The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kengann, 2019-12-15 02:09:12

ดาระ

นางสมศรี ชอบกิจ นายทอง มาลินี (ป๊ะทอง)

นายทอง มาลินี (ป๊ะทอง)




“ดาระ” คือ การละเล่นของชาวมุสลิมเพื่อความสนุกสนาน หรือ



เมื่อนึกอยากเล่นก็รวมกลุ่มกันร้องร าท าเพลง จากนิทานปร าปรา มีถิ่น


ก าเนิดในหมู่บ้านเล็ก ๆ แขวงเมืองฮัมดาระตนเมาฟ์ ประเทศซาอุดิอาร



เบีย ดาระป็นที่รู้จักกันใน จ.สตูล เมื่อประมาณ 3 - 4 ชั่วอายุคนมาแล้ว



ถิ่นที่นิยมเล่นดาระกันมากในสมัยนั้น คือ เขตอ าเภอเมืองสตูล ต าบล


แป-ระและต าบลควนโดน อ าเภอควนโดน แต่ปัจจุบันการแสดงดาระ



จะมีแห่งเดียวในประเทศไทย คือ อ.ควนโดน จ.สตูล และคงเหลือเพียง



คณะเดียวโดยมี นายทอง มาลินี (ป๊ะทอง)




ซึ่งปัจจุบันหาดูได้ยากแล้ว เนื่องจากเป็นการเต้นร าที่ต้องมีเนื้อเพลงร้อง


ประกอบท่าร าซึ่งจะต้องบ่งบอกออกมาเป็นลักษณะท่าทาง และบอกเล่า



ถึงเรื่องราวต่าง ๆ ไปพร้อมกันด้วย เมื่อคนรุ่นเก่าตายไป เคนรุ่นใหม่ไม่



มีใครสนใจ สืบสานต่อก็ย่อมจะหมดไป

ปัจจุบันดาระในจังหวัดสตูล มีเพียงคณะเดียวคือที่ต าบลควนโดน



อ าเภอควนโดน มีนางสมศรี ชอบกิจ ครูโรงเรียนควนโดนวิทยาเป็น


ผู้ดูแล ดาระคณะนี้สืบทอดต่อมาจากนายทอง มาลินี ซึ่งเคยเล่นดาระมา



ตั้งแต่สมัยหนุ่มๆ และมีคณะดาระเป็นของตนเอง ต่อมาเมื่อชราภาพลง



ผู้ร่วมคณะได้แยกย้ายกันไป บ้างก็ตายจากกันไป เหลือเพียงนายทอง


มาลินี เพียงคนเดียว เมื่อประมาณ ๒๐ ปีที่แล้ว นายทอง มาลินี ได้รับ



เชิญให้ไปเป็นวิทยากรถ่ายทอดให้นักเรียนโรงเรียนควนโดนวิทยา ซึ่ง



สังกัดกรมสามัญศึกษาในสมัยนั้นในการถ่ายทอดการแสดงดาระที่


โรงเรียนแห่งนี้ ผู้เรียนมีทั้งนักเรียนและครู จนนางสมศรี ชอบกิจ ครู



โรงเรียนควนโดนวิทยา สามารถแสดงได้ นายทอง มาลินี เป็นวิทยากร



โรงเรียนนี้อยู่ประมาณ ๖-๗ ปีจนอายุมากขึ้น นางสมศรี ชอบกิจ จึงรับ


ช่วงเป็นวิทยากรแทนและได้น าศิลปะการแสดงดาระนี้ไปเป็นหลักสูตร



วิชาเลือกของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา นอกจากนั้นยังถ่ายทอดให้กับ



ชาวบ้านในละแวกนั้นที่สนใจ จนสามารถรับงานแสดงได้ ทั้งประเภท


ประชาชนทั่วไปและนักเรียน โดยนายทอง มาลินี ยังคงเป็นผู้ตีร ามะนา



ให้กับคณะนี้ในการแสดงทุกครั้ง

เครื่องดนตรีของดาระคณะหนึ่ง จะมีเพียงอย่างเดียวคือ



ร ามะนา จากการสัมภาษณ์ นายทอง มาลินี ทราบว่า ร ามะนานี้ เป็น


เครื่องดนตรีที่ชาวมาเลเซีย น าติดตัวมาเมื่อเข้ามาค้าขาย และน าดาระมา



เล่นในอ าเภอควนโดน หลังจากดาระแพร่หลายในแถบนี้แล้ว จึงได้มีผู้



ประดิษฐ์ร ามะนาขึ้นมาใช้เอง โดยท าจากไม้เนื้อแข็งที่หาได้ในท้องถิ่น


เช่น ไม้ละมุด ไม้กระท้อน ไม้ขนุน ไม้ตะเคียน โดยน าไม้ทั้งท่อนมาขุด



เจาะและเหลาให้เป็นรูปร่างของร ามะนา แล้วขึงด้วยหนังแพะแห้ง การ



ท าหนังแพะแห้งนั้น มีขั้นตอนการท าคือ น าหนังแพะมาแช่น้ าผสมข่า


เพื่อจ ากัดกลิ่นเหม็นแล้วหมักไว้ประมาณ ๑ วัน จากนั้นน ามาตากแดด



ให้แห้งสนิทแล้วจึงน ามาขึง ใช้หวายซีกร้อยตรึง หรือใช้วิธีตอกสลักที่



เรียกว่า แซดะ ก็ได้ เวลาเล่นจะมีขดหวายไว้ส าหรับแบ่งเสียงร ามะนา


เป็นการเทียบเสียงให้ชัดเจนและสมบูรณ์พร้อมเล่น




ปัจจุบันไม่มีการท าร ามะนาใช้เองแล้ว ส่วนใหญ่จะซื้อมาใช้



จากภายในประเทศหรือซื้อมาจากประเทศมาเลเซียเนื่องจากอ าเภอควน



โดนมีชายแดนติดต่อกัน



ดาระคณะปัจจุบัน ใช้ร ามะนาเพียง ๒ ใบ ขนาด



เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๓ นิ้ว สูง ๙ นิ้ว มีขนาดต่างกันเล็กน้อย

เป็นการร าโดยผู้ชายและผู้หญิงเป็นคู่ ๆ ในอดีตจะใช้ผู้ชายแต่งเป็น


ผู้หญิง การร าเริ่มต้นจากการนั่งและจบลงด้วยการนั่ง ส าหรับท่าร าอื่น ๆ



จะเปลี่ยนไปตามเนื้อเพลง ผู้ร าจึงต้องจ าเนื้อเพลง การร านี้จะอาศัยความ



อ่อนช้อยที่ช่วงตัว มือและเท้า




การร้องเพลงดาระจะร้องท่อนค าร้องวรรคแรกสามเที่ยว โดยการร้อง


สองเที่ยวแรกจะไม่มีดนตรีประกอบ เมื่อเริ่มเที่ยวที่สามจะเริ่มมีดนตรี



และเมื่อจบเที่ยวที่สามผู้ตีร ามะนาก็จะรัวร ามะนา เพื่อเตือนให้ผู้ร ารู้ตัว



และจะรัวร ามะนาอีกครั้งเมื่อเพลงจะจบ

ในอดีตดาระนิยมร ากันในหมู่บ้าน หลังจากที่ผ่านงานหนักมา


ตลอดวัน ไม่มีกฎเกณฑ์ว่าจะต้องเล่นในเทศกาลใดเป็นการเฉพาะ ต่อมา



นิยมร าในงานพิธีมงคล ในปัจจุบันนี้จะมีให้ชมเฉพาะในงานเทศกาล



ส าคัญของทางจังหวัดสตูลเท่านั้น









ร ำดำระ งำนจ ำปำดะ




























การร าดาระจะให้ความสุขความรื่นเริงแก่ผู้ชม


Click to View FlipBook Version