๆ (ถ้ามี)
5.1 การจดั กิจกรรมเขา้ จังหวะ exercise ทุกวนั พุธ เวลา 15.30 น.
ประธานแจง้ สานักงาน กศน.จังหวัดมีนโยบายในการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของบุคลากร ตามกิจกรรมของ

ชมรม To Be Number One โดยการมอบหมายให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมเข้าจังหวะ exercise ทุกวันพุธ
เวลา 15.30 น. มอบหมายนางสาวยุพเรศ สุวรรณะ ดาเนินการเป็นผู้นากิจกรรม และขอให้ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม
โดยพร้อมเพรยี งกนั รวมทง้ั ประชาสมั พนั ธ์และส่งเสรมิ ให้นกั ศกึ ษาดูแลสุขภาพของตนเอง เพ่ือให้มีสุขภาพที่ดีแข็งแรง
ชว่ ยลดความเส่ียงในการเกดิ โรคตา่ งๆได้

มตทิ ปี่ ระชมุ รบั ทราบ

ปดิ ประชุม 14.00 น.

……………………………….....ผู้จดรายงานการประชุม
(นางสาวตากาญจน์ มนี นุ่ )

บรรณารักษ์

…………………………………ผตู้ รวจรายงานการประชุม
(นางสาวพชั รี ไชยโรจน์)
ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอคลองหอยโขง่


Click to View FlipBook Version