The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Natthaphong Phuvachoterojanaphokin, 2019-06-16 23:42:26

userGuide

userGuide

ค่มู อื การเตรียมความพร้อมด้านโสตทศั นูปกรณ์

โดย
งานการศกึ ษาทางไกล
งานซอ่ มบารุงคอมพิวเตอรแ์ ละระบบเครอื ขา่ ย
กล่มุ งานวิทยบรกิ าร
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิ

บทที่ 1 “ความร้ดู า้ นโสตทัศนปู กรณ์”
-------------------------------------------------
ประเภทเครือ่ งมือหรือโสตทัศนปู กรณ์ (Audio Visual Equipment)
ปัจจุบันเราสามารถจาแนกโสตทัศนวัสดุไดเ้ ป็น 4 ประเภทคือ
1. โสตทศั นูปกรณ์ประเภทเครื่องเสยี ง
2. โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องฉาย
3. โสตทศั นปู กรณ์ประเภทการรองรบั การบันทึก การจดั แสดง
4. โสตทศั นปู กรณป์ ระเภทอ่นื ๆ ตามสมัย (ดิจิทัล)

1. โสตทศั นปู กรณป์ ระเภทเครือ่ งเสียง
นบั เปน็ สิ่งจาเปน็ อยา่ งหน่ึงในการสอื่ สาร จากผถู้ ่ายทอดสารไปยังผูร้ ับสาร จากสื่อท่ีใช้เสียงในการเรยี นรู้ ทาให้
ผู้ฟังไดย้ นิ เสียงอยา่ งชัดเจนดีย่งิ ข้ึนกวา่ การพูดธรรมดา และยงั เป็นสิ่งกระต้นุ ความสนใจที่ช่วยให้ผ้เู รยี นหรือ
ผูร้ บั สารเข้าใจเนอื้ หาได้ดยี ิง่ ข้ึน

ความหมายของเครื่องเสียง เครอื่ งเสยี งเป็นอุปกรณ์ทเ่ี ป็นส่อื กลางในการถา่ ยทอดเน้ือหาประเภท
เสียงจากมนุษย์และแหล่งกาเนดิ เสียงตา่ งๆ ใหด้ งั มากขึ้นเพือ่ ให้ได้ระยะทางในการได้ยิน โดยมอี งคป์ ระกอบ

หลกั คอื ภาครบั ภาคขยาย และภาคส่งออก ซ่ึงเปน็ ระบบการเพ่มิ กาลงั ความดังของเสียงใหช้ ดั เจนและ
กว้างไกลมากขน้ึ

ความสาคญั ของ “เครอ่ื งเสียง” เสียงคนเราโดยปกติมคี วามดงั ประมาณ 60 เดซเิ บล เท่านั้น และ
เสียงกไ็ มส่ ามารถขยายให้ดงั ขึ้นหรือเก็บรกั ษารปู คลืน่ ไว้ได้ แต่เครอ่ื งขยายเสียงสามารถเปลี่ยนเป็นคลน่ื ไฟฟ้า
ได้โดยการอาศยั ทฤษฎีการเหนี่ยวนาของสนามแมเ่ หล็กผา่ นขดลวด เคร่ืองเสยี งจึงมีความสาคัญในการเป็น
สอ่ื กลางของการเพ่ิมความดังของเสียง เชน่ เสยี งจากการบรรยาย การเรียนการสอน รวมถึงแหลง่ กาเนิดเสยี ง
ต่างๆ ด้วย
หลกั การทางานของเคร่ืองเสียง การเพิม่ ความดงั ของเสยี งให้สามารถไดย้ นิ ไดฟ้ ังกนั อย่างทัว่ ถึง มี
องค์ประกอบแบ่งออกเปน็ 3 ภาคได้แก่
1. ภาคสัญญาณเขา้ (Input Signal) ภาคทเ่ี ปล่ยี นคลนื่ เสยี งธรรมชาตใิ ห้เป็นพลงั งานไฟฟ้าความถีเ่ สยี ง

ไดแ้ ก่ Microphone, CD player, Cassette tape, , เป็นตน้
2. ภาคขยายสัญญาณ (Amplifier) ทาหนา้ ที่รบั สญั ญาณไฟฟ้าความถีเ่ สียงมาขยายใหม้ ีกาลังแรงมากข้ึน

โดยไมผ่ ิดเพยี้ นจากแหลง่ กาเนดิ เสยี ง ไดแ้ ก่ เครอ่ื งขยายเสียงประเภทตา่ งๆ หรืออุปกรณ์ท่บี รรจุภาคขยาย
สัญญาณไว้ในตวั เช่น Mini component เปน็ ตน้
3. ภาคสัญญาณออก (Output Signal) ทาหน้าที่รบั สัญญาณไฟฟา้ ความถี่เสียง ท่ีไดร้ ับการขยายแล้วมา
เปล่ยี นเป็นคล่นื เสียงธรรมชาติเหมือนตน้ กาเนิดเสยี งทุกประการ ไดแ้ ก่ ลาโพงชนิดตา่ งๆ

2. โสตทศั นูปกรณ์ประเภทเคร่อื งฉาย โสตทัศนูปกรณป์ ระเภทเครื่องฉายได้เขา้ มามบี ทบาทสาคญั ในการ
ถ่ายทอดความรูเ้ น้ือหาสาระเปน็ อย่างมาก เป็นเคร่ืองมือในการถา่ ยทอดเนื้อหาบทเรียนประเภทส่อื โสต
ทศั น์ใหแ้ กผ่ ูเ้ รียนหรือผชู้ ม ทาใหเ้ ห็นส่งิ ทเี่ ปน็ นามธรรมเปน็ รปู ธรรมไดอ้ ย่างชดั เจนย่ิงขึน้ ทั้งในลักษณะ
ภาพน่งิ ภาพเคลื่อนไหว ซ่งึ เป็นส่งิ ช่วยกระตุ้นความสนใจและช่วยให้เข้าใจเน้ือหาสาระได้ง่ายและรวดเร็ว
ยิ่งข้นึ

ความหมายของ “เครือ่ งฉาย” เครื่องฉายมีลักษณะเป็นอปุ กรณ์ (Hardware) เปน็ สอ่ื กลางหรือตวั ผา่ นในการ
ถา่ ยทอดข้อมูลเนือ้ หาจากโสตทัศนวสั ดุทไี่ ม่สามารถถา่ ยทอดเนอื้ หาไดด้ ้วยตวั เอง ทาใหเ้ น้อื หา ขอ้ มูลปรากฏ
ขนึ้ บนจอรับภาพให้มองเหน็ ได้
ความสาคญั ของเคร่ืองฉาย สือ่ การสอนทีเ่ หน็ เป็นรูปธรรมไดแ้ กส่ ื่อทเ่ี ปน็ วสั ดุและอุปกรณ์ สื่อวัสดทุ ่สี ามารถ
ถา่ ยทอดดว้ ยตัวเอง ไดแ้ ก่ รปู ภาพ ของจริง ของจาลอง ฯลฯ และวสั ดุทไี่ ม่สามารถถา่ ยทอดได้ด้วยตัวเอง ตอ้ ง
อาศยั อุปกรณช์ ่วยให้เนอ้ื หาที่บรรจุอย่ใู นส่อื วสั ดุนัน้ ปรากฏออกมาให้มองเหน็ หรอื ไดย้ ิน เช่น แผน่ โปร่งใส ฟลิ ์ม
สไลด์ ฟลิ ม์ ภาพยนตร์ เทปวดี ทิ ัศน์ ฯลฯ แต่หากเป็นส่อื วสั ดุทีบ่ รรจุเนื้อหาประเภทภาพและเสียงแล้ว
จาเป็นตอ้ งอาศัยอปุ กรณ์ประเภทเคร่อื งฉายท่ีถ่ายทอดเสียงออกทางลาโพง โดยจะช่วยในการขยายขนาดของ
ภาพใหม้ ขี นาดใหญข่ ึน้ และเห็นได้อย่างชดั เจนทวั่ ทัง้ ห้อง ทาใหผ้ ชู้ มสามารถเข้าใจได้ง่ายและรวดเร็ว เพ่มิ ความ
นา่ สนใจรวมถงึ มีความสนุกและตื่นเต้นเร้าใจเพมิ่ มากขึ้นดว้ ย
องคป์ ระกอบในการฉาย
2.1 เครอ่ื งฉาย (Projector) ใชเ้ ป็นอุปกรณ์เคร่ืองมือในการถา่ ยทอดเนือ้ หาจากสอ่ื วสั ดุ ปรากฏเปน็ ภาพหรือ
เสยี งและภาพ ไดแ้ ก่ Over Head Projector, Slide Projector, Film Projector เป็นต้น

2.2 โสตทศั นวัสดุ (Materials) เนอ่ื งจากเครื่องฉายจาเปน็ ตอ้ งใช้ “แสง” ในการฉายภาพ ดงั น้ันวสั ดุท่ีใช้ใน
การฉายจึงแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ
 วัสดโุ ปรง่ แสง (Transparency) เปน็ วัสดทุ ่ใี ห้แสงผา่ นได้โดยไม่มีการเปลย่ี นแปลง ได้แก่ แผน่ โปร่งใสทใ่ี ช้

กบั เคร่ืองฉายภาพข้ามศีรษะ
 วสั ดกุ ง่ึ โปรง่ แสง (Translucent) เปน็ วสั ดทุ ่ียอมใหแ้ สงผ่านไปไดบ้ ้าง แตจ่ ะกระจายกระจายแสงทาให้

ความเขม้ ลดลงดว้ ย เชน่ ฟิล์มสไลด์ ฟิล์มภาพยนตร์
 วสั ดุทบึ แสง (Opaque) เป็นวสั ดทุ แ่ี สงผา่ นไม่ได้ เช่น กระดาษ ของจริง ของตัวอยา่ ง เปน็ ตน้
วัสดเุ หล่านจ้ี ะตอ้ งใชก้ ับเคร่ืองฉายที่มรี ะบบฉายแตกต่างกัน โดยต้องมีการบนั ทึกขอ้ มลู ที่เป็นตวั อกั ษร ภาพ
หรือภาพและเสียง ลงบนวัสดนุ ้ันให้เรยี บรอ้ ยก่อนนามาฉาย

2.3 จอรบั ภาพ (Screen) เป็นจอหรือฉากสาหรับรบั ภาพทีฉ่ ายมาจากเครื่อง ให้เห็นได้อยา่ งชัดเจน โดยปกติ
จะเปน็ จอท่มี พี ้ืนผวิ เคลือบดว้ ยวสั ดุที่มีคุณสมบัติในการสะท้อนแสงได้ดี แตห่ ากไม่สามารถหาได้จรงิ ก็อาจใช้
ผนงั ห้องสีขาวเปน็ จอรับภาพแทนได
ระบบฉาย
เครื่องฉายตา่ งๆ สามารถจาแนกออกไดเ้ ปน็ 3 ระบบ

1. ระบบฉายตรง (Direct projection)เปน็ การฉายโดยให้แสงผา่ นทะลวุ ัสดฉุ ายและเลนสฉ์ ายไปยังจอภาพใน
แนวเสน้ ตรง การใสว่ ัสดุตอ้ งใสไ่ ว้หลงั เลนสฉ์ ายในลกั ษณะต้ังฉากกบั พนื้ เหมือนกับภาพที่ปรากฏบน
จอรบั ภาพ เนอ่ื งจากเลนสจ์ ะกลบั ภาพภาพท่ีฉายออกไปเป็นดา้ นตรงข้าม ดว้ ยเหตนุ ีจ้ งึ ต้องใส่วสั ดุฉายใน
ลักษณะหัวกลับเสมอ

*ภาพจาก สานักนวัตกรรมการเรยี นการสอน
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
*ภาพจาก สานักนวตั กรรมการเรียนการสอน มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

2. ระบบฉายอ้อม (Indirect Projection) เป็นการฉายโดยใหแ้ สงจากหลอดฉายผ่านขึ้นไปยงั เลนสฉ์ าย โดยมี
การหกั เหของลาแสงผา่ นวสั ดุฉายไปยงั จอรบั ภาพ การใส่วัสดฉุ ายในระบบฉายอ้อมคือ ต้องวางวัสดุฉายในแนว
ระนาบบนแท่นเครอื่ งฉาย โดยหันด้านหน้าขึน้ บนและริมล่างเขา้ หาจอ

*ภาพจาก สานกั นวัตกรรมการเรยี นการสอน มหาวิทยาลัยขอนแกน่

3. ระบบฉายสะทอ้ น (Reflected Projection) เป็นการฉายโดยให้หลอดฉายส่องตรงมายังวสั ดฉุ ายก่อนแล้ว
จงึ สะท้อนไปยังกระจกเงา ที่อยูด่ า้ นบนสดุ ของเคร่ืองสะท้อนแสงผา่ นไปยังเลนส์ฉาย และส่องแสงปรากฏเปน็
ภาพบนจอรับภาพ การใส่วสั ดุฉายในระบบฉายสะทอ้ นคอื ต้องวางวสั ดฉุ ายตามลักษณะท่เี ป็นจรงิ ในแนว
ระนาบบนแท่นวางของเคร่ืองฉาย

*ภาพจาก สานกั นวตั กรรมการเรยี นการสอน มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

โสตทศั นูปกรณ์ประเภทการจดั แสดง โสตทศั นูปกรณ์ประเภทนี้ ไดแ้ ก่ กระดานชอลค์ บอรด์ นทิ รรศการ ป้าย
นเิ ทศ บธู จดั นทิ รรศการ ใชป้ ระกอบการนาเสนอเนื้อหาวชิ า ด้วยการ ขีด-เขียน ปะตดิ จดั วาง ประดบั ตกแต่ง
ใหม้ คี วามสวยงามตามความคิดสรา้ งสรรคข์ องผู้จดั ทา สามารถลงรายละเอยี ดปลีกย่อยในสิ่งทนี่ าเสนอ ส่วน
ใหญ่ออกแบบมาให้เคลือ่ นย้ายได้ บางชนิดติดตรงึ อยู่กับทใี่ นห้องแสดง เชน่ ในหอ้ งเรียน ห้องนิทรรศการ
ช่ัวคราว นิทรรศการถาวร พิพิธภัณฑ์ ผ้ชู มตอ้ งเดินมาศกึ ษารายละเอยี ดด้วยตนเองยังสถานท่ีจัดแสดง
4.โสตทศั นปู กรณป์ ระเภทอ่นื ๆ ตามสมัย (ดิจิทลั )
ในปัจจบุ ันทีเ่ ทคโนโลยที างส่ือโสตทศั นปู กรณ์ไดก้ ้าวเขา้ สู่ยุคดิจทิ ัล โสตทัศนปู กรณ์จึงมกี ารพฒั นาทาง
เทคโนโลยี และความหลากหลายมากขน้ึ ซงึ่ ไมจ่ ากัดอย่เู พียงเฉพาะอุปกรณ์ที่กลา่ วมาข้างต้นท้งั 3 ขนดิ อีกทัง้
มขี ดี ความสามารถมากขนึ้ เพื่อตอบสนองการใชง้ านได้หลากหลายรูปแบบ และยงั ใช้งานได้งา่ ยกว่าเดมิ แต่
ยังคงมีราคาค่อนขา้ งสูง อาทิ จอมอนิเตอร์วอลล์ เครื่องฉายภาพดิจิทลั เครือ่ งรบั สญั ญาณโทรทัศนด์ ิจิทลั แทป
เล็ต สมารท์ โฟน หรือแม้กระท้งั เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

บทท่ี 2 “การติดต้งั โสตทศั นปู กรณ์”
-------------------------------------------------
ในการเช่ือมต่อ ติดต้งั โสตทศั นูปกรณน์ ้นั มรี ูปแบบหลากหลาย ข้นึ อยู่กับจานวน ชนดิ ของอปุ กรณท์ ่ตี ้อง
ใชง้ านในแต่ละสถานที่ ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นภาพรวมไดด้ ังตัวอย่างน้ี โดยอาจมีการประยุกต์ใช้งานไดต้ ามความ
เหมาะสม

ผังแสดงการติดตัง้ เชื่อมต่อโสตทศั นูปกรณภ์ ายในห้องเรียน



บทท่ี 3 “การใช้งานโสตทศั นูปกรณ์”
-------------------------------------------------

บทที่ 4 “ปัญหาการใช้งานโสตทศั นปู กรณ์หอ้ งเรยี น”
-------------------------------------------------

สรปุ ปญั หาการใช้งานโสตทศั นปู กรณ์
1.เปิดเครือ่ งหรืออุปกรณ์โสตไม่ติด
การแก้ไข: ตรวจสอบระบบไฟฟา้ ปลัก๊ เสยี บ ความปกตขิ องสายไฟตา่ งๆ เบรคเกอร์ รีโมทคอนโทรล โดยใช้การ
สังเกตุและเคร่ืองมือวัดไฟ เช่นไขควงเชค็ ไฟ มลั ติมิเตอร์ อาจใชว้ ธิ ีทดลองเล่ยี นสายไฟเพื่อคน้ หาสาเหตุ
2.สญั ญาณภาพไม่ออกโปรเจคเตอร์
การแก้ไข: ตรวจสอบสายสัญญาณ VGA พอรต์ ทเี่ ชอ่ื มต่อว่าถกู ต้องหรอื ไม่ หากถูกตอ้ ง ใหท้ ดลองปรบั การส่ง
สญั ญาณจากคอมพวิ เตอรใ์ หส้ ่งสัญญาณออก หากทาแล้วไม่ได้ อาจเกิดจากสายชารุด ให้ทดลองเปลยี่ นสาย
เพอ่ื หาสาเหตุ
3.สัญญาณภาพสีเพย้ี น
การแก้ไข: ตรวจสอบสายสัญญาณภาพ ข้ันต่อ วา่ มีการชารุดหรอื ไม่
4.เสยี งไม่ออกลาโพง
การแก้ไข : ตรวจเชค็ เครือ่ งขยายเสียง การเช่อื มต่อสายสัญญาณ และทดลองเปลี่ยนอุปกรณ์
5.เสยี งออกแตม่ เี สียงรบกวน ตดิ ๆขดั ๆ
การแก้ไข : ตรวจเชค็ สายไมค์ สายสัญญาณ เปล่ยี นสายไมค์ เพราะเป็นอปุ กรณ์ท่ีชารุดไดบ้ อ่ ย
6.ไม่สามารถสลับสัญญาณวิชวลได้
การแก้ไข: ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการเชอ่ื มตอ่ สายสัญญาณ และอุปกรณ์ ทดลองสลับอุปกรณ์
7.คอมพิวเตอร์ เปิดติดแต่บูตไมเ่ ข้าวินโดวส์ปกติ
การแก้ไข : สงั เกตวุ า่ มแี ฟลชไดรฟ์เสยี บคาอยู่หรือไม่ ทดลองเขา้ Safe mode เพือ่ แก้ไขความผดิ ปกติ หาก
ไม่ได้ให้ทาการลงระบบวนิ โดวส์ใหม่
8.โปรเจคเตอรภ์ าพเบลอ ไม่ชัด
การแก้ไข : ปรบั เลโซลูชนั่ ทีค่ อมพวิ เตอร์ให้เหมาะสม ปรับระยะโฟกสั ที่ตวั เครื่องโปรเจคเตอร์ หากไมห่ าย
อาจเกิดจากโปรเจคเตอร์เส่อื ม ให้หาโปรเจคเตอร์สารองใช้ และดาเนินการส่งซ่อมหรือเปลีย่ นอะไหลท่ ันที
9.ภาพจากโปรเจคเตอร์มอี าการสน่ั กระพรบิ
การก้ไข : ตรวจสอบความเสถียรของระบบไฟฟา้ ทจี่ ่ายไฟให้โปรเจคเตอร์

บทท่ี 5 “การดูแลบารงุ รกั ษาโสตทศั นปู กรณ์”
-------------------------------------------------

การดแู ลบารงุ รกั ษาโสตทศั นูปกรณ์ ทาไดด้ งั นี้


Click to View FlipBook Version