The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by medsiampoplan, 2021-03-24 03:06:37

SAR-2558

SAR-2558

คาํ นาํ
ตามท่ีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดทบทวน
องคป ระกอบและตัวบง ชก้ี ารประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน และกาํ หนดกรอบแนวทางการพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพ
การศกึ ษาภายในระดบั อุดมศกึ ษาโดยใหพ ิจารณาเพ่มิ เตมิ ในสาระท่เี กย่ี วของในกรอบแผนอุดมศกึ ษาระยะยาว ๑๕ ป ฉบบั ท่ี๒
(พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๖๕) แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) มาตรฐานการอุดมศึกษา
มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาพ.ศ.๒๕๔๘ รวมทั้งกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแหงชาติพ.ศ. ๒๕๕๒ ท้ังนี้ไดกําหนดใหมีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ๓ ระดับ คือระดับหลักสูตร
ระดับคณะและระดับสถาบันโดยมีองคประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามพันธกิจ ๔ ดานของ
สถาบันอุดมศึกษาและเพิ่มเติมดานอ่ืนๆที่จําเปนท้ังนี้ใหสถาบันอุดมศึกษานําองคประกอบและตัวบงช้ีการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาภายในรอบใหมไปใชเปน แนวทางในการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในตั้งแตปการศึกษา ๒๕๕๘ เปน ตนไป
รายงานการประเมินตนเองฉบับนร้ี วบรวมจากการประเมนิ คณุ ภาพภายในของคณะแพทยศาสตรปก ารศกึ ษา๒๕๕๘
(สงิ หาคม ๒๕๕๘–ธนั วาคม ๒๕๕๘) ประกอบดวย ๓ สว น คือสวนท่ี ๑ รายละเอียดเกย่ี วกับคณะ สว นท่ี ๒ ผลการดาํ เนินงาน
ตามจุดออนจากผลการประเมินตนเอง (SAR) และผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในปการศึกษา ๒๕๕๗ คณะ
แพทยศาสตร สวนท่ี ๓ แบบรายงานขอมูลตามตัวชี้วัดการตรวจประเมนิ คณุ ภาพภายในปการศกึ ษา ๒๕๕๘ นอกจากน้ียังได
นําขอเสนอแนะของการประเมินคุณภาพในปที่ผานมามาพัฒนาอยางตอ เน่ือง คณะแพทยศาสตรม หาวิทยาลัยสยามนอมรับ
ขอเสนอแนะจากคณะผูตรวจประเมินคุณภาพ และพรอมจะนําขอเสนอแนะไปเปนแนวทางการพัฒนาคุณภาพของการจัด
การศกึ ษาของคณะแพทยศาสตรใหม ปี ระสิทธภิ าพย่ิงขน้ึ ตอ ไป

(ศาสตราจารยเกียรตคิ ณุ นายแพทยอ มร ลลี ารศั ม)ี
คณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั สยาม
๐๑ สงิ หาคม ๒๕๕๙



บทสรุปสาํ หรบั ผบู ริหาร

การประกันคุณภาพการศึกษาเปนกระบวนการท่ีดําเนินการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. ๒๕๔๒
แกไขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๔๘ กาํ หนดใหมีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาและใหถือ
วา การประกันคณุ ภาพภายในเปน สว นหน่งึ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษาที่ตอ งดําเนินการอยางตอเนอื่ งคณะแพทยศาสตร
มหาวิทยาลัยสยามซ่ึงเปนโรงเรียนแพทยสังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแหงท่ี ๒ ของประเทศไทย จึงจัดใหม ีการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในตัง้ แตปก ารศึกษาแรกของการเปดดําเนินการ เพื่อนําผลการประเมนิ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในไป
ใชเปนแนวทางในการพัฒนา/ปรับปรุง/แกไขการบริหารจัดการเพ่ือใหภารกิจในการผลิตบัณฑิตมีคุณภาพตรงตาม
วัตถุประสงคข องหลักสูตรและวสิ ัยทัศนข องคณะแพทยศาสตรต อไป

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามไดดําเนินการจัดทํารายงานการ
ประเมินตนเองปการศึกษา ๒๕๕๘ ตามคูมือประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปการศึกษา๒๕๕๘ สรุปผลการ
ประเมินท้ัง ๕ องคป ระกอบไดด ังน้ี

องคประกอบที่ ๑ การผลิตบัณฑติ ผลการประเมนิ ตนเอง เทากบั ๓.๖๒
องคป ระกอบท่ี ๒ การวจิ ัย ผลการประเมนิ ตนเอง เทา กบั ๑.๕๓
องคประกอบที่ ๓ การบรกิ ารวิชาการ ผลการประเมนิ ตนเอง เทา กับ ๓
องคประกอบที่ ๔ การทาํ นบุ ํารงุ ศิลปและวัฒธรรม ผลการประเมินตนเอง เทา กับ ๔
องคป ระกอบท่ี ๕ การบรหิ ารจดั การ ผลการประเมนิ ตนเอง เทากบั ๔.๕๐
ผลการประเมินเฉล่ยี ๓.๒๕

จากการดําเนินการประกนั คณุ ภาพภายในครั้งน้ี ทาํ ใหคณะแพทยศาสตรไ ดทราบถึงจดุ ดอยที่ควรพัฒนา/ปรบั ปรุง/
แกไ ข ขณะเดียวกันก็ทราบจุดเดน ท่คี วรสงเสรมิ และสนับสนุนใหม ีจดุ แข็งเพม่ิ มากย่ิงขึน้ คณะแพทยศาสตรจะไดนาํ ทง้ั จุดดอ ย
และจุดแขง็ มาพัฒนา/ปรบั ปรงุ และสง เสริมในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๘ ตอไป

(ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ นายแพทยอ มร ลลี ารัศม)ี
คณบดคี ณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม
๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๙



สารบญั
หนา

คาํ นาํ ๑
บทสรุปผูบรหิ าร
สว นท่ี ๑ ขอมลู เบื้องตนของคณะ
๑.๑ ช่อื คณะ…………………………………………………………………………..……………………………….…………………….…………… ๔
๑.๒ ทต่ี ัง้ ………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………. ๔
๑.๓ ประวตั คิ วามเปนมา………………………………………………………………………………….………………………………………..... ๔
๑.๔ ชือ่ คณบด…ี …………………………………………………………………………………………………………………………………....…… ๔
๑.๕ คณะกรรมการบริหารประจาํ คณะฯ………………………………………………………………………………………………..……… ๔
๑.๖ คณะกรรมการประกนั คุณภาพการศกึ ษาระดับคณะวชิ า…………………………………………………………….…………..… ๕
๑.๗ คณะกรรมการชดุ ตางๆและหนา ท่ีทีร่ ับผดิ ชอบ.........………………………………………………….…………….………..….…. ๕
๑.๘ โครงสรางองคกร

๑.๘.๑ ผังองคก ร………………………….………………………………………….………………..……….…….………………………... ๙
๑.๘.๒ ผังกจิ กรรมจําแนกตามพันธกจิ ………….……………………………..………………….…………………………………… ๑๐
๑.๙ ขอมลู พ้นื ฐาน
๑.๙.๑ ขอ มลู บุคลากรโดยรวมของคณะวิชา....................................................................................................... ๑๑
๑.๙.๒ ขอมลู นักศึกษา............…………………….................................................................................................... ๑๑
๑.๑๐ ปรชั ญา ปณธิ าน วสิ ัยทัศน พนั ธกจิ ของคณะวิชา................................................................................….......... ๑๒
๑.๑๑ วัตถุประสงคข องคณะวชิ า................................................................................................................................. ๑๒
๑.๑๒ วตั ถุประสงคข องหลกั สูตร................................................................................................................................. ๑๒
๑.๑๓ คณุ ลักษณะของบณั ฑติ ท่ีพงึ ประสงคข องคณะวิชา............................................................................................ ๑๓
๑.๑๔ นโยบายคณะวิชาดานตา งๆ............................................................................................................................... ๑๓
๑.๑๕ แผนงานโครงการและระยะเวลาการดาํ เนินโครงการ........................................................................................ ๑๖
๑.๑๖ งบประมาณดําเนินการโครงการ........................................................................................................................ ๑๗
๑.๑๗ เอกลักษณห รือวฒั นธรรมของคณะ................................................................................................................... ๑๘
๑.๑๘ ผลการปรบั ปรงุ ตามขอ เสนอแนะของผลการประเมนิ ปทีผ่ านมา ...................................................................... ๑๘
สว นท่ี ๒ รายละเอียดของการประเมินตนเองตามตวั บงช้ีของสาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
องคประกอบท่ี ๑ การผลิตบณั ฑติ …...…………...……….…………………………………………….….….….................................... ๒๐
องคป ระกอบที่ ๒ การวิจยั ……............................................................................................….…………………………..…... ๓๗
องคประกอบท่ี ๓ การบริการวชิ าการ.......................................................................................................................…. ๔๖
องคป ระกอบที่ ๔ การทาํ นุบํารงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม……….……….………………………………………….……………….……….. ๔๙
องคประกอบท่ี ๕ การบรหิ ารจดั การ..............………………….……..…………………………………………….………………………… ๕๒
ตารางวิเคราะหผ ลการประเมนิ ระดบั คณะ.................................................................................................................... ๖๕



สว นท่ี ๑
รายละเอยี ดเกี่ยวกบั คณะวชิ า

๑.๑ ช่ือคณะคณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั สยาม

๑.๒ ท่ีตัง้ สาํ นักงานแพทยศาสตร ชน้ั ๑๔ อาคาร เฉลมิ พระเกียรติ (๑๙ ชัน้ ) มหาวทิ ยาลยั สยามเลขที่ ๓๘ ถนนเพชร
เกษม แขวงบางหวา เขตภาษเี จรญิ กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๖๐

๑.๓ ประวตั คิ วามเปนมา
หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ (หลกั สตู รใหมพ.ศ.๒๕๕๕ ) ของคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลยั สยามไดรบั การรบั รอง

จากแพทยสภาในการประชุมครั้งที่๗ /๒๕๕๕ เม่ือวันที่๑๒ กรกฎาคม๒๕๕๕ และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
รบั ทราบการใหความเห็นชอบหลักสูตรเม่ือวันที่๑ พฤษภาคมพ.ศ.๒๕๕๖นับเปนโรงเรียนแพทยเอกชนแหงท่ี๒ของประเทศ
ไทยโดยไดรับความรวมมือจากภาครัฐคือโรงพยาบาลตํารวจสํานักงานตํารวจแหงชาติเปนโรงพยาบาลหลักเพ่ือจัดการเรียน
การสอนในระดับคลินิกรับนกั ศึกษารนุ แรกจํานวน๔๘คนและไดจ ัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาท๑่ี ปก ารศกึ ษา๒๕๕๖ ใน
เดอื นสิงหาคม๒๕๕๖ เปน ตนมา

หลังเปดดําเนินการ ๓ ป ในการประชุมคร้ังท่ี ๑๑/๒๕๕๘ วนั ท่ี ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๘ คณะกรรมการแพทย
สภามีมติยุติโครงการความรวมมือในการผลิตแพทยระหวางคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามกับโรงพยาบาลตํารวจ
เพ่ือใหการดาํ เนินการศึกษามคี วามตอ เน่อื ง มติแพทยสภาในการประชมุ วันที่ ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๘ อนมุ ัตใิ หโ รงพยาบาลพระนง่ั
เกลา เปนโรงพยาบาลหลกั แทนโรงพยาบาลตํารวจในการเรียนการสอนนักศึกษา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลยั สยาม ในชน้ั
คลินิก (ปที่ ๔, ๕ และ ๖) เฉพาะนักศึกษารุนท่ี ๑-๓ เทาน้ัน และแพทยสภามอบใหวิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา
และคณะแพทยศาสตรจ ากมหาวิทยาลัยอีก ๔ แหง ชวยสนับสนุนการจดั การเรยี นการสอนระดบั คลินกิ (ปที่ ๔, ๕ และ ๖) ณ
โรงพยาบาลพระนงั่ เกลา ใหเ ปน ไปดว ยความเรยี บรอยและไดม าตรฐาน คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลัยสยามจงึ มคี าํ สง่ั แตง ตงั้
คณะกรรมการดูแล กํากับการจัดการเรียนการสอนและประเมนิ ผลการศึกษาระดับชนั้ คลินิกท่ปี ระกอบดวยคณบดีหรือผูแ ทน
จากคณะแพทยศาสตร ตางๆ ดังนี้ วทิ ยาลัยแพทยศาสตรพระมงกฎุ เกลา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย
คณะแพทยศาสตรศ ิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหิดล และ คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหิดล

๑.๔ ชอื่ คณบดี ศาสตราจารย นายแพทย อมร ลีลารศั มี

๑.๕ คณะกรรมการบริหารคณะ ประธานกรรมการ
ศ.เกยี รตคิ ุณ นพ.อมร ลลี ารศั มี กรรมการ
ศ.เกยี รติคุณ นพ. บุญเจือ ธรณิรทร กรรมการ
พ.ต.อ.นพ.ฉตั รชยั องั สโุ รจน กรรมการ
ผศ.ดร.อภิชยั ชปู รีชา (ตวั แทนอาจารย) กรรมการ
นพ.วรี ะพล ธรี ะพันธเจรญิ กรรมการ
ตัวแทนนกั ศึกษา กรรมการและเลขานุการ
อ.สดุ จติ ร เมืองเกษม ผูชวยเลขานกุ าร
อ.อมรรัตน ยืนยงวัฒนกลุ

๑.๖ คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะวชิ า ประธานทีป่ รึกษา
ศ.เกียรตคิ ุณ นพ. อมร ลลี ารัศมี ที่ปรกึ ษา
ศ.กติ ตคิ ณุ นพ.เฉลมิ วราวิทย ท่ปี รึกษา
รศ.ดร.เสาวณีย รตั นพานี ทีป่ รกึ ษา
อ.สดุ จติ ร เมอื งเกษม ประธานกรรมการ
ศ.เกียรติคณุ นพ. อมร ลีลารัศมี กรรมการ
ศ.เกียรติคุณ นพ. บญุ เจอื ธรณินทร



รศ.ดร.มลวภิ า วงษสกุล กรรมการ
พ.ต.อ.นพ.ฉตั รชยั องั สุโรจน กรรมการ
รศ.ดร.สพ.ญ. มาลินี ไทยรุงโรจน กรรมการ
อ.นพ.วรี ะพล ธีระพนั ธเ จรญิ กรรมการ
ผศ.ดร.อภิชยั ชปู รชี า กรรมการ
ผศ.ดร.ธิดารตั น เอกสิทธิกลุ กรรมการ
อ.ดร.เจนวทิ ย นพวรท กรรมการ
อ.ดร.ณฐั ฏพล ศภุ กมลเสนยี  กรรมการ
อ.อมรรัตน ยืนยงวฒั นกุล กรรมการ
อ.สิรสิ มบัติ สนุ นท กรรมการ
อ.นนั ธนดิ า มงคล กรรมการ
อ.สณั หพงษ กอวงศ กรรมการ
นางสาว ปารรี ฐั วชิ ยั ดิษฐ กรรมการและเลขานุการ
นางสาว ยลดา มูลทอง ผชู วยเลขานกุ าร

๑.๗ คณะกรรมการชดุ ตา งๆและหนา ทีท่ ี่รบั ผดิ ชอบ
๑.๗.๑ คณะกรรมการบรหิ ารคณะ
ศ.เกยี รติคุณ นพ.อมร ลลี ารศั มี ประธานกรรมการ
ศ.เกยี รตคิ ุณ นพ. บญุ เจอื ธรณริ ทร กรรมการ
พ.ต.อ.นพ. ฉัตรชยั องั สุโรจน กรรมการ
ผศ.ดร. ธดิ ารตั น เอกสิทธกิ ุล(ตัวแทนอาจารย) กรรมการ
นพ.วีระพล ธีระพนั ธเจรญิ กรรมการ
ตัวแทนนกั ศึกษา กรรมการ
อ.สุดจติ ร เมอื งเกษม กรรมการและเลขานกุ าร
อ.อมรรตั น ยนื ยงวฒั นกลุ ผชู ว ยเลขานกุ าร
หนาที่ บริหารหลกั สตู รและการเรยี นการสอน การพัฒนาหลักสูตร การติดตามประเมนิ ผลหลกั สูตรตา งๆรวมทั้ง
รายวิชาศึกษาทว่ั ไปที่สงั กัดคณะดา นวิทยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร และรายวชิ าทีท่ างคณะจดั การเรียนการสอนใหแก
นกั ศกึ ษาในคณะอื่นๆ การวจิ ยั การบรกิ ารวิชาการแกสังคม การทํานบุ ํารงุ ศิลปวัฒนธรรมรวมทั้งการประกนั คณุ ภาพ
การศกึ ษา และการเผยแพรก จิ กรรมตางๆของคณะตามนโยบายและวตั ถุประสงคข องมหาวทิ ยาลยั

๑.๗.๒ คณะกรรมการประกนั คุณภาพการศึกษาระดับคณะวชิ า ประธานทปี่ รึกษา
ศ.เกียรติคุณ นพ. อมร ลีลารศั มี ท่ีปรกึ ษา
ศ.กิตติคณุ นพ.เฉลมิ วราวิทย ท่ปี รึกษา
รศ.ดร เสาวณีย รตั นพานี ท่ีปรกึ ษา
อ. สดุ จิตร เมืองเกษม ประธานกรรมการ
ศ.เกยี รตคิ ุณ นพ. อมร ลลี ารัศมี กรรมการ
ศ.เกยี รตคิ ุณ นพ. บญุ เจอื ธรณนิ ทร กรรมการ
รศ. ดร. มลวภิ า วงษสกุล กรรมการ
พ.ต.อ. นพ. ฉัตรชยั อังสโุ รจน กรรมการ
รศ.ดร. สพ.ญ. มาลินี ไทยรงุ โรจน กรรมการ
อ.นพ.วรี ะพล ธรี ะพนั ธเ จรญิ กรรมการ
ผศ.ดร.อภชิ ยั ชปู รชี า กรรมการ
ผศ.ดร.ธดิ ารัตน เอกสทิ ธิกลุ กรรมการ
อ.ดร.เจนวทิ ย นพวรท


อ.ดร.ณฐั ฏพล ศภุ กมลเสนยี  กรรมการ
อ.อมรรัตน ยืนยงวัฒนกุล กรรมการ
อ.สิริสมบัติ สนุ นท กรรมการ
อ.นันธนิดา มงคล กรรมการ
อ.สัณหพงษ กอวงศ กรรมการ
นางสาว ปารรี ฐั วชิ ัยดิษฐ กรรมการและเลขานกุ าร
นางสาว ยลดา มลู ทอง ผชู วยเลขานกุ าร
ใหคณะกรรมการมบี ทบาทหนาทด่ี ังนี้
๑. กําหนดกลยุทธ แผนการพัฒนา และแผนการดําเนนการดานประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ
แพทยศาสตร
๒. ใหคําแนะนําในการวางแผนปฏิบัติงานและการดําเนินการตางๆที่เก่ียวของกับการประกันคุณภาพ
การศึกษา ตลอดจนตดิ ตามผลการดําเนินงานประกนั คุณภาพการศึกษา โดยใชดัชนบี งชีว้ ัดคุณภาพ
การศึกษาและควบคมุ การปฏบิ ตั ิงาน
๓. ใหขอเสนอแนะและแนวทางการดําเนินงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายในของคณะ
แพทยศาสตร
๔. สรุปประเมินขอคิดเห็นจากผลการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามตัวบงชี้จาก
คณะกรรมการดําเนินการ เพอ่ื เสนอตคณะกรรมการประจําของคณะแพทยศาสตร
๕. แตงต้ังอนุกรรมการที่จําเปนและเก่ียวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือชวยเหลือการ
ปฏบิ ัตงิ านของคณะกรรมการได

๑.๗.๓ คณะกรรมการพฒั นาหลักสตู รและมาตรฐานการศึกษาประจาํ คณะแพทยศาสตร
ศาสตราจารยเกยี รติคณุ แพทยห ญงิ สมศรีเผาสวัสดิ์ ประธานกรรมการ
ศาสตราจารยกติ ตคิ ุณ นายแพทย เฉลิมวราวิทย กรรมการ
ศาสตราจารยเ กียรติคณุ นายแพทย.สมเกียรตวิ ัฒนศิรชิ ยั กลุ กรรมการ
พลตาํ รวจตรี นายแพทย ทรงชัย สิมะโรจน กรรมการ
ศาสตราจารย วชิร คชการ กรรมการ
คณบดีคณะแพทยศาสตร กรรมการและเลขานกุ าร
ผูชวยคณบดี ผชู วยเลขานกุ าร
หนา ท่ี
๑. พิจารณากล่ันกรองและใหขอเสนอแนะการบริหารและการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนกระบวนการ
วดั ผลและประเมนิ ผลการศึกษาใหมคี ณุ ภาพทงั้ มาตรฐานวชิ าการ วิชาชีพ และกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ
ระดบั อดุ มศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒
๒. พิจารณากลน่ั กรองการรบั รองมาตรฐานการดาํ เนนิ การในหลักสตู ร
๓. พจิ ารณาประเมินคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาในหลักสตู ร

๑.๗.๔ คณะกรรมการกิจการนักศึกษา
ศาสตราจารยก ติ ตคิ ุณ นพ.เฉลิมวราวทิ ย ทปี่ รึกษา
รศ. ดร.เสาวณียร ัตนพานี ทป่ี รึกษา
ศ.เกียรติคณุ นพ. บุญเจอื ธรณินทร ประธานกรรมการ
อ.ดร.เจนวทิ ยน พวรท กรรมการและเลขานุการ
หนาท่ีกาํ กบั ควบคุม ดแู ล และรับผิดชอบดานกิจการนักศกึ ษา ดานกจิ การพิเศษดา นศิษยเกาและอื่นๆตามที่ไดรับ
มอบหมาย



๑.๗.๕ คณะกรรมการวิชาการ
ศ.เกึยรตคิ ณุ อมร ลลี ารัศมี ประธานที่ปรกึ ษา
ศ.กติ ติคณุ นพ.เฉลมิ วราวทิ ย ทีป่ รกึ ษา
รศ.ดร.เสาวณยั  รตั นพานี ทีป่ รึกษา
รองคณบดี ฝา ยวชิ าการ และวจิ ยั ประธานกรรมการ
ศ.เกียรติคุณ นพ.บญุ เจอื ธรณินทร กรรมการ
ผศ.ดร.ธิดารตั นเอกสทิ ธิกลุ กรรมการ
อ.อมรรัตนย นื ยงวัฒนกลุ กรรมการและเลขานกุ าร
อ.นันธนิดา มงคล กรรมการและผูชวยเลขานุการ
หนา ที่ ดูแลและบริหารการจดั การเรยี นการสอนและหลกั สูตรจดั ประชมุ ประจาํ ปเพอ่ื นําผลการประชุมไปประมวล/
ปรับปรุงและดําเนินการในภาคการศึกษาถัดไป ดูแลและประสานงานดานบริการวิชาการ เพ่ือใหคณาจารยสามารถจัด
กิจกรรมบริการวิชาการไดอ ยางสมํ่าเสมอ งานวชิ าการอ่นื ๆ ท่ไี ดร บั มอบหมาย
๑.๗.๖ คณะกรรมการบรหิ ารความเสย่ี ง
รศ.ดร. เสาวณยี ร ัตนพาณี ที่ปรึกษา
อ. สดุ จติ รเมืองเกษม ทปี่ รกึ ษา
รศ.ดร.เสาวณยั  รตั นพานี ประธานกรรมการ
อ.ดร.เจนวิทยนพวรท กรรมการ
อ.สริ สิ มบัตสิ นุ นท กรรมการ
ผศ.ดร.ธิดารัตนเอกสิทธกิ ลุ กรรมการ
นางสาว ปารรี ฐั วชิ ยั ดิษฐ กรรมการและเลขานุการ
หนาที่การดําเนินการในการวิเคราะห และระบุปจจัยที่กอใหเ กิดความเสย่ี งในระดบั คณะ ท้ังดานนโยบาย กฎหมาย
ระเบียบ ขอบังคับ ทรัพยากร(การเงิน งบประมาณ) และ การปฏิบตั ิงาน เพื่อแกไข ปรับปรุง ปอ งกันและพฒั นาระบบ กลไก
การบริหารความเสี่ยงของคณะใหเ หมาะสมและสอดคลองกับระบบบรหิ ารความเสี่ยงของมหาวิทยาลยั และมาตรฐานวชิ าชีพ
ตลอดจนจัดทาํ เอกสารคมู ือตางๆทีเ่ กย่ี วขอ งเพือ่ ตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพภายในระดบั คณะ
๑.๗.๘ คณะกรรมการทํานุบํารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
ศ.กติ ติคณุ นพ.เฉลมิ วราวิทย ทปี่ รึกษา
ศ.เกียรตคิ ุณ นพ.บญุ เจือ ธรณนิ ทร ประธานกรรมการ
พ.ต.อ.นพ.ฉตั รชัย องั สโุ รจน กรรมการ
ผศ.ดร. ธดิ ารตั น เอกสทิ ธกิ ลุ กรรมการ
อ.ดร. เจนวิทย นพวรท กรรมการและเลขานุการ
อ.อมรรตั น ยนื ยงวฒั นากุล กรรมการและผูช ว ยเลขานกุ าร
มหี นา ที่
๑. วางแผนและรบั ผดิ ชอบดําเนนิ การดานการทํานบุ าํ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมใหเ ปนไปตามเกณฑคุณภาพ
การศึกษา โดยเนน การบรู ณาการกบั การเรยี นการสอน บรกิ ารวิชาการและทาํ นบุ าํ รุงศิลปะ แลวัฒนธรรม
๒. กาํ กบั ติดตามและประเมนิ ผลการดาํ เนินงานดานทาํ นบุ ํารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
๓. เขียน sar และจดั ทําหลักฐานงานทํานบุ ํารุงศลิ ปวัฒนธรรม
๔. สรปุ ผลการดําเนินงานและจัดทํารายงานประจาํ ป
๕. งานอืน่ ๆทีไ่ ดร ับมอบหมาย

๑.๗.๙ คณะกรรมการเสรมิ สรา งความสุขของนักศกึ ษา ทปี่ รกึ ษา
ศ.กติ ติคณุ นพ.เฉลมิ วราวทิ ย ทปี่ รึกษา
รศ.ดร. เสาวณียร ัตนพาณี ประธานกรรมการ
รองคณบดี ฝา ยกจิ การนักศกึ ษา รองประธานกรรมการ
รองคณบดี ฝา ยวชิ าการ และวจิ ยั รองประธานกรรมการ
รองคณบดี ฝา ยบรหิ าร



รองคณบดภี าควชิ าคลนิ กิ กรรมการ
รองคณบดภี าควิชาปรคี ลินิก กรรมการ และเลขานกุ าร
๑.๘ โครงสรางองคก ร
๑.๘.๑ ผังองคก ร (Organization Chart)
๑.๘.๒ ผงั กิจกรรม (Activity Chart) จาํ แนกตามพนั ธกจิ



แผนผังโครงสรา งทางการบรหิ าร คณะแพทยศาสตร

คณบดีคณะแพทยศาสตร์

คณะกรรมการประจาํ คณะแพทยศาสตร์ รองคณบ
รองคณบดีฝ่ ายปรีคลินิก ผชู้ ่วยค
เลขานุกา
รองคณบดีฝ่ ายกิจการนกั ศึกษา
ผอู้ าํ นวยการศูนยแ์ พทยศาสตรศึกษา

สาํ นกั งานเลขานุการคณะ คณะกร

งานนโยบายและแผน ปรีคลินิก
งานธุรการ
งานกิจการนกั ศึกษา สาขากายวภิ าคศาสตร์
งานการเงิน และพสั ดุ สาขาชีวเคมี
งานทะเบียนและประมวลผล สาขาจุลชีววทิ ยา
งานประกนั คุณภาพ
สาขาพยาธิวทิ ยา
สาขาปรสิตวทิ ยา
สาขาเภสชั วทิ ยา
สาขาสรีรวทิ ยา

ผอู้ าํ นวยการ
โรงพยาบาลพระนงั่ เกลา้

บดีฝ่ ายคลินิก
คณบดี
ารคณะฯ

ภาควชิ า

รรมการประจาํ ภาควชิ า

คลินิก

สาขาอายรุ ศาสตร์ สาขาจกั ษุวทิ ยา
สาขาศลั ยศาสตร์
สาขาสูติศาสตร์-นรีเวชศาสตร์ สาขาโสต ศอ นาสิกวทิ ยา
สาขานิติเวชวทิ ยา
สาขากมุ ารเวชศาสตร์ สาขาเวชศาสตร์ป้ องกนั และสงั คม/
สาขาศลั ยศาสตร์ออร์โธปิ ดิกส์ เวชศาสตร์ครอบครัว

สาขาจิตเวชศาสตร์ สาขาเวชศาสตร์ฟ้ื นฟู

สาขาวสิ ญั ญีวทิ ยา สาขารังสีวทิ ยา



แผนผังโครงสรา งทางกา
โรงพยาบา

ารบริหาร ศูนยแ พทยศาสตรศกึ ษาชั้นคลนิ กิ
าลพระนัง่ เกลา จงั หวัดนนทบุรี

๑๐

๑.๙ ขอ มลู พนื้ ฐาน
๑.๙.๑ ขอมลู บคุ ลากรโดยรวมของคณะวชิ า

หัวขอ ขอมลู ทว่ั ไป อาจารยป ระจาํ เจาหนา ท่ี รวม
๑. เพศ ชาย ๑๓ ๗ ๒๐
๒. คณุ วุฒิ หญิง ๑๐ ๑๒ ๒๒
๒๓ ๑๙ ๔๒
๓. ตําแหนง ทาง รวม - - -
วชิ าการ ปวช. - ๑๘ ๑๘
ปรญิ ญาตรี ๔ ๑ ๕
๔. การศกึ ษาตอ ปริญญาโท ๑๙ - ๑๙
ปรญิ ญาเอก / เทียบเทา ๒๓ ๑๙ ๔๒
๑๔ ๑๔
รวม ๓ ๓
อาจารย ๓ ๓
ผูชว ยศาสตราจารย ๓ ๓
๒๓ ๒๓
รองศาสตราจารย รวม - -
ศาสตราจารย - -
ระดับปริญญาโท (ลาเตม็ เวลา...คน)
ระดับปริญญาเอก (ลาเตม็ เวลา..-...คน) -
-
รวม

รวมบุคลากรในคณะแพทยศาสตรประจําปการศกึ ษา ๒๕๕๘ ทง้ั สิ้น ๕๒ คน แบงเปน
๑. อาจารยป ระจํา ๒๓ คน
๒. แพทยป ระจาํ โรงพยาบาลพระนง่ั เกลา ท่สี มคั รเปน อาจารย ๙๓ คน (ไมนํามาคาํ นวน)
๓. เจาหนา ที่ (บคุ ลากรสายสนับสนุน) ๑๙ คน

๑.๙.๒ ขอมลู นกั ศกึ ษา จาํ นวนนักศกึ ษาทงั้ หมด จาํ นวนนักศึกษาเต็มเวลา
ระดบั / สาขาวชิ า เทยี บเทา
๑๑๓.๗๐
ระดับปรญิ ญาตรี ๑๕๑ ๑๑๓.๗๐
สาขาวิชา.แพทยศาสตร ๑๕๑

รวม

หมายเหตุ ขอ มูลจากสาํ นักทะเบียนและวดั ผล ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๘

นกั ศึกษาชนั้ ปท่ี ๑ มจี ํานวน ๔๗ คน

นกั ศึกษาชนั้ ปท ี่ ๒ และ ๓ รวมจาํ นวน ๑๐๔ คน
๑.๑๐ ปรชั ญา ปณิธาน วิสัยทศั น พันธกิจ ของคณะวชิ า

ปรัชญา: แพทยท รงภูมปิ ญ ญารอบรคู คู ณุ ธรรมดจุ รตั นแหงสยาม
ปณิธาน: มุงผลิตบัณฑิตแพทยใหเปนผูมีปญญามีความรูมีทักษะและเจตคติท่ีดีตอการใหบริการสุขภาพแบบองครวม
ครอบคลุมทง้ั การสง เสรมิ สขุ ภาพการปอ งกนั โรคการตรวจวินิจฉยั การรกั ษาและการฟน ฟสู ุขภาพของบุคคลครอบครวั และชุมชนมี
ความคิดริเริ่มสรางสรรคสามารถคิดวิเคราะหสังเคราะหอยางมีเหตุผลและเปนระบบมีทักษะในการติดตอสื่อสารและสราง
สัมพันธภาพสามารถเรียนรูและพัฒนาความรูเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่องบนความหลากหลายทางเศรษฐกิจสังคม

๑๑

วัฒนธรรมและความเช่ือตางๆโดยคานึงถึงหลักคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงามแหงวิชาชีพอันจะนาไปสูความสาเร็จในการครองตน
ครองคนและครองงาน ”

วสิ ัยทศั น: มุงมั่นผลิตบัณฑิตแพทยมาตรฐานระดับสากลทีด่ ีและเกง ใหผูปวยและชมุ ชน
พันธกิจ: ผลิตบัณฑิตแพทยท่ีมีคุณภาพระดับสากลมีคุณธรรมจริยธรรมสงเสริมงานวิจัยเพื่อประยุกตในการเรียนการ
สอนและชี้นําดา นสุขภาพแกชุมชนและสงั คมทาํ นบุ ารงุ ศลิ ปวฒั นธรรมและสิ่งแวดลอม
๑.๑๑ วตั ถุประสงคของคณะวิชา
ผลติ บณั ฑติ แพทยทม่ี คี ณุ ภาพระดบั สากลมีคุณธรรมจรยิ ธรรมรวมทง้ั มีความสามารถดา นนิตเิ วชศาสตรเ พ่อื ชวยเหลอื
และผดงุ ความยตุ ธิ รรมในสังคม
๑.๑๒ วัตถปุ ระสงคข องหลักสูตร
มุงหวงั ทีจ่ ะผลติ บณั ฑติ แพทยใหมคี ณุ ลกั ษณะดงั ตอ ไปน้ี

๑. มีคณุ ธรรม จริยธรรมและเจตคติอนั ดงี ามตอ การประกอบวชิ าชพี และตอ สงั คม
๒. มีความรูความสามารถและทักษะพื้นฐานในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยสามารถใหบริการสุขภาพ

แบบองครวม ครอบคลุมท้ังการสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การตรวจวินิจฉัย การรักษา และ การ
ฟน ฟูสุขภาพของบุคคล ครอบครวั และชมุ ชน รวมทงั้ มคี วามสามารถดานนติ เิ วชศาสตรเ พอ่ื ชว ยเหลอื และ
ผดงุ ความยตุ ธิ รรมในสังคม
๓. มีความสามารถวิเคราะหขอมูลและแกปญหาดานสุขภาพไดอยางมีเหตุผลตามกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร ครอบคลุมแงม ุมตางๆ แบบองคร วม
๔. มีเจตคติที่ดีในการศึกษาตอเน่ืองตลอดเวลา ติดตามความกาวหนาของวิทยาการใหมๆ และสามารถใน
เทคโนโลยีไดอยา งเหมาะสมและถูกกาลเทศะ
๕. มีทักษะการสื่อสารกับคนทุกกลุมอายุ ทั้งดานการฟง พูด เขียนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษและการ
ทาํ งานเปน คณะ
๖. มีความสามารถผสมผสานและประยกุ ตค วามรูความสามารถทางวชิ าการแพทยกับวชิ าการแขนงตา งๆ ใน
การปฏบิ ตั ิงานและการใหบรกิ ารดานสุขภาพแกป ระชาชน มมี นุษยสัมพันธดี และสามารถทาํ งานรวมกับ
บคุ ลากรสาขาวิชาชพี อ่นื ไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ
๗. มีทัศนคติเชิงบวก รูเทาทันตอบริบททางสังคม กฎระเบียบ กฎหมาย และนโยบายสาธารณะตางๆที่
ควบคุมกากับการประกอบวิชาชพี เวชกรรมทัง้ ในปจ จบุ ันและทีจ่ ะมขี ึ้นในอนาคต
๑.๑๓ คุณลักษณะของบัณฑิตทพี่ งึ ประสงคข องคณะวิชา
๑. เปน ผมู คี วามเปน เลศิ ทางวิชาการและวชิ าชีพเปน ทย่ี อมรบั ในระดบั สากล
๒. เปน ผมู ีคณุ ธรรม จริยะรรม และเจตนคติอนั ดีงามตอการประกอบวิชาชีพ รวมทง้ั สามารถครองตนใน
สงั คมไดอยางเหมาะสม
๓. สามารถวิเคราะหแ ละสังเคราะหค วามรูเพื่อนาํ ไปประยกุ ตแกปญ หาในชวี ิตประจาํ วันได
๔. มีความคิดริเรมิ่ สรา งสรรคแ ละพฒั นาตนเองไดอ ยา งตอเนื่อง
๕. ตระหนกั ในคณุ คา ของศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ รวมท้ังยอมรบั ในความหลากหลายของวฒั นธรรม
๖. สามารถใชภ าษาทเี่ ปนภาษาสากลอยางนอ ย ๑ ภาษา
๗. มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ
๘. มวี ินัยและคา นยิ มท่เี หมาะสมในการดาํ เนินชวี ิต
๙. มีความสามารถในการใชความรดู า นนติ เิ วชศาสตรไดด ี

๑๒

๑.๑๔ นโยบายคณะวิชาดา นตางๆ
ดานการจดั การเรียนการสอน
คณะแพทยศาสตรมนี โยบายการจดั การเรียนการสอนท่ใี หนกั ศกึ ษาแพทยมคี วามรูความสามารถในการประกอบวิชา

เวชกรรมทสี่ อดคลองกับการเปลยี่ นแปลงไปในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยมแี นวทางในการดําเนนิ การดังตอไปนี้
๑. การจดั การเรยี นการสอนทุกรายวชิ าดาํ เนินไปตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอดุ มศึกษาของสาํ นกั งาน
คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาและเกณฑค วามรูความสามารถในการประเมนิ เพอ่ื รับใบอนญุ าตเปนผู
ประกอบวชิ าชพี เวชกรรม พ.ศ.๒๕๕๕ของแพทยสภา รวมทง้ั มาตรฐานในระดบั สากลทเี่ กยี่ วขอ งเชน
World Federal for Medical Education(WFME)
๒. จัดการเรียนการสอนท่เี นนผูเรยี นเปนสําคัญและการประเมินผลใหเ ปน ไปตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษา
แหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒
๓. เนน ภาษาองั กฤษโดยการจัดทํา มคอ.๓ รายละเอยี ดการสอน ตาํ รา และ Assignment reading เปน
และขอสอบ เปนภาษาองั กฤษ
๔. การเรยี นรูของนักศกึ ษาเปน แบบเรยี นรดู วยการคน ควา ดวยตนเอง โดยดําเนนิ การสอน TBL, PBL และ
PrBL.
๕. การพฒั นาหลกั สตู รเปนแบบบูรณาการทุกรายวชิ าเขาไปในการเรยี นแตละระบบของรา งกาย
ตัวอยา งเชน ระบบผวิ หนงั และสิ่งหอ หุม รา งกาย จะรวมตัง้ แต Embryology Anatomy Physiology
Microbiology Pathology Pharmacology Holistic care และ Forensic science ซ่งึ ดาํ เนินการ
เชนน้ีทกุ ระบบ เพ่อื ใหม คี วามเกย่ี วพันกนั ของแตล ะวชิ าในระบบเดียวกนั เพิ่มสมรรถนะทางดา นความรู
ในการประกอบวิชาชพี เวชกรรม การใหบรกิ ารสขุ ภาพแบบองคร วม และความสามารถดา นนิติเวช
ศาสตรซ่ึงเปน ไปตามคณุ ลกั ษณะพเิ ศษของนกั ศึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั สยาม
๖. จดั ใหม ีการประชุมประจําปเ พื่อสรปุ ทบทวน ปรบั ปรุงและพัฒนาผลการดําเนนิ การจดั การเรียนการ
สอนของทกุ รายวชิ าเปน ประจาํ ทุกป
๗. จดั ประชมุ แพทยศาสตรศึกษารว มกับโรงพยาบาลพระน่งั เกลา เพ่ือพฒั นาศกั ยภาพดา นการเรยี นการ
สอนเปนประจําทกุ ป

ดา นวชิ าการและ ดานการวจิ ัย
คณะแพทยศาสตรมีนโยบายดา นวชิ าการและการวจิ ยั ที่ใหค ณาจารยม ีความรคู วามสามารถดานวิชาการและการศึกษา
เพื่อสรา งนกั ศึกษาแพทยใ หเปน บณั ฑิตทม่ี คี ุณลักษณะตามท่กี ําหนดจงึ มแี นวทางในการดําเนนิ การตามภาระหนาท่ีดังน้ี

๑.คัดสรรนักศึกษาทม่ี ีศกั ยภาพในการศึกษาวชิ าแพทยศาสตร
๒.พัฒนาศักยภาพอาจารยใหเปนครทู ด่ี ีและสามารถผลติ ผลงานวิชาการทมี่ ปี ระโยชนตอ การ เรียนการ
สอนวชิ าชีพและสงั คม
๓.สงเสรมิ และพฒั นาดา นการบริการวชิ าการเพ่อื ใหเ ปน ผนู าํ ดานการบรกิ ารวิชาการแกส ังคมและชวยชี้นสังคม
๔.สง เสรมิ สนับสนุนงานวจิ ยั ทีม่ ีคณุ คา มีประโยชนตอการเรียนการสอนสงั คมและเปนทยี่ อมรับในระดบั ชาและ
นานาชาติ
๕. สงเสรมิ และพัฒนาศักยภาพอาจารยดา นงานวจิ ยั งานสรางสรร จรรยาบรรณการวจิ ยั และ การตพี มิ พ
เผยแพรงานวิจยั
ดานกจิ การนักศกึ ษา
คณะแพทยศาสตรม ีนโยบายในการสงเสรมิ สนับสนุนความสําเรจ็ ทางการศึกษาการเสรมิ สรา งคุณคาชวี ติ ตลอดจน
แนะแนวทางวชิ าชพี แกน กั ศกึ ษาแพทย โดยดําเนนิ นโยบายดงั ตอไปน้ี
๑. กระตุน และสง เสรมิ กจิ กรรมนอกหลกั สตู รเพอ่ื พัฒนาตนเองของนักศึกษา เชน กิจกรรมจติ อาสา กจิ กรรม

นนั ทนาการ เพอ่ื พฒั นาทักษะทางดา นจริยธรรม ศลี ธรรม และวฒั นธรรม
๒. จดั หาสวสั ดกิ ารและบรกิ ารใหน กั ศึกษาอยางพอเพียง เชน อุปกรณและบรกิ ารดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ

คาํ ปรกึ ษาแนะนาํ เพื่อสรางบรรยากาศการเรียนรทู เ่ี รา ใจ โดยเนน ระบบการศึกษาดวยตนเอง
๓. ชวยพฒั นาและสงเสริมนกั ศกึ ษาใหม สี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี ตลอดจนมีทักษะทางสังคมที่โดดเดน

๑๓

๔. สนบั สนุนการเสรมิ สรางวฒั นธรรมและคา นยิ มของมหาวทิ ยาลัยสยาม ตลอดจนปลูกฝงจารีต ประเพณอี ัน
ดีงามขององคกรแกนกั ศึกษา

๕. พฒั นาสง เสริมนกั ศึกษาใหม ีความรูความสามารถดา นการเรยี นรใู นระดบั อดุ มศกึ ษา

ดานบรหิ ารจดั การ
คณะแพทยศาสตรม นี โยบายและแนวทางในการบริหารจดั การคณะดงั ตอ ไปน้ี

๑. ดานการบริหารจดั การท่วั ไป มกี ารจัดระบบและกลไกเพ่อื สนับสนุนการปฎิบัติงานตามพนั ธกิจของคณะ
๒. ดานการบรหิ ารงานบุคคลมรี ะบบพฒั นาอาจารย และบคุ ลากรสายสนบั สนนุ วชิ าการโดยจัดใหมี

๒.๑ ศกึ ษาตอเพอื่ ปริญญา
๒.๒ อบรมและพฒั นาคณาจารยแ ละบคุ ลากรสายสนับสนนุ วชิ าการทัง้ ระยะส้นั และ
ระยะยาวรวมทั้งรว มประชุมและเสนอผลงานทางวชิ าการทงั้ ในและ ตา งประเทศ

อยางตอเนือ่ งและสมาํ่ เสมอ
๒.๓ สนับสนุนคณาจารย บคุ ลากรสายสนบั สนนุ วชิ าการและนักศกึ ษาใหม คี วามรู

ความสามารถดา นภาษาองั กฤษเปน สอ่ื ทางการศึกษาโดยคณะไดตัง้ หนวยพฒั นา
ภาษาองั กฤษเพ่ือทําหนา ท่ี จดั ทําหลกั สตู ร จัดการอบรมและพัฒนาภาษาองั กฤษ
ใหแกอาจารยและนักศกึ ษาแพทยอ ยา งสมํ่าเสมอและตอ เนือ่ งเพ่ือรองรับการ
พัฒนาหลกั สตู รไปสูก ารเปน นานาชาติ
๒.๔ มหี นว ยนวัตกรรมแพทยศาสตรศึกษาและวิจยั เพอื่ ทาํ หนาทีส่ นบั สนนุ การ
ดําเนินงานของฝายวชิ าการและวจิ ัย รวมทั้งประสานผเู ชี่ยวชาญทางดานวิชาการ
และการศกึ ษาเพื่อชว ยพฒั นางานตา งๆของคณะ
๒.๕ จดั สวสั ดกิ ารของบคุ ลากรตามนโยบายของมหาวทิ ยาลัย รวมทง้ั กําหนดใหม ี
การตรวจสขุ ภาพประจาํ ปใ หแกบคุ ลากรทไ่ี มมสี วสั ดกิ ารจากแหลงสวัสดิการอื่น ทัง้ นใี้ ห
เปนไปตามหลกั เกณฑก ารตรวจสขุ ภาพของทางราชการ
๒.๖ มีการประกาศเกยี รตคิ ณุ แกค ณาจารย บุคลากรสายสนับสนนุ วชิ าการและนักศกึ ษาทม่ี ี
คุณธรรม จรยิ ธรรมสมควรเปน แบบอยา ง
๓. ดา นนโยบายและแผน
ดาํ เนินการตามนโยบายและแผนทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารคณะมีมติกําหนดไว
๔. ดานการประชาสมั พันธ
ดาํ เนนิ การใหม ีการประชาสมั พันธ์ิกจิ กรรม และผลการดาํ เนนิ งานของคณะแพทยศาสตร
๕. ดา นวิเทศสมั พันธ
ติดตอ ประสานงานกับตางประเทศ นักวิชาการตางประเทศเพอ่ื สนับสนนุ พันธกิจของ คณะ
๖. ดานสารสนเทศ
จดั ใหมสี อ่ื สารสนเทศ เพอื่ สนับสนนุ การบรหิ ารงาน เพือ่ การตดั สนิ ใจในการบริหารงาน การเรยี น
การสอนและการวิจยั อยางเหมาะสม
๗. ดา นการประกันคณุ ภาพการศึกษา
๗.๑ กาํ หนดใหมกี รรมการประกันคุณภาพการศกึ ษา ควบคุมใหม ีการปฏิบัติ สอดคลองกับการ
ดาํ เนินการดา นประกนั คณุ ภาพของมหาวิทยาลยั และกสพท. และ WFME
๗.๒ พัฒนาและปรบั ปรุงมาตรฐานคณุ ภาพ และองคประกอบท่เี กย่ี วขอ ง เขา สเู กณฑร างวัล
คุณภาพแหงชาติ (Thailand Quality Award:TQA)/เกณฑร างวัลคณุ ภาพการศึกษาเพอ่ื การ
ดําเนินการที่เปนเลศิ (Education Criteria for Performance Excellence - EdPEx) และ
เกณฑม าตรฐานโรงเรียนแพทย World Federation for Mrdical Education (WFME)
๗.๓ วางแผนงานและกาํ หนดกิจกรรม เพอื่ สนบั สนนุ ใหค ณะดําเนนิ การไปสูม าตรฐานเกณฑ
คณุ ภาพในระดบั ชาต/ิ นานาชาติ
๗.๔ วางแผนงานการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งาน เพ่ือนาํ มาปรบั ปรงุ พฒั นาระบบ
คุณภาพของคณะ ใหน าํ ไปสูเกณฑม าตรฐานคณุ ภาพระดับชาติ/นานาชาติ

๑๔

๘. ดา นการบริหารความเสีย่ งและการจัดการความรู
กําหนดใหมีคณะกรรมการบริหารความเสยี่ ง เพอ่ื ดําเนนิ การบริหารใหเ ปน ไปกาํ หนด

ดา นทํานบุ ํารงุ ศิลปวัฒนธรรม
คณะแพทยศาสตรม ีนโยบายสรางสรรกจิ กรรมจติ สาธารณะและกิจกรรมทาํ นุบาํ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมเพอ่ื ชุมชนดวย
จรรยาบรรณของแพทย โดยดําเนนิ นโยบายดังตอไปนี้

๑. เพอื่ อนุรกั ษ สง เสรมิ พัฒนาศิลปวฒั นธรรมและส่งิ แวดลอ ม
๒. รณรงคและปลูกฝง ใหน ักศึกษาและบคุ ลากรในคณะ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ความ

เคารพในศกั ดิ์ศรคี วามเปนมนษุ ยความรบั ผดิ ชอบและความเออื้ อาทร ตลอดจนมคี วามภาคภูมใิ จในการ
ประพฤตติ ามแบบแผนวัฒนธรรมอนั ดีงามของไทย
๓. ใหน ักศึกษาและบคุ ลากรมีโอกาสแสดงความสามารถหรอื สนุ ทรียภาพทางดา นศลิ ปวัฒนธรรมตอชมุ ชน
๔. ศกึ ษาและวิจยั ดานวชิ าชีพและชมุ ชน เพ่ือนําไปประยุกตใ หเกดิ ประโยชนต อศิลปวฒั นธรรมของชุมชน
และของชาติ

๑.๑๕ แผนงานโครงการ และระยะเวลาการดําเนินโครงการ

ลาํ ดบั ที่ ชือ่ โครงการ ระยะเวลาดําเนนิ การ การดําเนินการ
ภาคเรียน ภาคเรยี น เสรจ็ กาํ ลงั ยงั ไมไ ด ยกเลิก
ท่ี ๑ ท่ี ๒ สิ้น ดําเนนิ กา ดาํ เนินกา โครงการ
แลว ร ร
คพท.๑-๐๑ โครงการพัฒนานักศกึ ษาดานวิชาการวชิ าชพี √ √√

คพท.๑-๐๒ โครงการพัฒนาดา นวิชาการอาจารยท ี่ปรึกษา √ √√
และ พัฒนาทกั ษะท่ีจาํ เปน ในศตวรรษท่ี 21 √
คพท.๑-๐๓ โครงการสงเสรมิ พัฒนาคณุ ลักษณะบณั ฑติ ที่ √ √√
คพท.๒-๐๑ พึงประสงค √ √
คพท.๒-๐๒ โครงการเตรยี มความพรอ มเพือ่ เปน แพทยท ่ดี ี √ √
คพท.๒-๐๓ และเกง สาํ หรับผปู ว ยและชมุ ชน √ √
คพท.๒-๐๔ โครงการเตรยี มความพรอ มสาํ หรบั การเรยี น √ √
คพท.๒-๐๕ ช้นั ปรีคลินิก √
โครงการปฐมนเิ ทศนักศกึ ษา ชั้นปท่ี ๑ - ๓ √
คพท.๓-๐๑ โครงการปรบั พื้นฐานทักษะการใช √ √√
คพท.๔-๐๑ ภาษาองั กฤษนักศึกษาแพทยชัน้ ปท ี่ ๑ √ √
คพท.๔-๐๒ โครงการอบรมและทดสอบCUTep เพอ่ื วัด
คพท.๖-๐๑ ความสามารถในการใชภ าษาอังกฤษเพื่อ ๑๕ √√
การศกึ ษา √√
โครงการการใหบริการสิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรู
โครงการสรรหาพฒั นาอาจารยใ หม คี ณุ วุฒิ
ความเชย่ี วชาญตามจดุ เนนของหลกั สูตร
โครงการพฒั นาอาจารยดา นการวจิ ัย/
นวัตกรรม
โครงการเผยแพรอ งคความรแู ละถา ยทอด
เทคโนโลยใี นการบรกิ ารวชิ าการและบูรณา
การเขากับการเรียนการสอน

คพท.๘-๐๑ โครงการพฒั นาระบบฐานขอ มลู และ √√ √
สารสนเทศ
คพท.๘-๐๒ โครงการบรหิ ารความเส่ียง √√ √
คพท.๘-๐๓ โครงการจดั การความรู √√ √
คพท.๙-๐๑ โครงการทาํ นุบาํ รงุ /สบื สานศลิ ปวฒั นธรรม √ √√
รว มกบั ชุมชน
-
รวมทง้ั สิ้น ๑๕ ๑๐ ๑๒ ๕

๑.๑๖ งบประมาณดําเนินการโครงการ

ลาํ ดบั ท่ี ชื่อโครงการ งบประมาณ
จํานวนเงินท่ี จํานวนเงินท่ี
คพท.๑-๐๑ โครงการพัฒนานักศกึ ษาดา นวชิ าการวชิ าชีพ ไดรบั การอนุมัติ เบกิ จายจรงิ
คพท.๑-๐๒ โครงการพัฒนาดา นวชิ าการอาจารยท ป่ี รึกษา และ พฒั นาทักษะที่จาํ เปน ในศตวรรษที่21 ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐
คพท.๑-๐๓ โครงการสงเสริมพัฒนาคณุ ลักษณะบณั ฑติ ที่พึงประสงค --
คพท.๒-๐๑ โครงการเตรยี มความพรอ มเพอ่ื เปน แพทยท ด่ี แี ละเกง สาํ หรับผปู ว ยและชมุ ชน ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐
คพท.๒-๐๒ โครงการเตรยี มความพรอมสาํ หรบั การเรยี นชนั้ ปรีคลนิ กิ ๓๕๐,๐๐๐ ๓๕๗,๕๘๗.๗๔
คพท.๒-๐๓ โครงการปฐมนเิ ทศนักศกึ ษา ชั้นปท่ี ๑ - ๓ ๕๐,๐๐๐ ๒๘,๐๐๐
คพท.๒-๐๔ โครงการปรบั พนื้ ฐานทกั ษะการใชภ าษาอังกฤษนกั ศกึ ษาแพทยช ั้นปท่ี ๑ ๖๐,๐๐๐ ๓๗,๖๕๐
คพท.๒-๐๕ โครงการอบรมและทดสอบCUTep เพ่ือวัดความสามารถในการใชภาษาอังกฤษเพือ่ ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐
คพท.๓-๐๑ การศึกษา ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐
คพท.๔-๐๑ โครงการการใหบริการสิง่ สนบั สนนุ การเรยี นรู
คพท.๔-๐๒ โครงการสรรหาพัฒนาอาจารยใหม คี ณุ วุฒคิ วามเชย่ี วชาญตามจดุ เนน ของหลกั สูตร ๕๐๐,๐๐๐ ๒๕๐,๐๐๐
คพท.๖-๐๑ โครงการพฒั นาอาจารยด า นการวจิ ัย/นวตั กรรม ๕๐,๐๐๐ ๕๑,๑๓๕.๓๐
โครงการเผยแพรองคค วามรูและถา ยทอดเทคโนโลยใี นการบรกิ ารวชิ าการและบูรณาการ
คพท.๘-๐๑ เขากบั การเรยี นการสอน - -
คพท.๘-๐๒ โครงการพัฒนาระบบฐานขอ มลู และสารสนเทศ ๓๐,๐๐๐ -
โครงการบริหารความเส่ยี ง
--
--

คพท.๘-๐๓ โครงการจดั การความรู - -
คพท.๙-๐๑ โครงการทาํ นบุ ํารุง/สบื สานศลิ ปวฒั นธรรมรว มกับชุมชน ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐

รวม ๑,๐๘๕,๐๐๐ ๗๖๙,๓๗๓

คดิ เปนรอ ยละ ๗๒.๙๒
ของงบประมาณ ของคา ใชจาย
ทั้งหมด ทั้งหมด

รวมงบประมาณทง้ั หมด = ๑,๐๘๕,๐๐๐ บาทใชจ ริง ๗๖๙,๓๗๓ บาท

๑๖

๑.๑๗ เอกลกั ษณหรอื วฒั นธรรมของคณะ
วฒั นธรรมองคก ร“รบั ผิดชอบสภุ าพซือ่ สตั ยเปน จรยิ วตั รของชาวคณะแพทยสยาม”

๑. รบั ผิดชอบหมายถงึ รว มทางานและผลกั ดันใหงานเปนไปตามเปาหมายขององคกร
คณุ ลักษณะเชิงพฤติกรรมผูทีม่ ีความรบั ผิดชอบคือผทู ่สี ามารถปรับลกั ษณะนสิ ยั เจตคตขิ องตนเพอ่ื เปน เคร่อื งผลักดันให
ปฏบิ ัติงานตามระเบยี บรูจักเคารพสทิ ธขิ องผอู ืน่ ปฏิบตั ิงานในหนา ท่ีที่ตอ งรับผดิ ชอบดว ยความซ่ือสัตยสุจริตทางานรว มกันดว ย
ความราบรืน่ สงผลใหการปฏบิ ตั ิงานไปสูเ ปา หมายที่วางไว
๒. สภุ าพหมายถึงสภุ าพออนนอมตอ เพ่ือนรว มงานผูปว ยและบุคคลทั่วไป
คุณลักษณะเชงิ พฤติกรรมผูท ม่ี คี วามสภุ าพคอื ผูท ่อี อ นนอมถอ มตนตามสถานภาพและกาลเทศะไมก าวรา วรุนแรงวางอานาจ
ขม ขูผอู ื่นท้ังโดยวาจาและทา ทางแตใ นเวลาเดียวกนั ยงั คงมคี วามมัน่ ใจในตนเองเปน ผูมมี ารยาทวางตนเหมาะสมตาม
วัฒนธรรม
๓. ซื่อสตั ยห มายถึงซ่ือสตั ยต อ ตนเององคก รและสว นรวม
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมผทู มี่ ีความซอ่ื สตั ยค อื ผทู ม่ี คี วามประพฤตติ รงทั้งตอหนา ทแ่ี ละตอ วชิ าชพี ตรงตอเวลาไมใ ชเ ลหกลโกง
ทง้ั ทางตรงและทางออ มรับรูห นาทขี่ องตนเองและปฏบิ ัตอิ ยา งเตม็ ที่ถูกตอ ง
๑.๑๘ ผลการปรบั ปรุงตามขอ เสนอแนะของผลการประเมนิ ปท ผี่ า นมา

คณะแพทยศาสตรไ ดป รบั ปรงุ ตามขอ เสนอแนะของผลการประเมินในภาคการศึกษาท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๕๘ ทผ่ี าน
มาดงั นี้

๑๗

องคป ระกอบที่ ๑ การผลิตบณั ฑิต
จดุ ทค่ี วรพฒั นา แนวทางการพัฒนา
(คาํ แนะนาํ ผปู ระเมิน) (คําแนะนําผูประเมนิ ) แผนงาน (สงสาํ นักแผน) การดาํ เนนิ การ
1.การบรหิ ารจัดการ 1.อาจารยพ รีคลนิ ิกนอยสาขา แผน๕แผนการปรับปรุง 1.รับอาจารยประจําเพม่ิ
หลกั สตู ร พยาธวิ ทิ ยา ระบบการบรหิ ารจดั การใน -พยาธิแพทย๑ คน
ระดบั หลกั สตู รภาควชิ าและ -อาจารยทางดา นกายวภิ าค ๒ คน
คณะ -อาจารยทางเภสชั วิทยา ๑ คน

2.การพฒั นาอาจารยเ นนเรือ่ ง 2 .อ า จ า ร ย 2 ท า น ทํ า ก า ร วิ จั ย
การเรยี นการสอนขาดการ โครงการวิจัยเร่ือง การทํานายผลการ
พฒั นาและการสนับสนุนการ สอบ national licensing exam ขั้นท่ี
วจิ ัยทางวิชาชีพ ๑ จากคะแนนสะสมท่ีไดจากการสอบ
3.ขาดบคุ ลากร สายสนบั สนุน ขอ สอบแบบ MCQ ครั้งละ ๕ ขอ ในเวลา
คอื นกั วชิ าการศึกษาท่จี ะมาชวย ๐๘:๐๐ ถึง ๐๘:๑๐ น. ในวิชาที่สอนใน
work load เชน การตัดเกรด ชั่วโมงแรกของแตละวัน ระยะเวลาการ
การจดั ทาํ มคอ. ทําวิจัย ระหวาง เดือนสิงหาคม ๒๕๕๘
4.การไปเขารวมประชมุ วิชาการ ถึง เดือนเมษายน ๒๕๕๙ไดรับทุนวิจัย
ระดับชาติ / นานาชาติ ของ จาก ทุ น วิจัยน ายแ พ ท ยป ระเส ริฐ
อาจารยย ังคอ นขางนอ ย ประสาททองโอสถ
3.ดว ย นโยบายของคณะแพทยศาสตร
การตดั เกรด และ การจดั ทาํ มคอ.3
และ 5 เปนภาระของอาจารยผ สู อน
4.คณะสนบั สนนุ ใหอ าจารยเ ขา เสนอ
ผลงานในการประชุมแพทยศาสตรศกึ ษา
ทุกป และประชุมในสาขาที่เกยี่ วขอ งใน
ปท ่ีผา นมาพบวา อาจารยและเจาหนา ท่ี
สายสนบั สนุน เขารวมประชมุ มากขึ้น
ตามลาํ ดบั เอกสารหมายเลข F. ๕๘-
๔.๔.๑.๓.๗

๑๘

สว นท่ี ๒
รายละเอียดของการประเมนิ ตนเองตามตัวบง ชี้
ของสาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา (สกอ.)

องคประกอบท่ี๑
การผลิตบณั ฑิต

ระบบและกลไก
พนั ธกจิ ที่สาํ คัญที่สุดของคณะ คอื การผลิตบัณฑิต หรือการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหผูเ รียนมีความรูในวชิ าการ

และวชิ าชีพ มคี ณุ ลักษณะตามหลักสตู รท่กี ําหนด การเรียนการสอนในยคุ ปจจบุ นั ใชหลักการของการจัดกระบวนการเรยี นรทู ีเ่ นน
ผูเรยี นเปนสําคัญ ดังนน้ั พันธกจิ ดงั กลาวจงึ เกี่ยวของกับการบริหารจัดการหลักสูตรและการเรียนการสอน เร่ิมตัง้ แตก ารกาํ หนด
ปจจัยนําเขาท่ีไดมาตรฐานตามที่กําหนด ประกอบดวยการมีอาจารยท่ีมีปริมาณและคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตร มี
กระบวนการบรหิ ารจดั การการเรียนการสอนทอี่ าศยั หลกั การรวมมือรวมพลงั ของทุกฝา ยท่เี กยี่ วของทง้ั ภายในและภายนอกคณะ

การประเมินผลตามองคป ระกอบ เกณฑในการประเมนิ ผลประเมิน

ตัวบง ช้ี ๑๒ ๓ ๔ ๕ ตนเอง

1.1) ผลการบรหิ ารจัดการหลักสตู รโดยรวม ผลรวมของคา คะแนนประเมนิ ของทกุ หลกั สตู ร ๓.๗๒
จาํ นวนหลักสตู รท้งั หมดที่คณะรับผดิ ชอบ
1.2) อาจารยประจาํ คณะท่ีมคี ณุ วุฒปิ รญิ ญาเอก โดยการแปลงคา รอยละของอาจารยป ระจาํ ท่ีมีคณุ วุฒปิ รญิ ญาเอก ๕
เปนคะแนนระหวาง ๐-๕ (รอยละ ๘๒.๖๑)
1.3) อาจารยป ระจาํ คณะที่ดาํ รงตาํ แหนงทาง โดยการแปลงคารอยละของอาจารยท ่ีดาํ รงตําแหนงวิชาการ ๓..๒๖
วิชาการ เปน คะแนนระหวาง ๐-๕ (รอ ยละ ๓๙.๑๓)
1.4) จาํ นวนนักศกึ ษาเตม็ เวลาเทยี บเทา ตอ โดยการแปลงคา รอ ยละของความแตกตางของสดั สวนนกั ศึกษาเตม็
จํานวนอาจารยป ระจาํ เวลาตามเกณฑมาตรฐานกับทเ่ี ปนจรงิ เปนคะแนนระหวา ง ๐-๕ ๑.๗๕

1.5) การบรกิ ารนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี มีการ มีการ มีการ มีการ มกี าร ๓
ดําเนินงาน ดําเนนิ งาน๒ ดาํ เนินงาน๓ ดาํ เนนิ งาน ดําเนินงาน (๕ ขอ)
๑ ขอ ขอ – ๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ ยังไมมีศษิ ยเ กา
1.6) กิจกรรมนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี มีการ มกี าร มีการ มกี าร มกี าร
ดําเนินงาน ดาํ เนินงาน๒ ดาํ เนินงาน๔ ดําเนินงาน ดาํ เนนิ งาน ๕
๑ ขอ – ๓ ขอ – ๕ ขอ ๖ – ๗ ขอ ครบ ๖ ขอ (๖ ขอ)

ผลการประเมินองคประกอบท่ี ๑ ๒๑.๗๑ / ๓.๖๒


๑๙

ตวั บง ชี้ที่ ๑.๑
ผลการบริหารจัดการหลักสตู รโดยรวม

เกณฑม าตรฐานและขอ มูลหลกั ฐานประกอบการประเมิน
๑. รายชอ่ื หลกั สตู ร
ช่ือขอมูลพน้ื ฐาน คาคะแนนประเมนิ
๑. รายชอ่ื หลกั สูตรมี ๑ หลักสตู ร
๑.๑ หลักสตู ร แพทยศาสตรบัณฑติ ๓.๗๒
ผลรวมของคาคะแนนประเมินของทุกหลักสตู ร =๓.๗๒

ขอมลู หลกั ฐานประกอบการประเมิน ผลการดําเนินงาน
เกณฑมาตรฐาน ขอ มูลหลกั ฐาน
คาเฉล่ียของระดับคุณภาพของทุก คณ ะแพทยศาสตรมีหลักสูตรปริญญ าตรี เอ ก ส า ร ก า ร ป ร ะ เมิ น ร ะ ดั บ
หลักสตู รท่ีคณะรบั ผิดชอบ หลักสูตรเดียว ไมมีหลักสูตรปริญญาโทหรือ หลกั สตู ร
หลักสูตรปริญญาเอก (เอ ก ส า ร ห ม า ย เล ข F๕ ๘ -
มผี ลคะแนนประเมนิ หลักสูตร = ๓.๓๙ ๑.๑.๑.๑.๗)

สตู รการคาํ นวณ ผลรวมของคาคะแนนประเมินของทกุ หลกั สูตร
คะแนนทไ่ี ด = จาํ นวนหลกั สตู รท้งั หมดที่คณะรบั ผดิ ชอบ

= ๓.๗๒ = ๓.๗๒


ผลการประเมินตนเองในปน ้ี ผลการดาํ เนนิ การ คะแนนประเมนิ ตนเอง การบรรลุเปาหมาย
เปา หมาย ๓.๗๒ ๓.๗๒ บรรลุ
๓.๕

ผลการประเมนิ ของคณะกรรมการในปน*้ี คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ การบรรลุเปา หมาย
เปาหมาย ผลการดําเนนิ การ ๓.๗๒ บรรลุ
๓.๕ ๓.๗๒
* เพ่มิ ตารางนีเ้ มือ่ ปรับเลมหลงั การประเมิน

๒๐

ตัวบง ชีท้ ่ี ๑.๒ ขอมูล
อาจารยป ระจําคณะที่มคี ุณวฒุ ิปริญญาเอก ๒๓
COMMON DATA SET -
๒. คุณวุฒิของคณาจารย ๕
๑๙
ช่ือขอ มูลพนื้ ฐาน ๘๒.๖๑
๒.๑ จํานวนอาจารยป ระจําทัง้ หมด รวมทง้ั ท่ีปฏบิ ัติงานจรงิ และลาศกึ ษาตอ
๒.๑.๑ จํานวนอาจารยป ระจาํ ท้งั หมดที่ปฏิบตั งิ านจรงิ และลาศกึ ษาตอ วฒุ ปิ รญิ ญาตรหี รือเทียบเทา
๒.๑.๒ จาํ นวนอาจารยป ระจาํ ทงั้ หมดที่ปฏบิ ตั งิ านจรงิ และลาศกึ ษาตอ วุฒปิ ริญญาโทหรือเทียบเทา
๒.๑.๓ จํานวนอาจารยป ระจาํ ท้ังหมดทีป่ ฏบิ ัติงานจริงและลาศึกษาตอ วุฒิปรญิ ญาเอกหรอื เทยี บเทา
๒.๒ รอ ยละของอาจารยประจาํ ทมี่ คี ุณวุฒิปรญิ ญาเอกหรือ เทียบเทา

ขอมลู หลกั ฐานประกอบการประเมนิ
เกณฑม าตรฐาน ผลการดําเนินงาน ขอ มลู หลกั ฐาน
คารอยละของอาจารยป ระจําที่มีคณุ วุฒิ คณะแพทยศาสตรมีอาจารยประจาํ ที่มคี ุณวฒุ ิ ๑.๒.๑รายช่ืออาจารยประจําท่ีมี
ปรญิ ญาเอกทีก่ าํ หนดใหเปนคะแนนเตม็ ปรญิ ญาเอกจํานวน๒๒คน คุณ วุฒิ ป ริญ ญ าเอกของคณ ะ
๕ = รอยละ ๔๐ ข้นึ ไป จากอาจารยประจาํ ทั้งส้ิน ๒๗ คน มคี าเทา กับ แพทยศาสตร ปการศึกษา๒๕๕๘
รอ ยละ๘๑.๔๘ ซึง่ ไดค ะแนนเทากบั ๕ (ที่ รับ ก ารป ระ เมิ น )(เอ ก ส าร
หมายเลข F๕๘-๑.๑.๑.๑.๑)

สตู รการคํานวณ
๑. คาํ นวณคารอ ยละของอาจารยประจําทม่ี คี ณุ วุฒปิ ริญญาเอก

รอ ยละของอาจารยป ระจําที่มีคณุ วฒุ ิปริญญาเอก = จาํ นวนอาจารยป ระจําทม่ี คี ณุ วฒุ ปิ ริญญาเอก x ๑๐๐
จํานวนอาจารยประจําทัง้ หมด

= ๑๙ x ๑๐๐ = ๑๙๐๐
๒๓

๒. แปลงคา รอยละทคี่ ํานวณไดในขอ ๑ เทยี บกับคะแนนเต็ม ๕

คะแนนท่ไี ด = รอยละของอาจารยป ระจาํ ท่ีมคี ณุ วุฒปิ รญิ ญาเอก x ๕
รอ ยละของอาจารยประจําท่ีมคี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญาเอกทกี่ ําหนดใหเ ปนคะแนนเตม็ ๕

= ๘๒.๖๐ x ๕ = ๘๒.๖๐๕ คะแนน


ผลการประเมินตนเองในปนี้ ผลการดาํ เนนิ การ คะแนนประเมนิ ตนเอง การบรรลเุ ปาหมาย
เปา หมาย ๕ ๕ บรรลุ


ผลการประเมินของคณะกรรมการในปน *้ี
เปาหมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ การบรรลุเปา หมาย
๕๕ ๕ บรรลุ
* เพมิ่ ตารางนี้เม่ือปรบั เลม หลังการประเมิน

๒๑

ตัวบงชี้ท่ี ๑.๓ ขอ มูล
อาจารยป ระจําคณะทด่ี าํ รงตําแหนง วชิ าการ ๑๐
COMMON DATA SET -
๓. ตําแหนง วชิ าการของคณาจารย ๔
๑๐
ชือ่ ขอมูลพนื้ ฐาน ๓
๓.๑ จาํ นวนอาจารยประจําท้งั หมดทีด่ ํารงตาํ แหนงอาจารย -
๓.๑.๑ จํานวนอาจารยประจาํ (ท่ีไมมตี ําแหนงทางวชิ าการ) ท่ีมวี ฒุ ิปรญิ ญาตรี หรอื เทยี บเทา -
๓.๑.๒ จํานวนอาจารยประจํา (ท่ีไมมตี ําแหนงทางวิชาการ) ท่ีมวี ุฒิปรญิ ญาโท หรอื เทยี บเทา ๓
๓.๑.๓ จาํ นวนอาจารยป ระจํา (ทไ่ี มม ตี ําแหนง ทางวชิ าการ) ทม่ี ีวุฒิปรญิ ญาเอก หรอื เทียบเทา ๓
๓.๒ จํานวนอาจารยประจาํ ทง้ั หมดที่ดํารงตาํ แหนง ผูชวยศาสตราจารย -
๓.๒.๑ จาํ นวนอาจารยประจาํ ตําแหนง ผูชวยศาสตราจารย ท่มี ีวุฒปิ ริญญาตรี หรือเทียบเทา -
๓.๒.๒ จาํ นวนอาจารยป ระจาํ ตําแหนง ผชู ว ยศาสตราจารย ท่ีมวี ุฒิปรญิ ญาโท หรอื เทียบเทา ๓
๓.๒.๓ จาํ นวนอาจารยประจําตาํ แหนงผูช ว ยศาสตราจารย ท่ีมวี ฒุ ิปรญิ ญาเอก หรอื เทยี บเทา ๓
๓.๓ จํานวนอาจารยป ระจาํ ทั้งหมดที่ดาํ รงตาํ แหนง รองศาสตราจารย -
๓.๓.๑ จํานวนอาจารยประจําตาํ แหนง รองศาสตราจารย ท่ีมีวฒุ ปิ รญิ ญาตรี หรือเทียบเทา -
๓.๓.๒ จาํ นวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ทีม่ ีวฒุ ิปรญิ ญาโท หรือเทยี บเทา ๓
๓.๓.๓ จาํ นวนอาจารยประจาํ ตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒปิ รญิ ญาเอก หรือเทียบเทา ๓๙.๑๓
๓.๔ จาํ นวนอาจารยป ระจําทั้งหมดทด่ี าํ รงตาํ แหนงศาสตราจารย
๓.๔.๑ จาํ นวนอาจารยป ระจําตําแหนง ศาสตราจารย ที่มีวุฒิปรญิ ญาตรี หรือเทียบเทา
๓.๔.๒ จํานวนอาจารยประจาํ ตําแหนง ศาสตราจารย ทีม่ วี ุฒิปรญิ ญาโท หรือเทียบเทา
๓.๔.๓ จํานวนอาจารยประจาํ ตาํ แหนง ศาสตราจารย ทม่ี วี ุฒิปริญญาเอก หรอื เทยี บเทา
๓.๕ รอ ยละของอาจารยป ระจาํ ทดี่ าํ รงตําแหนง ทางวชิ าการ

ขอ มูลหลกั ฐานประกอบการประเมนิ ขอ มลู หลกั ฐาน
เกณฑม าตรฐาน ผลการดาํ เนนิ งาน
คารอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนง คณะแพทยศาสตรมีอาจารยประจําท่ีดํารง ๑.๓.๑รายช่ืออาจารยท่ีดํารง
ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารยและ ตําแหนงผูชวยศาสตราจารยจํานวน๓คน ตํ า แ ห น ง ท า ง วิ ช า ก า ร
ศาสตราจารยรวมกนั ที่กําหนดใหเปนคะแนน รองศาสตราจารยจํานวน ๓ คน และ ข อ งค ณ ะแ พ ท ย ศ าส ต รป
เต็ม๕ = รอ ยละ ๖๐ ข้นึ ไป ศาสตราจารยจํานวน ๓ คน รวม ๙ คน มี การศึกษา๒๕๕๘ (ที่รับการ
คา เทากับรอ ยละ ๓๙.๑๓ ไดคะแนนเทากับ ประเมิน)
๓.๒๖ (เอ กสารห ม าย เลข F๕ ๘ -
๑.๑.๑.๑.๑)
สูตรการคาํ นวณ
๑. คาํ นวณคารอ ยละของอาจารยป ระจําท่ดี ํารงตําแหนงทางวิชาการ

รอ ยละของอาจารยป ระจําทด่ี ํารงตําแหนง ทางวชิ าการ = จํานวนอาจารยป ระจําทด่ี ํารงตาํ แหนงทางวิชาการ x ๑๐๐
จํานวนอาจารยป ระจาํ ท้ังหมด

= ๙ x ๑๐๐ = ๓๙.๑๓
๒๓

๒. แปลงคา รอ ยละทคี่ าํ นวณไดในขอ ๑ เทียบกบั คะแนนเตม็ ๕

คะแนนที่ได = รอ ยละของอาจารยประจาํ ทด่ี ํารงตําแหนง ทางวิชาการ x ๕
รอ ยละของอาจารยประจาํ ทด่ี าํ รงตาํ แหนง ทางวชิ าการที่กําหนดใหเ ปนคะแนนเตม็ ๕

๒๒

= ๓๙.๑๓ x ๕ = ๓.๒๖
๖๐

ผลการประเมินตนเองในปนี้ ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิ ตนเอง การบรรลุเปา หมาย
เปาหมาย ๓.๒๖ ๓.๒๖ บรรลุ


ผลการประเมนิ ของคณะกรรมการในปน *้ี
เปา หมาย ผลการดาํ เนนิ การ คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ การบรรลุเปาหมาย
๓ ๓.๒๖ ๓.๒๖ บรรลุ
* เพิ่มตารางนีเ้ ม่อื ปรับเลม หลังการประเมนิ

๒๓

ตัวบงชที้ ่ี ๑.๔ ขอมูล
จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา ตอจํานวนอาจารยประจํา (๑๑๓.๗)
COMMON DATA SET -๓๕.๓
๔. จาํ นวนนักศกึ ษาเตม็ เวลาเทยี บเทา

ชอื่ ขอมูลพนื้ ฐาน
๔.๑ จาํ นวนนกั ศกึ ษาเต็มเวลาเทียบเทา ระดับปรญิ ญาตรี
๔.๒ จาํ นวนนกั ศกึ ษาเตม็ เวลาเทยี บเทา ระดับบัณฑติ ศกึ ษา (ปรับคาเปน ระดับปรญิ ญาตรี)

นกั ศกึ ษาเตม็ เวลาในหนวยนับปรญิ ญาตรี
กลุม สาขาวิชาวิทยาศาสตรส ุขภาพ = FTES ระดบั ปรญิ ญาตรี + FTES ระดบั บณั ฑิต
ึกษา
กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรก ายภาพ = FTES ระดับปรญิ ญาตรี + (๒x FTES ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา)
กลุมสา
าวิชามนุษยศาสตรแ ละ = FTES ระดับปรญิ ญาตรี + (๑.๘x FTES ระดบั บณั ฑติ ศึกษา)
สังคมศาสตร

๔.๓ จํานวนอาจารยป ระจาํ ทั้งหมด ๒๓

ขอมลู หลกั ฐานประกอบการประเมิน
เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน ขอ มูลหลักฐาน
คํานวณหาคาความแตกตางระหวางจํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษา ๑๐๔ คน (ช้ันปที่ ๒ และ เอกสารสํานักทะเบียน
เต็มเวลาตอ อาจารยประจาํ กับ ๓ ) จํานวนอาจารยประจาํ คณะ ๒๓ คน (เอ ก ส า ร ห ม า ย เล ข F๕ ๘ -
เกณฑมาตรฐาน และนํามาเทียบกับคาความแตกตาง สดั สว นนกั ศึกษาตออาจารยท เี่ ปน จริง ๓.๓.๓.๑.๒.๑)

ทั้งดานสูงกวาหรือต่ํากวา ที่กําหนดเปนคะแนน ๐ 4.52 : 1
และ ๕ คะแนน และใชก ารเทียบบญั ญตั ิไตรยางค ดังน้ี สดั สวนนักศึกษาตออาจารยประจําตามเกณฑ
คาความแตกตางทั้งดานสูงกวาหรือตํ่ากวาเกณฑ มาตรฐาน
มาตรฐานไมเกนิ รอยละ ๑๐ กาํ หนดเปนคะแนน ๕ 4 :1
คาความแตกตางทั้งดานสูงกวาหรือต่ํากวาเกณฑ
มาตรฐานตัง้ แตร อยละ ๒๐ กาํ หนดเปน คะแนน ๐
ค า ค ว า ม แ ต ก ต า งท้ั งด า น สู งก ว า ห รื อ ตํ่ า ก ว าเก ณ ฑ
มาตรฐานตงั้ แตรอ ยละ ๑๐.๐๑ และไมเกินรอยละ ๒๐
ใหน ํามาเทยี บบญั ญตั ิไตรยางคต ามสตู ร

สูตรการคํานวณ
๑. คํานวณหาคา ความแตกตา งจากเกณฑม าตรฐานและนาํ มาคดิ เปน คา รอยละ ตามสตู ร
สดั สวนจาํ นวนนักศึกษาเตม็ เวลาที่เปน จริง – สัดสวนจํานวนนักศึกษาเตม็ เวลาตามเกณฑม าตรฐาน x ๑๐๐
สดั สว นจาํ นวนนกั ศึกษาเตม็ เวลาตามเกณฑมาตรฐาน

รอยละคา ความแตกตา งจากเกณฑม าตรฐาน = (๔.๕๒ – ๔ ) ] x ๑๐๐
= ๔

.๕๒ x ๑๐๐ = ๑๓


๒๔

๒. นําคา รอยละจากขอ ๑ มาคํานวณคะแนนดังนี้
๒.๑) คา รอ ยละไมเกนิ รอยละ ๑๐ คดิ เปน ๕ คะแนน
๒.๒) คา รอยละเกนิ รอยละ ๒๐ คิดเปน ๐ คะแนน
๒.๓) คารอยละตงั้ แต ๑๐.๐๑ และไมเ กนิ รอ ยละ ๒๐ ใหน ํามาคดิ คะแนนดังน้ี
คะแนนทไ่ี ด = ๑๓ - ๕ = ๑.๗๕


ตามเกณฑของสภาวิชาชีพ ไดกําหนดอาจารยผูสอน ตอ นักศึกษา เทากับ ๑ ตอ ๔ (อางอิง ประกาศแพทยสภา ที่ ๓๖ /
๒๕๕๕ เรื่องเกณฑวาดวยการขอเปดดําเนินการ / ปรับปรุงหลักสูตรแพทยศษสตรบัณฑิต หมายเลขเอกสารท่ี F. ๕๘-
๑.๑.๑.๓.๒)
• นกั ศึกษาช้ันปท ี่ ๑ จํานวน 47 คน คณะวิทยาศาสตร และ คณะศลิ ปศาสตร เปนผรู ับผดิ ชอบจัดการเรยี นการสอน
• นกั ศึกษาช้ันปท ี่ ๒ และ ๓ จาํ นวน ๑๐๔ คน ที่ทางคณะแพทยรับผดิ ชอบ คิดสัดสวน อาจารย ตอนักศกึ ษา ๑ : ๔

ผลการประเมนิ ตนเองในปนี้ ผลการดาํ เนนิ การ คะแนนประเมนิ ตนเอง การบรรลเุ ปาหมาย
เปา หมาย ๑.๗๕ ๑.๗๕ ไมบ รรลุ


ผลการประเมนิ ของคณะกรรมการในปน*ี้
เปาหมาย ผลการดาํ เนินการ คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ การบรรลเุ ปาหมาย
๕ ๑.๗๕ ๑.๗๕ ไมบรรลุ
* เพ่มิ ตารางน้เี มื่อปรบั เลม หลังการประเมิน

๒๕

ตวั บง ช้ีที่ ๑.๕ ขอ มูล
การบริการนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี ๔.๙
COMMON DATA SET ๓.๒
๕. ระบบและกลไกการใหบริการนกั ศกึ ษา คะแนน
การ
ชื่อขอมลู พนื้ ฐาน ประเมนิ
๕.๑ ผลการประเมนิ คณุ ภาพของการใหบ รกิ ารใหค ําปรกึ ษาทางวิชาการและการใชช วี ิตแกน กั ศกึ ษา ไมม ี
(จากคะแนนเตม็ ๕)
๕.๒ ผลการประเมนิ คณุ ภาพของการใหขอ มูลขา วสาร กิจกรรมพเิ ศษนอกหลักสูตร แหลงงานท้งั เตม็ เวลาและ
นอกเวลาแกนกั ศกึ ษา (จากคะแนนเตม็ ๕)
๕.๓ ผลการประเมนิ คณุ ภาพของการจัดกิจกรรมเตรยี มความพรอมเพือ่ การทาํ งานเมื่อสาํ เร็จการศึกษาแก
นกั ศึกษา (จากคะแนนเตม็ ๕)

เกณฑมาตรฐานและขอมูลหลกั ฐานประกอบการประเมนิ
เกณฑมาตรฐาน ผลการดาํ เนินงาน ขอ มลู หลักฐาน

๑. จัดบรกิ ารใหคําปรกึ ษา -โครงการปฐมนเิ ทศ สําหรบั นกั ศกึ ษาทุกชน้ั ป กอนเปดภาค -โครงการปฐมนเิ ทศ นักศึกษาช้ันปท ี่
ทางวิชาการและการใช การศึกษา ๑ ,๒ และ ๓ (เอกสารหมายเลข F
ชวี ิตแกนักศกึ ษาในคณะ -เพื่อสะทอนความเปนตัวตนคณะ มีการทบทวนในเร่ือง ๕๘-๑.๑.๕.๑.๘)
ปรัชญ า ป ณิ ธาน วิสัยทัศน พั นธกิจ อัตลักษ ณ -แบบสอบถามการรบั ทราบและทาํ
วัตถุประสงค ของคณะแพทยศาสตร ทกุ ชน้ั ป ความเขาใจทม่ี ตี อปรัชญา ปณธิ าน
-ระบบการดูแลและการใหคําปรึกษา ทางวิชาการและการ วิสยั ทศั น พันธกจิ อตั ลักษณ
แนะแนวนักศึกษาดา นอนื่ ๆดงั นี้ วตั ถุประสงค ของคณะแพทยศาสตร
-แตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษาประจําใหแกนักศึกษาทุกคนโดย (เอกสารหมายเลขF๕๘ -๑.๑.๕.๑.๙)
อาจารยท ี่ปรึกษา๑ คน ตอนักศึกษา ๘ คนโดยใหมีหนา ทใ่ี ห
ความชวยเหลอื และให คําปรึกษานักศึกษาในเรือ่ งวิชาการ/ -คําสั่งแตง ต้ังอาจารยทปี่ รกึ ษาของ
การศกึ ษาและการดาํ เนนิ ชวี ติ สว นตวั นักศกึ ษาชน้ั ปท ๑่ี และ ๒และ ๓
หากมีความจําเปนเรงดวน นักศึกษาสามารถพบอาจารย (เอกสารหมายเลข F ๕๘-๓.๓.๒.๑.๒)
ทานใดทานหน่ึงได ทาง โทรศัพท หรือfacebookและการ และคมู ืออาจารยท ่ีปรึกษา
ใหคําแนะนําหรือความชวยเหลือตามโครงการเรียนดีมีสุข (เอกสารหมายเลข F๕๘-
หรือ ตดิ ตอ ขอปรกึ ษานอกเวลาดังกลาวไดตามตอ งการ ๑.๑.๕.๑.๑๐)
๑.มีตารางการพบนกั ศกึ ษา ประจาํ เดือน เปน แบบทางการ --facebook ของ MedSiam๑ และ
๒.มีการรวมกลุมส่ือสารกันทางfacebook ระหวางอาจารย med siam๒(เอกสารหมายเลข F
และนกั ศกึ ษาทงั้ รนุ ที่๑ และรุน ที่ ๒อยา งไมเปน ทางการ ๕๘-๑.๑.๕.๑.๑๑)
๓.มีโครงการสนับสนุนใหนักศึกษาขอรับการเสริมสราง -ขอ มลู เชงิ ประจักษเวบไซคก าร
ความสุข ผานทาง www.medsiamu.com และ.นักศึกษา ใหบรกิ ารของสาํ นักแนะแนวฯ
ท่ีมีผลสัมฤทธิ์การเรียนต่ําจะไดรับการดูแล ใหความ (เอกสารหมายเลข F๕๘-
ชวยเหลือดานการพัฒนาการเรียนรูจากผูเชี่ยวชาญดาน ๑.๑.๕.๑.๑๒)
แพทยศาสตรศกึ ษา -เวบไซดการใหข อ มูลของศนู ยด ูแล
๗.มีสํานักงานแนะแนวและจัดหางานของมหาวิทยาลัยให นักศกึ ษาของมหาวิทยาลัย
คาํ ปรกึ ษาแกนักศกึ ษา (เอกสารหมายเลข F๕๘-
๑.๑.๕.๑.๑๓)
๒ . มีการให ขอมู ลของ คณะฯจดั บริการชองทางการใหขอ มลู หนวยงานที่ใหบรกิ าร -เอกสาร คณบดแี จงการประชมุ ตา งๆ
ห น วยงาน ท่ี ให บ ริก าร เชน ขอมูลทนุ กูยมื เพือ่ การศกึ ษาแหลงทุนการศกึ ษาตอ การ ทางวิชาชพี ตดิ บอรด ใหแกน กั ศึกษา

๒๖

เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน ขอมลู หลักฐาน
กิ จ ก ร ร ม พิ เศ ษ น อ ก บรกิ ารจดั หางานแหลงขอ มลู การจดั กจิ กรรมตางๆเชนการ (เอกสารหมายเลข F๕๘-
หลกั สูตร แหลง งานทัง้ เต็ม ฝกอบรมหรือสมั มนาเปนตนผา นชอ งทางการสอ่ื สาร ๑.๑.๕.๒.๑๔)
เว ล า แ ล ะ น อ ก เว ล า แ ก ประเภทตางๆเชน เวบ็ ไซตข องคณะ facebook คณะหรอื ภาพบอรดประชาสมั พนั ธก ระดานขา ว
นักศึกษา facebook สโมสรนสิ ติ นกั ศึกษาแพทยแหงประเทศไทย ทา เว็บไซตค ณะ(เอกสารหมายเลข F๕๘-
ใหน กั ศึกษาสามารถเขา ถงึ ขอมลู ขา วสารตางๆไดส ะดวก ๑.๑.๕.๒.๑๕)
รวดเรว็ ข้นึ สามารถตดิ ตอส่อื สารโตต อบไดอ ยางรวดเรว็ ทัน -เอกสารรายชอื่ นกั ศกึ ษาชั้นปที่ ๑
เหตกุ ารณนักศึกษามสี วนรวมในการแสดงความคดิ เหน็ การ และ ๒ ทเี่ ปน กรรมการใน สมาพนั ธ
ประชาสมั พันธผ านบอรด ท่ีตดิ ตงั้ ไวบริเวณดานหนา นิสิต นักศกึ ษาแหง ประเทศไทย
หอ งเรียน ซึง่ นักศกึ ษาสามารถพบเห็นไดอยางชดั เจนเปน
ตน
สาหรบั การจดั เรียนการสอนของคณะ ไดจดั กิจกรรมพเิ ศษ
นอกหลักสูตรเพอื่ ใหนกั ศกึ ษาไดเรยี นรูจากสง่ิ ที่เกดิ ขน้ึ จริง
เพ่อื ที่จะสรา งความรคู วามเขา ใจเพ่มิ มากข้นึ นอกเหนอื จาก
ความรทู ีไ่ ดจ ากการเรยี นการสอนภายในหองเรียนโดยในป
การศกึ ษา 2559 คณะฯไดสนบั สนุนการจัดกิจกรรมพเิ ศษ
นอกหลักสูตรกจิ กรรมจติ อาสา กิจกรรมดูงาน
โรงพยาบาลในเขตภาคเหนือ กิจกรรมดแู ลสขุ ภาพชุมชน
เปน ตน

๓ . จัด กิจก รรม เต รีย ม โครงการสอบ CU – TEP เพือ่ เปน การเตรยี มความพรอ มใน โครงการและภาพ.
ค ว า ม พ ร อ ม เพื่ อ ก า ร การทํางานและสง เสริมใหน กั ศกึ ษาพฒั นาสมรรถนะ -โครงการเตรียมความพรอ มสาํ หรบั
ทํ า ง า น เ ม่ื อ สํ า เ ร็ จ ทางดา นภาษาอังกฤษทีพ่ รอมกาวเขา สูส ถานประกอบการ การเปน แพทยทีด่ ีและเกง สําหรับชั้น
การศึกษาแกน กั ศกึ ษา ของประเทศตา งๆในอาเซยี นและสมรรถนะดา นอืน่ ๆที่ ปท ี่ ๑(เอกสารหมายเลข F ๕๘-
จําเปนตอ การปฏบิ ัติงานเพ่ือเปน การเพิม่ โอกาสในการสมคั ร ๓.๓.๑.๑.๑๐)
เขา ทางานไดอยา งมีประสิทธิภาพตอไป -ภาพกิจกรรม (เอกสารหมายเลข F
๕๘-๓.๓.๑.๑.๑๐)
-ผลการประเมินกิจกรรมการจติ อาสา
(เอกสารหมายเลข F ๕๘-
๓.๓.๑.๑.๑๐)
โครงการเตรยี มความพรอ มสาํ หรบั
ช้ันปรีคลินิก สาํ หรับช้นั ปที่ ๒
ภาพบอรดมมุ วิชาการ
(เอกสารหมายเลข F ๕๘-
๑.๑.๕.๓.๑๖)
๔. ประเมินคุณภาพของ ประเมนิ คุณภาพของการจดั กจิ กรรมและการจดั บรกิ ารใน - ผลการประเมนิ กจิ กรรม เอกสาร
การจัดกิจกรรมและการ ขอ 1-3 ทุกขอไมต า กวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 คณะได หมายเลข F๕๘-๑.๑.๖.๔.๒๘
จัดบริการในขอ ๑-๓ ทุก จัดแบบประเมนิ บรกิ าร ใหกับนักศึกษา .ในกจิ กรรมตอไปนี้
ขอไมต่ํากวา๓.๕๑จาก 1. การพบอาจารยที่ปรึกษา
คะแนนเตม็ ๕ 2. การบริการวิชาการ ( การสอบ remedial
โครงการเรียนดีมสี ุข )
3. การจดั การสอบ วดั ระดับภาษาอังกฤษ
4. การจัดบรกิ ารทบทวน ขอ สอบ การประเมนิ
ความรูทางดา นวิทยาศาสตรการแพทยพ ้นื ฐาน
ข้นั ตอนท่ี 1.

๒๗

เกณฑม าตรฐาน ผลการดําเนนิ งาน ขอมูลหลักฐาน
5. โครงการอาสาสมคั ร จิตอาสาระหวา งปดภาค

การศึกษา

การใหบ ริการคําปรกึ ษาทางวชิ าการและการใชช วี ิตแก
นักศกึ ษาในคณะมคี า เฉลีย่ ความพงึ พอใจเทากับ
อยใู นระดับดี

๕. นําผลการประเมินจาก นาํ ผลการประเมินจากขอ 4 มาปรบั ปรงุ พัฒนาการ ผลการประเมนิ (เอกสารหมายเลข F
ข อ ๔ ม า ป รั บ ป รุ ง ใหบ รกิ ารและการใหขอมูลเพอื่ สง ใหผลการประเมนิ สูงขนึ้ ๕๘-๑.๑.๕.๔.๒๐)
พัฒนาการใหบริการและ หรอื เปน ไปตามความคาดหวังของนักศึกษาคณะฯไดนาํ ผล
การใหขอมูล เพ่ือสงใหผล มาพัฒนา ประกาศเชญิ ชวนผานสอื่ ใหน กั ศึกษา
การประเมินสูงข้ึนหรือ - การพบอาจารยท ่ีปรกึ ษา น้ันตอ งเนนการมีวินัยของ ทราบการใหบริการปรกึ ษานอกเวลา
เปนไปตามที่คาดหวังของ นักศกึ ษามากขึน้ เรยี น เอกสารหมายเลข
นกั ศึกษา - การใหบริการวชิ าการเปนรายบคุ คล เนนใหม ีมากขนึ้ F๕๘-๓.๓.๒.๑.๑๓
หลงั เลิกเรยี น
- การแบงเวลาสําหรบั นักศึกษาที่มผี ลการเรยี นออ น
ตอ งบรกิ ารเชิงรกุ โดยจัดใหมที กุ วนั พธุ บา ย
- สนับสนนุ ใหนกั ศึกษาทบทวนกนั เองหลงั เลกิ เรยี นมาก
ขนึ้ เปนตน

๖. ใหขอมูลและความรูที่ ยงั ไมม ศี ิษยเ กา -
เป น ป ระ โย ช น ใน ก า ร
ประกอบอาชพี แกศิษยเกา

เกณฑการประเมิน คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
คะแนน ๑ มกี ารดาํ เนนิ การ มกี ารดําเนนิ การ มีการดาํ เนินการ มีการดาํ เนินการ

มกี ารดําเนนิ การ ๒ ขอ ๓-๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ
๑ ขอ
การบรรลเุ ปา หมาย
ผลการประเมินตนเองในปน ้ี ผลการดาํ เนินการ คะแนนประเมนิ ตนเอง ไมบ รรลุ
เปาหมาย ๓ ขอ ๓
๕ ขอ การบรรลุเปาหมาย
ไมบ รรลุ
ผลการประเมนิ ของคณะกรรมการในปน*้ี
เปา หมาย ผลการดาํ เนนิ การ คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ

๕ ขอ ๓ ขอ ๓
* เพ่ิมตารางน้ีเมื่อปรบั เลม หลงั การประเมนิ

๒๘

ตัวบง ช้ที ี่ ๑.๖
กจิ กรรมนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

COMMON DATA SET
๖. กิจกรรมนกั ศกึ ษา

ช่อื โครงการ/กจิ กรรม ผูรับผดิ ชอบ วัน/เดอื น/ป มาตรฐานผลการเรียนรู
สถานทจี่ ัด ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหง ชาติ
กจิ กรรม
คณุ ธรรม ความรู ทกั ษะ ทกั ษะ ทกั ษะการ
จรยิ ธรรม ทาง ความสัมพันธ วิเคราะห
ปญ ญา ระหวาง เชิงตัวเลข
บคุ คล การสื่อสาร
และความ และการใช
รับผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.โครงการพัฒนาคุณภาพนกั ศกึ ษาดานกตัญู

-กิจกรรมวางพวงมาลาวัน พล.ต.ท.นพ. เทคโนโลย่ีสยาม /
ม.สยาม เลยี้ ง หุย รพ.ศิริราช /
-วันมหิดล ประเสรฐิ ลานพระรปู ร.๕ /
พล.ต.ท.นพ. อาคารเรยี นชิโนรส /
-วันปยะมหาราช เล้ียง หุย มหาวิทยาลยั มหิดล /
ประเสรฐิ อ.ศาลายา
-การทําบญุ รบั รา งอาจารย พล.ต.ท.นพ.
ใหญ เลี้ยง หยุ
-รวมพธิ พี ระราชทาน ประเสรฐิ
อาจารยใ หญ อ.อมรรัตน
ยืนยงวัฒ
นกุล
อ.นภวรรณ
ผลพานชิ

2.โครงการสรางเสริมอัตลักษณของนกั ศึกษาแพทย

-Early exposure to นพ.วรี ะพล โรงพยาบาลตาํ รวจ / // /
clinic ธีระพันธ // /
-Medical Expo เจริญ

ศ.นพ.บญุ ไบเทคบางนา
เจอื ๒๙
ธรณนิ ทร

3.โครงการสง เสริม และ สนับสนนุ ใหน กั ศึกษาสรา งผลงาน

-การดาํ เนนิ การคิดและทํา ศ.นพ.บุญ รพ.ราชวิถี / / /
Poster presentation เจอื
ดว ยตนเอง ในงาน open ธรณนิ ทร / / /
house / / /
/
-หูกวางเกมส กิจกรรมกฬี า ศ.นพ.บุญ ม.สยาม / / /
มหาวิทยาลยั สยาม เจือ /
ธรณนิ ทร /
-กฬี าเขม็ สัมพันธ ศ.นพ.บุญ นครนายก / /
เจือ /
ธรณนิ ทร
4.โครงการการเตรยี มความพรอมใหเปน แพทยทดี่ แี ละเกงใหผ ปู ว ยและชมุ ชน

-กิจกรรมเตรียมความพรอม พ.ต.อ.นพ. โรงพยาบาลสงฆ /
แกนักศกึ ษา ทท่ี าํ จิตอาสา ฉตั รชยั องั
ตามโรงพยาบาลภาครัฐ สโุ รจน ม.มหาสารคาม /
/
-การเขา รวมโครงการคาย ศ.นพ.บญุ บา นผูหวาน /
วจิ ัย ของ สพท .SMST เจือ สามพราน /
-กิจกรรมเตรยี มความพรอม ธรณินทร ม.สยาม
เพ่อื เปนแพทยทีด่ ีและเกง พ.ต.อ.นพ. ม.สยาม
ใหผปู วยและชมุ ชน ฉตั รชัย องั
5. โครงการปฐมนเิ ทศ สโุ รจน
นักศึกษาใหม อจ.สุดจติ ร
6. โครงการเลือกประธาน เมืองเกษม
และ กรรมการสโมสร ศ.นพ.บญุ
นกั ศึกษาแพทย เจอื
ธรณินทร

๓๐

เกณฑมาตรฐานและขอ มูลหลกั ฐานประกอบการประเมิน
เกณฑม าตรฐาน ผลการดาํ เนินงาน ขอ มลู หลกั ฐาน
๑.๖.๑. จัดทําแผนการจัดกิจกรรม -มคี ณะกรรมการกิจการนกั ศึกษา ทป่ี ระกอบดว ย ฝา ยกจิ การ -เอ ก ส ารแ ผ น ก ารจั ด
พัฒนานักศึกษาในภาพรวมของคณะ นกั ศกึ ษา ตวั แทนอาจารย และเชญิ นักศึกษาเขา รวมประชมุ กิจกรรมพัฒนานักศึกษา
โดยใหนักศึกษามีสวนรวมในการจัดทํา จดั ทาํ แผนจดั ทํากจิ กรรม ฯ(เอกสาร หมายเลข F
แผนและการจดั กจิ กรรม -คณะกรรมการไดจ ดั ทาํ แผนการจดั กจิ กรรมพัฒนานักศกึ ษา ๕๘-๑.๑๖.๑.๑๗)
เพื่อสง เสรมิ คณุ ลักษณะบณั ฑติ ตามมาตรฐานผลการเรียนรู -รายนามคณะกรรมการ
ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิแหงชาติ ๕ ประการ ใหค รบถว น สโมสรนักศึกษาแพทย
-จดั กิจกรรมทสี่ ง เสริมลักษณะบณั ฑติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ย า ม
- การเพิ่มสมรรถนะของนักศึกษา ตามผลลพั ทก าร (เอ ก ส ารห ม าย เล ข F
เรียนรแู ละพัฒนาการใชชวี ิตนกั ศกึ ษา ๕๘-๑.๑๖.๑.๑๘
- สง เสริมใหน ักศกึ ษาสรางผลงาน โค ร งก า ร remedial
- สรางเสรมิ วนิ ยั นกั ศึกษา โดยจัดสอบ pretest กอน เอกสารหมายเลข F. ๕๘-
เรียน และ จดั ตั้งคณะทาํ งานเรอ่ื งวินยั นกั ศกึ ษาขึน้ พรอ ม ๑.๑.๖.๑.๑๙
กับนาํ เปน วาระประชุมกรรมการบริหารและอาจารย ร า ย งา น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
ประจําเดอื น กรรมการบริหารคณ ะ
ประจําเดือน (เอกสาร
ห ม าย เล ข F ๕ ๘ -
๔.๔.๑.๑.๒)
ร า ย งา น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
อาจารย ป ระจําเดื อน
(เอ ก ส ารห ม าย เล ข F
๕๘-๔.๔.๓.๒.๑๓)

๑.๖.๒. ในแผนการจัดกิจกรรมพัฒนา - ตามตารางขา งตน -เอกสารและภาพถา ยมุม
นักศึกษา ใหดําเนินกิจกรรมที่สงเสริม ๓๑ Ethics Corner
คุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผล Knowledge Corner
การเรียนรู ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (เอกสารหมายเลข F .
แหงชาติ ๕ ประการ ให ครบถวน ๕๘-๑.๑.๖.๒.๒๑
ประกอบดว ย -โครงการ CUTep(
(๑) คณุ ธรรม จริยธรรม เอกสารหมายเลข F ๕๘-
(๒) ความรู ๕.๕.๑.๑.๓
(๓) ทักษะทางปญญา -เอกสารการทํา
(๔) ทักษะความสมั พนั ธ Remedial(เอกสาร
ระหวา งบคุ คลและความรับผิดชอบ หมายเลข F ๕๘ -
(๕) ทักษะการวเิ คราะหเชิงตวั เลข การ ๑.๑.๖.๒.๒๒)
ส่ือสารและการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ - โครงการเรยี นดีมสี ุข
เอกสารหมายเลข F๕๘-
๑.๑.๖.๒.๒๓)
- โครงการ MCQ
เอกสารหมายเลข(F๕๘-
๑.๑.๖.๒.๒๔)
-รูปwebsite คณะท่ี
แสดงถึงการรบั เร่อื ง

เกณฑม าตรฐาน ผลการดาํ เนินงาน ขอ มลู หลักฐาน
เสรมิ สรา งความสขุ ให
๓. จัดกิจกรรมใหความรูและทักษะการ -คณะใหค วามรูเ รื่องการประกันคณุ ภาพ ใหน ักศกึ ษาใหม นกั ศกึ ษาแพทย
ประกนั คุณภาพแกน ักศกึ ษา -ใหความรผู าน website คณะเร่อื งประกนั คุณภาพการศึกษา (เอกสารหมายเลข F
๕๘-๓.๓.๒.๑.๑๔ )
๔. ทุกกิจกรรมที่ดําเนินการ มีการ ในการทาํ กิจกรรมนกั ศึกษาของกลุม กจิ กรรมตา งๆมีการ -โครงการหูกวางเกมส
ป ร ะ เมิ น ผ ล ค ว า ม สํ า เร็ จ ต า ม ประเมินผลของการจดั กจิ กรรมและประเมนิ ความสาํ เร็จตาม (เอกสารหมายเลข F
วัตถุประสงคของกิจกรรมและนําผล วตั ถปุ ระสงคของการทํากจิ กรรม รอ ยละ ๑๐๐ รวมท้งั มกี าร ๕๘-๑.๑.๖.๒.๒๕ )
การประเมินมาปรับปรงุ การดําเนินงาน สรุปผลการดาํ เนนิ กจิ กรรมและการนําผลการประเมินมา -โครงการกีฬาเขม็
ครั้งตอ ไป ปรบั ปรงุ การดําเนินงานครง้ั ตอ ๆไป สัมพนั ธ หมายเลข F
๕๘-๑.๑.๖.๒.๒๖ )
ตารางการอบรมโครงการ
ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม
เอกสารหมายเลข
๕๘-๑.๑.๖.๓.๒๙
แ ฟ ม ก า ร ป ร ะ เ มิ น
กิจกรรมตางๆ (เอกสาร
ห ม ายเลข F ๕ ๘ -
๑.๑.๖.๔.๒๘)

๕. ประเมินความสําเรจ็ ตาม การประเมินตามแผนพฒั นากจิ กรรมนักศึกษางานกิจกรรม แฟมการประเมิน
วตั ถุประสงคของแผนการจดั กิจกรรม นกั ศึกษาไดม ีการกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคของแผนงานคอื กจิ กรรมตางๆ (เอกสาร
พฒั นานักศกึ ษา (1) เพอ่ื ใหเกดิ การพฒั นาคณุ ภาพของนกั ศกึ ษาตาม หมายเลข F ๕๘-
คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ อันพึงประสงคข องมหาวิทยาลัย ๑.๑.๖.๔.๒๘)
(2) เพือ่ พฒั นากระบวนการทาํ งานดานกจิ กรรมนกั ศกึ ษาโดย
ใชกระบวนการบรหิ ารคณุ ภาพ (PDCA)
(3) เพื่อสงเสริมใหน กั ศึกษาไดเขารว มกิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร
ทง้ั 5 ดาน
(4) เพ่ือเสรมิ สรางความสามัคคแี ละความสมั พันธอ นั ดีในหมู
นกั ศึกษา
(5) เพือ่ นําความรคู วามสามารถและประสบการณไ ปใชใหเ กดิ
ประโยชนตอ ตนเองและสงั คมท้งั นง้ี านกจิ กรรมนักศึกษาไดม ี
การประเมนิ ผลตามวตั ถุประสงคข องแผนพฒั นากจิ กรรมจาก
นักศกึ ษา
โดยพบวา
5.1.บรรลวุ ัตถุประสงคข องแผนโดยมีผลการประเมิน
อยใู นเกณฑด ี
5.2. จํานวนกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รมจี ํานวนครบทงั้ 5
ดา นและเปนไปตามเกณฑท่ีกาํ หนดไวด งั น้ี

(1.1) กจิ กรรมสง เสริมคณุ ลักษณะบณั ฑติ ท่พี งึ ประสงคที่
กาํ หนดไว 2 โครงการไดดาํ เนินการจํานวนท้งั สน้ิ 2
โครงการถอื วา บรรลตุ ามเกณฑ(จติ อาสา , ดงู าน
นิติเวช ,CU-Tep ภาษาองั กฤษ)

๓๒

เกณฑม าตรฐาน ผลการดําเนนิ งาน ขอ มลู หลกั ฐาน
(1.2) กจิ กรรมดานบริการสังคม กําาหนดไว 1
โครงการไดด าํ เนินการทั้งส้นิ 1 โครงการถือวาบรรลุ
ตามเกณฑ
(1.3) กิจกรรมดานคณุ ธรรมจรยิ ธรรมไดกาํ หนดไว
1 โครงการไดด าํ เนนิ การทง้ั ส้ิน 1โครงการถอื วา บรรลุ
ตามเกณฑ
(1.4) ดานทํานุบาํ รงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรมไดก าํ หนดไว
5 โครงการไดดําเนินการทง้ั สนิ้ 3 กจิ กรรม ถอื วา
บรรลตุ ามเกณฑ
(1.5) กจิ กรรมมสรางเสรมิ อัตลกั ษณ ไดก าหนดไว 2
โครงการไดดาํ เนนิ การทงั้ สิน้ 2 โครงการถือวา
บรรลตุ ามเกณฑ
๖. นําผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ แผน งานกิจกรรมนกั ศึกษาไดจดั ใหมีการประเมินแผนงานเพ่อื การ แฟม การประเมนิ
หรือปรับปรงุ การจัดกจิ กรรมเพ่ือพฒั นา พัฒนากจิ กรรมนกั ศกึ ษาโดย เนนกิจกรรมท่เี สรมิ สรา งความ กิจกรรมตางๆ (เอกสาร
นกั ศึกษา เปนทีมระหวา งชัน้ ป มากย่งิ ขนึ้ เพอ่ื ใหเ กิดการแลกเปลยี่ น หมายเลข F ๕๘-
ประสบการณ การพึง่ พา และ การแบงปน ดว ยการเรียนของ ๑.๑.๖.๔.๒๘)
แตละชัน้ ป รายงานการประชมุ ฝาย
กิจการนักศกึ ษา
F๕๘-๑.๑.๖.๖.๓๐

เกณฑก ารประเมนิ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
คะแนน ๑ มีการดําเนนิ การ มีการดาํ เนนิ การ มีการดําเนนิ การ มีการดําเนนิ การครบ

มีการดาํ เนนิ การ ๒ ขอ ๓-๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ
๑ ขอ การบรรลเุ ปา หมาย

ผลการประเมินตนเองในปนี้ ผลการดาํ เนนิ การ คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลุ
เปาหมาย ๖ ขอ ๕ การบรรลเุ ปา หมาย

บรรลุ
ผลการประเมินของคณะกรรมการในปน*้ี
เปา หมาย ผลการดาํ เนนิ การ คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ
๕ ๖ ขอ ๕
* เพิม่ ตารางนีเ้ มือ่ ปรับเลม หลังการประเมิน

๓๓

จุดเดน/จดุ ทคี่ วรพัฒนา และแนวทางเสริม/แนวทางในการปรับปรงุ แนวทางเสริมจุดเดน
จุดเดน

จดุ ท่คี วรพัฒนา ขอเสนอแนะในการปรบั ปรงุ
- คณะวชิ าเปนคณะใหมท างคณะแพทยศาสตร ซงึ่ เปน โอกาสใน
การวางระบบใหมใ นการพัฒนางานดา นอน่ื ๆ
- ควรมรี ะบบการสงเสรมิ ใหอ าจารยผ ลิตผลงานวชิ าการทช่ี ดั เจน
เพ่ือการขอตําแหนง วชิ าการ โดยเฉพาะอาจารยร นุ ใหม

- จํานวนอาจารยปรีคลินิกตํ่ากวาเกณฑ ควรมีการรับ
อาจารยเ พ่ิมและมกี ารพัฒนาอาจารยด านวิชาการไปพรอมๆ
กัน

วธิ ีปฏบิ ัตทิ ด่ี ี / นวัตกรรม

๓๔

องคประกอบท่ี ๒
การวจิ ยั

ระบบและกลไก
คณะแพทยศาสตรมีพันธกิจดานการวิจัยท่ีมีความสําคัญในการที่จะสรางองคความรูเพ่ือนําไปสูการพัฒนา การเรียน

การสอน การบริการวิชาการแกส งั คม การบาํ รุงศิลปวัฒนธรรมและการสรางความรูที่มคี ณุ คาเชงิ วชิ าการแกค ณาจารยและความ
เจริญแกประเทศไทยและสังคมโลก คณะฯไดวางแผนในการสรางผลงานวิจัยตีพิมพเผยแพรดวยการเตรียมจัดวางระบบและ
กลไกในการขับเคลือ่ นงานวิจัย คือมีคณะกรรมการวจิ ัยเพ่ือเปนกลไกในการขับเคลอ่ื นนโยบายดา นการวิจัย ภายใตก ารกํากับดูแล
ของคณะกรรมการวิจัยของมหาวิทยาลัยสยามผานทางสํานักงานสงเสริมและพัฒนาการวิจัยที่เปนหนวยงานหลักที่ทําหนาที่ใน
การสงเสริมและประสานการดํานินงานดานการวิจัยท้ังภายในและภายนอก นอกจากนี้ยไดรวมมือกับคณะกรรมการวิจัยของ
โรงพยาบาลพระนั่งเกลาและหนวยงานภายนอกในการดําเนีนงานดานการวิจัยตางๆท่ีกอใหเกิดประโยชนแกผปู วยและพันธกิจ
ของคณะฯ อนั จะกอ ใหเ กดิ ประโยชนแ กวชิ าชีพและสังคม

การประเมนิ ผลตามองคป ระกอบ เกณฑใ นการประเมิน ผล
ตัวบงช้ี ประเมนิ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ตนเอง
๒.๑ ระบบและกลไกการบริหารและ มกี าร มีการ มกี าร มกี าร มีการ
พัฒนางานวจิ ยั หรอื งานสรางสรรค ดําเนนิ งาน ดําเนนิ งาน ดําเนินงาน ดาํ เนนิ งาน ดาํ เนนิ งาน ๓
๒.๒ เงินสนบั สนุนวิจัยหรืองาน ๑ ขอ ๒ ขอ ๓ - ๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ (.๔ ขอ)
สรางสรรค
๒.๓ ผลงานวิชาการของอาจารย ๑๓๐๔.๓๕ บาทตอคน ๐.๑๓
ประจําและนักวิจัย
รอยละของผลรวมถวงนํ้าหนักของผลงานทางวชิ าการของอาจารย ๑.๔๕
ประจาํ และนกั วิจัยตอจํานวนอาจารยป ระจําและนักวิจยั ทั้งหมด
ผลการประเมนิ องคป ระกอบที่ ๒ ๔.๕๘ / ๓ ๑.๕๓

COMMON DATA SET ตวั บงชี้ท่ี ๒.๑
ระบบและกลไกการบริหารและพฒั นางานวิจัยหรืองานสรางสรรค

๗. ผลการประเมินสงิ่ สนับสนนุ พันธกจิ ดา นการวิจัยหรืองานสรางสรรคตามอัตลกั ษณของสถาบนั ในประเดน็ ตา งๆ
ชอื่ ขอมูลพน้ื ฐาน ขอ มลู /บาท
๓๐๐๐๐บาท
๗.๑ จาํ นวนงบประมาณเพือ่ เปนทนุ วิจัยหรอื งานสรา งสรรค ตอ คนตอป
๗.๒ จาํ นวนงบประมาณเพ่ือสนบั สนนุ การเผยแพรผ ลงานวิจยั หรืองานสรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือ ๕๐,๐๐๐๐
การตพี ิมพใ นวารสารระดบั ชาติหรอื นานาชาติ บาท/คน/ป

๓๕

เกณฑมาตรฐานและขอ มูลหลกั ฐานประกอบการประเมิน
เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน ขอมูลหลักฐาน
๑. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร คณะฯมีนโยบายชัดเจน ในเกบ็ ฐานขอมูลตางๆ เพือ่ นํามา -ระเบียบการอุดหนุนเงิน
งานวิจัยท่ีสามารถนําไปใชประโยชน ประมวลผลสําหรบั การบรหิ ารและการพฒั นาไดแก วิจัย ของมห าวิทยาลัย
ใน การบ ริห ารงาน วิจัยห รือ งาน 1.เก็บตารางสอน และ แผนการสอน เวลาการสอนจริง สยาม (เอกสารหมายเลข F
สรางสรรค แบบประเมินการสอน ผลการสอบ เพื่อจัดทํา e- ๕๘-๒.๒.๑.๑.๑ )
learning
2.การเขา เรยี น เวลาการเขา เรียน
3.การเขา รว มกิจกรรมของอาจารยแ ละนักศึกษา
4.e-portfolio นศพ.
5.ผลสอบ attitude test
6.รายงานการประชมุ ตา งๆ

เพ่ือนําไปใชประโยชนในการบริหารงานวิจัยและงาน
สรางสรรค คณะจึงมีฐานขอมูลขางตนเก็บอยูอยางเปน
ระบบ

๒. สนับสนุนพันธกจิ ดา นการวิจัยหรือ ดว ยคณะมี 1.ทรัพยากรขอ มลู ตามขอ 1 เพ่อื สนับสนนุ ขอมูลเชิงประจักษภาพของ
งานสรา งสรรคในประเดน็ ตอ ไปน้ี งานแพทยศาสตรศึกษา สําหรับอาจารยผูสนใจ 2.คณะมี ห อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ
- ห อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ห รื อ ห อ ง อาจารย 4 ทานท่ีมีผลงานวิจัย รวมกับสถาบันอื่นเปนที่ เ ค ร่ื อ ง มื อ เ อ ก ส า ร
ปฏิบัติงานสรางสรรค หรือหนวยวิจัย ปรกึ ษากับอาจารยทุกทาน 3.มหาวิทยาลัยสยามสนับสนุน หมายเลข F๕๘-๒.๒.๑.๒.๒
ห รือ ศู น ย เค รื่อ งมื อ ห รือ ศู น ย ให ทรัพยากรในทุกดาน สําหรับงานวิจัย 4.คณะจัดต้ัง
คําปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยหรือ กรรมการวิจยั รว มกนั ระหวา งภาควิชาปรคี ลนิ กิ และ คลนิ ิก ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
งานสรางสรรค ก ร ร ม ก า ร บ ริห า ร ค ณ ะ
- หองสมดุ หรอื แหลง คน - คณะแพทยไ ดส นับสนุน การพฒั นางานวจิ ัยดานการ ป ระ จํ าเดื อ น ห ม าย เล ข
ควาขอมูลสนับสนุนการวิจัยหรืองาน แพทยศาสตรศึกษา สงอาจารยในคณะเขา รบั การ เอกสาร F๕๘-๔.๔.๑.๑.๒
สรางสรรค ประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการการศึกษาทบทวนวรรณกรรมเพ่อื การ
- สิ่งอํานวยความสะดวกหรือการ พัฒนางานแพทยศาสตรศกึ ษา เมอื่ วนั ท่ี ๑๗ ธ.ค. ๕๘ณ รายงานการประชุมอาจารย
รักษาความปลอดภัยในการวิจัยหรือ หองมารวยปญ ญา๒ โรงแรมมารวยการเ ดนกรงุ เทพมหา ป ระ จํ าเดื อ น ห ม าย เล ข
การผลิตงานสรางสรรค เชนระบบ นคร เอกสาร F๕๘-๔.๔.๓.๒.๑.๓
เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษา - คณะจดั ใหมี วารสาร online : up to date ให
ความปลอดภัยในหอ งปฏบิ ัติการ อาจารยท บทวน เขาถงึ วทิ ยาการใหมๆ เอกสารการประชุม การ
- กิ จ ก รรม วิช าก ารท่ี ส งเส ริม พัฒ นางานวิจัยดานการ
งานวิจัยหรืองานสรางสรรคเชนการ แ พ ท ย ศ า ส ต ร ศึ ก ษ า
จัดประชุมวิชาการการจัดแสดงงาน หมายเลข F๕๘-๒.๒.๑.๒.๓
สรางสรรคการจัดใหมีศาสตราจารย
อาคันตุกะหรือศาสตราจารยรับเชิญ
(visiting professor)
๓. จัดสรรงบประมาณเพ่ือเปนทุน งบประมาณทุนสนับสนุนงานวิจยั ของของคณะ ซึ่งเปน ขอบังคบั การใชเ งินมูลนิธิ
วจิ ัยหรืองานสรางสรรค ทุนสนับสนุนมูลนิธิคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม F๕๘-๒.๒.๒.๑.๕

๔. จัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุน ใชง บประมาณทุนสนับสนุนงานวิจัยของ ระเบียบเงินสนับสนุนของ
การเผยแพรผลงานวิจัยหรืองาน มหาวิทยาลัย โดยอาจารยทุกทานจะไดเงินสนับสนุน มหาวทิ ยาลัย
สรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือ 30,000 บาทตอคน ตอ ป ขอ บังคับการใชเงนิ มลู นธิ ิ
๓๖

เกณฑมาตรฐาน ผลการดาํ เนินงาน ขอ มูลหลักฐาน
การตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือ คณ ะแพทยมีเงินสนับสนุนจากมูลนิธิ เพื่อเผยแพร
นานาชาติ ผลงานวจิ ยั รวม ๕๐,๐๐๐ บาทตอ คนตอ ป
๕. มีการพัฒนาสมรรถนะอาจารย จัด อ บ รม พั ฒ น าส ม รรถ น ะ อ าจ ารย ด าน ก ารวิจั ย ขอมูลเชิงประจักษ
และนักวิจัย มีการสรางขวัญและ แพทยศาสตรศึกษาและสงเสริมอาจารยทําวิจัยและมี -ภาพการรับเงินสนับสนุนน
กําลังใจตลอดจนยกยองอาจารยและ ผลงานวิจยั ไปนาํ เสนอท่ีตางๆเชน ใน งาน ก าร ป ร ะ ชุ ม ข อ ง
นั ก วิจัยท่ี มี ผล งาน วิจัยห รืองาน • โครงการวจิ ัยเร่อื ง การทาํ นายผลการสอบ national แพทยสมาคม
สรางสรรคด เี ดน licensing exam ข้ันที่ ๑ จากคะแนนสะสมที่ไดจากการ เอกสารหมายเลข F๕๘-
สอบขอสอบแบบ MCQ คร้ังละ ๕ ขอในเวลา ๐๘:๐๐ ถึง ๒.๒.๑.๕.๔
๐๘:๑๐ น. ในวิชาท่ีสอนในช่ัวโมงแรกของแตละวัน
ระยะเวลาการทําวิจัย ระหวาง เดือนสิงหาคม ๒๕๕๘ ถึง เ อ ก ส า ร ผ ล ง า น วิ จั ย
เดือนเมษายน ๒๕๕๙ ไดรับทุนวิจัย จาก ทุนวิจัย ศาสตราจารยนายแพทย
นายแพทยประเสรฐิ ประสาททองโอสถ บุญเจือ ธรนินทร เอกสาร
• The efficacy of Gynura pseudochina หมายเลข F๕๘
DC.var.hispida Thv.Ointment in Treating Chronic
Plaque Psariasis :A Randomized Controlled เ อ ก ส า ร ผ ล ง า น วิ จั ย
Trial : Dhorramintta B. อาจารยอชริญา ธรรมศักด์ิ
ชัย เอกสารหมายเลข F
• Molecular, histological, and anti- ๕๘
oxidant evaluation of colitis induction in
rats by different concentration of dextran
sodium sulfate (5 KDa)..Achiraya
Tammasakchai. International Journal of
Pharmacy and Pharmaceutical Sciences
2015...

๖. มีระบบและกลไกเพ่ือชวยในการ ยังไมมี
คุมครองสิทธ์ิของงานวิจัยหรืองาน
สรางสรคที่นําไปใชประโยชนและ
ดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

เกณฑก ารประเมนิ
คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
มีการดาํ เนินการ ๑ ขอ มีการดาํ เนนิ การ ๒ ขอ มกี ารดําเนนิ การ ๓-๔ขอ มกี ารดาํ เนินการ ๕ ขอ มกี ารดาํ เนินการครบ ๖ขอ

ผลการประเมินตนเองในปน ้ี ผลการดาํ เนินการ คะแนนประเมนิ ตนเอง การบรรลเุ ปาหมาย
เปาหมาย ๔ ขอ ๓ บรรลุ
๕ ขอ
การบรรลเุ ปา หมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการในปน *ี้ คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ บรรลุ
เปา หมาย ผลการดาํ เนนิ การ ๓
๕ ขอ ๔ ขอ
* เพิ่มตารางนเ้ี มือ่ ปรับเลมหลังการประเมิน

๓๗

ตัวบงชที้ ่ี ๒.๒ ขอ มูล
เงนิ สนบั สนนุ งานวจิ ยั และงานสรา งสรรค ๓๐,๐๐๐
COMMON DATA SET
๘. เงินสนบั สนนุ งานวิจัยและงานสรา งสรรค -
๒๓
ช่อื ขอมูลพืน้ ฐาน ๒๓
๘.๑จํานวนเงินสนบั สนนุ งานวิจัยหรอื งานสรางสรรคจ ากภายในสถาบนั -
๘.๑.๑ กลมุ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี -
๘.๑.๒ กลมุ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรส ุขภาพ -
๘.๑.๓ กลมุ สาขาวิชามนุษยศาสตรแ ละสังคมศาสตร -
๘.๒ จาํ นวนเงนิ สนบั สนุนงานวิจัยหรืองานสรา งสรรคจ ากภายนอกสถาบัน
๘.๒.๑ กลมุ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๘.๒.๒ กลมุ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ
๘.๒.๓ กลมุ สาขาวชิ ามนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร
๘.๓ จาํ นวนอาจารยประจาํ ท่ีปฏบิ ตั งิ านจริง (ไมน บั รวมผลู าศกึ ษาตอ )
๘.๓.๑ กลมุ สาขาวิชาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๘.๓.๒ กลมุ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรส ุขภาพ
๘.๓.๓ กลมุ สาขาวิชามนุษยศาสตรแ ละสังคมศาสตร
๘.๔ จาํ นวนนักวจิ ยั ประจําที่ปฏิบตั ิงานจริง (ไมน ับรวมผลู าศึกษาตอ)
๘.๔.๑ กลมุ สาขาวิชาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๘.๔.๒ กลมุ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส ุขภาพ
๘.๔.๓ กลมุ สาขาวิชามนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร
๘.๕ จํานวนอาจารยป ระจาํ ทล่ี าศกึ ษาตอ ทงั้ หมด
๘.๕.๑ กลมุ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๘.๕.๒ กลมุ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส ุขภาพ
๘.๕.๓ กลมุ สาขาวิชามนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร
๘.๖ จาํ นวนอาจารยประจําทลี่ าศกึ ษาตอเต็มเวลา (ไมม ีภาระงานสอน)
๘.๖.๑ กลมุ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๘.๖.๒ กลมุ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ
๘.๖.๓ กลมุ สาขาวชิ ามนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร
๘.๗ จํานวนอาจารยป ระจําทล่ี าศกึ ษาตอ โดยมภี าระงานสอน
๘.๗.๑ กลมุ สาขาวิชาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๘.๗.๒ กลมุ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ
๘.๗.๓ กลมุ สาขาวชิ ามนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร
๘.๘ จาํ นวนนักวจิ ยั ประจาํ ทล่ี าศึกษาตอ
๘.๘.๑ กลมุ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๘.๘.๒ กลมุ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส ุขภาพ
๘.๘.๓ กลมุ สาขาวิชามนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร

๓๘

ขอ มลู หลกั ฐานประกอบการประเมนิ
เกณฑก ารประเมิน ผลการดาํ เนนิ งาน เอกสารหลักฐาน
ใชเกณฑเฉพาะสถาบันกลุมขใน คณะแพทยศาสตรมีทุนวจิ ัย ดงั นี้ ระเบียบมูลนิธิ และรายงาน
กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและ • ทนุ มลู นิธิคณะแพทยศาสตร เปนเงนิ การประชมุ คณะกรรมการ
เทคโนโลยี จํานวนเงินสนับสนุน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท ยังไมมีระเบียบการใช มูลนธิ คิ ณะแพทยศาสตร
งานวิจัยหรืองานสรางสรรคจาก มหาวิทยาลยั สยาม
ภายใน และภ ายนอกสถาบั น ที่ • ทนุ วจิ ัยภายในสถาบนั ๓๐,๐๐๐ บาท ครงั้ ท่ี ๓/๒๕๕๙
กําห น ดให เป น คะแน น เต็ม ๕ = • สนับสนนุ กา รเผยแพรผ ลงาน - วนั ศุกรท่ี ๑๐ เดอื น
๖๐,๐๐๐บาทขน้ึ ไปตอคน • ทนุ วิจยั ภายนอกสถาบัน ๐- บาท มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๙
กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ คิดเปน สดั สวน (เอกสารหมายเลข F ๕๘-
จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรือ เทา กับ ๓๐,๐๐๐ เทา กับ ๓๐,๐๐๐ บาท ตอ ๒.๒.๒.๑.๕)
ง า น ส ร า ง ส ร ร ค จ า ก ภ า ย ใ น แ ล ะ จํานวนอาจารยส าขาวิทยาศาสตร ๒๓ คน อัตราสว น
ภายนอกสถาบันที่กําหนดใหเปน ๑๓๐๔.๕๐ บาทตอ คน

คะแนนเต็ม๕ = ๕๐,๐๐๐บาทขึ้น
ไปตอ คน
กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและ
สังคมศาสตร จํานวนเงินสนับสนุน
งานวิจัยหรืองานสรางสรรคจาก
ภายใน และภ ายนอกสถาบั น ที่
กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม๕ =
๒๕,๐๐๐บาทขนึ้ ไปตอคน

งานวจิ ยั ที่ไดรบั ทนุ สนบั สนุนจากภายในสถาบัน ผูว ิจยั จํานวนเงินวจิ ัย
ชอื่ งานวจิ ัย

งานวิจยั ท่ไี ดรบั ทนุ สนับสนนุ จากภายนอกสถาบนั แหลง ทนุ วิจยั ผูว ิจยั
ชอ่ื งานวิจยั ศ.นพ. เฉลิม วราวทิ ย และ จํานวนเงินวจิ ยั
๑. โครงการวิจัยเร่ือง การทํานายผลการสอบ ทนุ วิจัยนายแพทย อาจารยอมรรัตน ยืนยงวฒั นกลุ ๓๐,๐๐๐ บาท
national licensing exam ข้ั น ท่ี ๑ จ า ก ประเสริฐ ศ.นพ.บุญเจอื ธรณนิ ทร ๒๐๐,๐๐๐
คะแนนสะสมที่ไดจากการสอบขอสอบแบบ ประสาททอง บาท
MCQ ครั้งละ ๕ ขอ ในเวลา ๐๘:๐๐ ถงึ ๐๘:๑๐ โอสถ-
น. ในวิชาที่สอนในช่ัวโมงแรกของแตละวัน
ระยะเวลาการทําวิจัย ระหวาง เดือนสิงหาคม
๒๕๕๘ ถึง เดอื นเมษายน ๒๕๕๙ ไดรับทนุ วจิ ัย
๒. The efficacy of Gynura ทุนวจิ ัยเซเรบอส
pseudochina DC.var.hispida Cerebos Award
Thv.Ointment in Treating Chronic
Plaque Psariasis :A Randomized
Controlled Trial

๓๙

สตู รการคาํ นวณ
๑. คํานวณจาํ นวนเงินสนับสนุนงานวจิ ัยหรืองานสรา งสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจาํ
และนักวิจยั
จํานวนเงินสนบั สนุนงานวจิ ยั ฯ = ๓๐,๐๐๐
๒๓
= ๑๓๐๔.๕๐ บาท ตอ คน

๒. แปลงจํานวนเงนิ ทีค่ าํ นวณไดในขอ ๑ เทยี บกบั คะแนนเตม็ ๕

ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๗ คณะแพทยศาสตรม จี ํานวนอาจารยทปี่ ฏิบตั งิ านจริงเทากบั ๑๘ คนและนกั วจิ ยั ประจาํ เทากบั ๐ คน
รวม ๑๘ คน
ปก ารศึกษา ๒๕๕๗ คณะไดร ับเงนิ สนับสนนุ งานวิจัยจากภายในสถาบนั
ปการศกึ ษา ๒๕๕๗ คณะไดร ับเงินสนบั สนนุ งานวจิ ยั จากภายนอกสถาบันเทา กบั ……………บาท
ปการศึกษา ๒๕๕๗ คณะไดรับเงินสนับสนนุ งานสรา งสรรคจ ากภายในสถาบนั เทากบั …….. บาท
ปการศึกษา ๒๕๕๗ คณะไดรับเงินสนบั สนนุ งานสรางสรรคจ ากภายนอกสถาบนั เทา กบั …..… บาท
ปการศึกษา ๒๕๕๗ คณไดร ับเงนิ สนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคร วม............. บาท
อตั ราสว นเงนิ สนบั สนุนงานวจิ ยั หรอื งานสรา งสรรคต อ จาํ นวนอาจารยท่ปี ฏิบัตงิ านจริงและนกั วจิ ัยประจํา
เทา กับ ๓,๐๓๓,๐๐๐ บาท / ๒๓ คน คดิ เปน ๑๓๑,๘๖๙.๕๖ บาท ตอคน

ผลการประเมินตนเองในปนี้ ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิ ตนเอง การบรรลุเปาหมาย
เปา หมาย ๓๐๐๐๐ (๑๓๐๔.๓๕ / ๕๐,๐๐๐) * ๕ =๐.๑๓ ไมบ รรลเุ ปาหมาย
๕ ๒๓

ผลการประเมินของคณะกรรมการในปน*้ี
เปา หมาย ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ การบรรลเุ ปาหมาย
๕ ๓๐๐๐๐ (๑๓๐๔.๓๕ / ๕๐,๐๐๐) * ๕ =๐.๑๓ ไมบรรลุเปาหมาย
๒๓
* เพมิ่ ตารางนีเ้ มื่อปรับเลมหลังการประเมนิ

๔๐

ตวั บงช้ที ่ี ๒.๓
ผลงานทางวชิ าการของอาจารยประจาํ และนกั วจิ ัย

๙. ผลงานทางวชิ าการ คา ถวง
นา้ํ หนัก
ชือ่ ขอ มูลพื้นฐาน ปก ารศึกษา ๒๕๕๘ จาํ นวน รวม

๙.๑ จํานวนบทความหรือบทความวิชาการท้งั หมด ๐.๒๐
๙.๑.๑ จาํ นวนบทความวจิ ัยหรือบทความวชิ าการฉบับสมบรู ณทตี่ ีพมิ พในรายงานสบื เนอ่ื ง
จากการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ
๙.๑.๒ - จํานวนบทความวจิ ยั หรือบทความวชิ าการฉบบั สมบูรณ ทต่ี ีพมิ พในรายงาน ๐.๔๐
สืบเนือ่ งจากการประชุมวิชาการระดบั นานาชาติ หรอื ในวารสารวิชาการระดับชาตทิ ่ไี มอยู
ในฐานขอ มูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบยี บคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาวาดว ย
หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวชิ าการ สําหรับการเผยแพรผ ลงานทางวิชาการ พ.ศ.
๒๕๕๖ แตสถาบันนาํ เสนอสภาสถาบันอนุมัตแิ ละจดั ทาํ เปนประกาศใหท ราบเปน การ
ทัว่ ไป และแจงให กพอ./กกอ. ทราบภายใน ๓๐ วัน นบั แตวันทีอ่ อกประกาศ
- ผลงานทีไ่ ดร บั การจดอนสุ ทิ ธบิ ัตร
๙.๑.๓ จํานวนบทความวจิ ัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท ต่ี ีพมิ พใ นวารสารวิชาการ ๐.๖๐
ทป่ี รากฏในฐานขอ มลู TCI กลุมท่ี ๒
๙.๑.๔ จาํ นวนบทความวจิ ยั หรอื บทความวชิ าการฉบบั สมบรู ณ ทตี่ พี มิ พในวารสารวชิ าการ ๐.๘๐
ระดบั นานาชาติทีไ่ มอยูในฐานขอมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบยี บคณะกรรมการการ
อดุ มศึกษา วาดว ยหลกั เกณฑการพจิ ารณาวารสารทางวชิ าการสาํ หรับการเผยแพรผ ลงาน
ทางวิชาการ พ.ศ.๒๕๕๖ แตส ถาบนั นําเสนอสภาสถาบนั อนมุ ัติและจดั ทําเปนประกาศให
ทราบเปนการทวั่ ไป และแจงให กพอ./กกอ. ทราบภายใน ๓๐ วัน นบั แตวันทีอ่ อก
ประกาศ (ซึง่ ไมอยใู น Beall’s list) หรอื ตีพิมพในวารสารวิชาการทปี่ รากฏในฐานขอ มลู
TCI กลมุ ท่ี ๑
๙.๑.๕ - จาํ นวนบทความวิจัยหรอื บทความวิชาการฉบับสมบรู ณท่ตี พี มิ พในวารสารวทาง ๒ ๑.๐๐
วิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานขอมลู ระดับนานาชาตามประกาศ ก.พ.อ. หรอื
ระเบยี บคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา วาดวยหลักเกณฑการพจิ ารณาวารสารทางวชิ าการ
สาํ หรบั การเผยแพรผ ลงานวชิ าการ พ.ศ.๒๕๕๖
- ผลงานทีไ่ ดร ับการจดสิทธบิ ัตร
- ผลงานวิชาการรับใชส ังคมทไี่ ดร บั การประเมินผา นเกณฑการขอตําแหนงทาง
วชิ าการแลว
- ผลงานวจิ ยั ทห่ี นวยงานหรอื องคกรระดับชาตวิ า จางใหดําเนนิ การ
- ผลงานคนพบพนั ธุพ ืช พนั ธสุ ัตว ท่ีคน พบใหมแ ละไดร ับการจดทะเบยี น
- ตําราหรือหนังสอื ทไ่ี ดรบั การประเมินผา นเกณฑการขอตําแหนง ทางวิชาการแลว
- ตําราหรือหนงั สือทีผ่ า นการพิจารณาตามหลกั เกณฑการประเมนิ ตาํ แหนง ทาง
วิชาการ แตไ มไ ดน ํามาขอรบั การประเมนิ ตําแหนงทางวชิ าการ
๙.๒ จาํ นวนงานสรางสรรคท ง้ั หมด
๙.๒.๑ จํานวนงานสรางสรรคท ม่ี ีการเผยแพรส ูสาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึง่ หรอื ๐.๒๐
ผานส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส online
๙.๒.๒ จํานวนงานสรา งสรรคท ไ่ี ดร บั การเผยแพรในระดบั สถาบนั ๐.๔๐
๙.๒.๓ จาํ นวนงานสรางสรรคทไี่ ดร ับการเผยแพรใ นระดบั ชาติ ๐.๖๐
๙.๒.๔ จาํ นวนงานสรา งสรรคทไ่ี ดร บั การเผยแพรใ นระดบั ความรวมมือระหวา งประเทศ ๐.๘๐
๙.๒.๕ จํานวนงานสรา งสรรคทไ่ี ดร ับการเผยแพรใ นระดับภมู ภิ าคอาเซียน/นานาชาติ ๑.๐๐
๔๑

๙.๓ ผลรวมถว งนํา้ หนกั ของผลงานทางวชิ าการ ๒
๙.๔จาํ นวนอาจารยประจําและนกั วจิ ยั ทง้ั หมด (นบั รวมทล่ี าศกึ ษาตอ) ๒๓
๙.๕ รอยละของผลรวมถว งน้าํ หนกั ของผลงานทางวชิ าการตอจาํ นวนอาจารยป ระจํา ๑.๔๔
และนกั วิจยั ประจาํ

ขอ มลู หลกั ฐานประกอบการประเมิน ผลการดาํ เนนิ งาน เอกสารหลกั ฐาน
เกณฑการประเมิน
ใชเกณฑเฉพาะสถาบันกลุมขใน กลุม คณะแพทยศาสตรมผี ลงานทางวิชาการตพี มิ พ เอกสารผลงานตพี มิ พ ใน
สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เผยแพรต ามมาตรฐานคุมือการประกนั คุณภาพ วารสารระดับนานาชาติ
รอยละขอผลรวมถวงน้ําหนักของผลงาน การศึกษา International Journal of
ทางวิชาการของอาจารยประจําและ ผลรวมถวงน้าํ หนกั ของผลงานวิชาการของอาจารย Pharmacy and
นักวิจัยที่กําหนดไวเปนคะแนนเต็ม๕= ประจําและนกั วจิ ัย เทากบั รอ ยละ ๓๐ ตอจํานวน Pharmaceutical Sciences
รอ ยละ ๓๐ ขึ้นไป อาจารยแ ละนักวิจัยท้งั หมด ๒๓ ทา น มคี า 2015
กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ รอย ประเมนิ การดาํ เนินการ ๓๐ * ๒๓ /๑๐๐ คณะ
ละขอผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทาง ตอ งมผี ลงานวชิ าการ ๖.๙ เรือ่ ง เอกสารผลงานตีพมิ พ ใน
วิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ ดวยผลงาน ๒ เร่ือง คา ประเมิน ๕*๒ / ๖ วารสารระดบั นานาชาติ
กําหนดไวเปนคะแนนเต็ม ๕= รอยละ ๙ ไดค ะแนน ๑.๔๔ The efficacy of Gynura
๓๐ ข้ึนไป pseudochina
ก ลุ ม ส า ข า วิ ช า ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร แ ล ะ DC.var.hispida
สังคมศาสตร รอยละขอผลรวมถวง Thv.Ointment in
นํ้ า ห นั ก ข อ ง ผ ล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร ข อ ง Treating Chronic Plaque
อาจารยประจําและนักวิจัยที่กําหนดไว Psariasis :A Randomized
เปนคะแนนเตม็ ๕= รอ ยละ ๒๐ ข้นึ ไป Controlled Trial. :
Dhorramintta B.เอกสาร
หมายเลข
F๕๘-๒.๒.๒.๓.๑.๗

รายละเอียดผลงานทางวิชาการ
ไมม ี

๑. บทความวิจยั ที่ตพี มิ พใ นรายงานสืบเนอื่ งจากการประชุมวชิ าการระดับนานาชาตจิ าํ นวน ...๒... เร่อื ง
๑.๑ เร่ือง Molecular, histological, and anti-oxidant evaluation of colitis induction in rats by
different concentration of dextran sodium sulfate (5 KDa)..............................................................
ชื่อผวู ิจัย Achiraya Tammasakchai.......................................
แหลงเผยแพร ตพี มิ พใ นวารสารระดับนานาชาติ เรื่อง... ). International Journal of Pharmacy and
Pharmaceutical Sciences 2015...........................
๑.๒ The efficacy of Gynura pseudochina DC.var.hispida Thv.Ointment in Treating Chronic Plaque

Psariasis :A Randomized Controlled Trial. : Dhorramintta B.
ชือ่ ผวู จิ ยั Dhorramintta B. .......................................
แหลง เผยแพร ตพี มิ พในวารสารระดับนานาชาติ เรอ่ื ง... Journalof Alternative and Complementary Medicine

๒. ผลงานทไ่ี ดร ับการจดอนุสิทธบิ ตั ร จํานวน ......... ช้ิน
๒.๑ ชือ่ ผลงาน ..............................................................
ช่อื ผจู ดทะเบนี .......................................
จดเมือ่ วันท่ี (เดอื น.......-เดอื น........ ป..........)
๔๒

๓. ความวิจยั ทต่ี ีพิมพในวารสารวชิ าการระดบั ชาตทิ ่ปี รากฏในฐานขอ มลู TCI กลมุ .... จํานวน .....เรอ่ื ง
๓.๑เร่ือง ..............................................................
ช่ือผวู ิจัย .......................................
แหลง เผยแพร ตีพมิ พในวารสาร......................................... ปท ่ี ....... ฉบบั ที่ ........
(เดอื น.......-เดือน........ ป. .........) หนา .....................

๔. (รายละเอยี ดของผลงานทางวชิ าการ ตามคา นาํ้ หนกั อน่ื ๆ)
๔.๑(รายละเอียด)..........................................................................

๕. (รายละเอยี ดของผลงานทางวชิ าการ ตามคา น้ําหนักอื่นๆ)
๕.๑(รายละเอียด)..........................................................................
................................................................................................

ผลการประเมินตนเองในปน้ี ผลการดาํ เนินการ คะแนนประเมนิ ตนเอง การบรรลุเปาหมาย
เปา หมาย ๒/๒๓ = ๘.๗๐ (๘.๗๐/๓๐)*๕ = ๐.๑๓ ไมบ รรลุ


ผลการประเมินของคณะกรรมการในปน *ี้
เปาหมาย ผลการดาํ เนนิ การ คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ การบรรลุเปา หมาย
๓ ๒/๒๓ = ๘.๗๐ (๘.๗๐/๓๐)*๕ = ๐.๑๓ ไมบ รรลุ
* เพ่ิมตารางน้เี ม่อื ปรับเลม หลังการประเมนิ

จุดเดน/จดุ ทีค่ วรพฒั นา และแนวทางเสรมิ /แนวทางในการปรบั ปรงุ แนวทางเสรมิ จดุ เดน
จดุ เดน ขอเสนอแนะในการปรบั ปรุง

คณะวชิ ามีมลู นิธคิ ณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั สยาม
ที่ใหง บประมาณสนบั สนนุ ดานงานวิจัย

จุดที่ควรพฒั นา
- ควรสรางระเบียบการใชเ งนิ เพ่อื สนับสนุนงานวจิ ัยใหช ดั เจน
- คณะวิชาควรหาวธิ ีการกระตุน ใหอาจารยไ ดร บั ทนุ สนับสนุน
งานวิจัยมากขน้ึ
- คณะวิชาควรสรางระบบตางๆ เพ่ือสนับสนุนงานวิจัย เชน
จัดทาํ ระบบฐานขอ มูลนักวิจยั การพัฒนาความรูของอาจารยดา น
วิจยั และมกี ารยกยองสงเสรมิ อาจารย/ นักวิจัยทีม่ ผี ลงาน

วิธีปฏิบัติทีด่ ี / นวัตกรรม

๔๓

องคป ระกอบที่ ๓
การบริการวชิ าการ

ระบบและกลไก
คณะมีการกําหนดนโยบาย แผนงาน และโครงการเกี่ยวกบั การใหบรกิ ารวิชาการแกสงั คม โดยพฒั นาศักยภาพอาจารย

ใหเปน ครูทด่ี แี ละสามารถผลติ ผลงานวิชาการท่ีมปี ระโยชนต อ การเรยี น การสอน วิชาชพี และสงั คมและเพื่อการท่จี ะเปนทีย่ อมรับ
ในระดับชาติและนานาชาติในกาลตอไปรวมทั้งสงเสริมและพัฒนาดานการบริการวิชาการเพ่ือใหเปนผูอยูในแนวหนาของการ
บริการวิชาการแกสังคมและชวยช้ีนําสังคม มีการบริการวิชาการในหลากหลายรูปแบบ เชน กิจกรรมเผยแพรความรูแกชุมชน
และสงั คม เพอ่ื เสริมสรางความเขม แขง็ ของชุมชน หรอื ภาคเอกชน หรอื ภาครัฐ หรือหนวยงานวิชาชีพตา งๆ

การประเมนิ ผลตามองคประกอบ ๑ เกณฑในการประเมนิ ๕ ผล
ตัวบง ช้ี มกี าร มกี าร ประเมิน
ดาํ เนินงาน ๒๓๔ ดาํ เนินงาน ตนเอง
๓.๑ ระบบและกลไกการบรกิ ารทาง ๑ ขอ มีการ มีการ มกี าร ๖ ขอ
วิชาการแกส งั คม ดาํ เนนิ งาน ดําเนนิ งาน ดําเนนิ งาน ๓/ ๑ ๓
๒ ขอ ๓ - ๔ ขอ ๕ ขอ (๔ ขอ)

ผลการประเมินองคป ระกอบท่ี ๓ ๓

ตวั บงชี้ท่ี ๓.๑
การบริการทางวิชาการแกส ังคม

เกณฑม าตรฐานและขอมูลหลกั ฐานประกอบการประเมนิ ขอมลู หลกั ฐาน
เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนนิ งาน
๑.จัดทาํ แผนการบริการวิชาการประจําปท ี่ -คณะใหค วามสําคญั กับการจดั โครงการบรกิ ารวิชาการ รายงานการประชุม ผูน ํา
สอดคลองกับความตองการของสังคมและ แกสงั คมตลอดมาโดยถอื เปนภารกจิ หลกั ดา นหนง่ึ ของ ชุมชน
กําหนดตัวบงชี้วัดความสําเร็จในระดับ คณะโดยคณะมแี ผนการจดั บรกิ ารวชิ าการแกส งั คม (เอกสารหมายเลข F๕๘-
แผนและโครงการบริการวิชาการแกสังคม เพ่อื ใหค รอบคลมุ ชุมชนทต่ี องการบรกิ ารและกอ ใหเกิด ๕.๕.๒.๓.๒๐)
และเสนอกรรมการประจําคณ ะเพื่อ ประโยชนต อ สงั คมอยางแทจ ริงโดยกาํ หนดการใหบรกิ าร รายงาการตรวจเยยี่ มชมุ ชน
พจิ ารณาอนมุ ัติ วชิ าการแกส งั คมไว คือ ๑. รว มกบั มหาวทิ ยาลยั สยาม จรัลสนิทวงศฝ งซาย
๒. คณะคดั เลือกชมุ ชน เปาหมายทีไ่ มไกลจาก
มหาวทิ ยาลยั ท่ี นกั ศกึ ษาสามารถลงเยี่ยมพืน้ ท่ไี ด โดย
นาํ ความรูท างวิชาการวิชาชพี ลงไปบรกิ ารแบบใหเ ปลา
๓. สนับสนนุ ใหอาจารยในคณะเปน วทิ ยากรเผยแพร
ความรูแกชมุ ชน
คณะไดกําหนดตวั ช้ีวัดวา
๑. ความสําเรจ็ ของแผน ตองไมนอ ยกวารอยละ ๘๐
๒. จาํ นวนเรอ่ื งของการบริการเผยแพรความรู ไมน อย
กวา ๑๐ เร่ืองตอ ป และโครงการพรอมตัวช้ีวัดเสนอ
คณะกรรมการบรหิ าร เรยี บรอยแลว

๒. โครงการบริการวิชาการแกสังคมตาม จดั ทําโครงการดแู ลสขุ ภาพระยะ 3 ป ในชุมชน โครงการดูแลสุขภาพชุมชน
แผน มีการจัดทําแผนการใชประโยชนจ าก การใชประโยชนก ารบริการจะเกิดผลดังน้ี (เอกสารหมายเลข F๕ ๘ -

๔๔

การบริการวิชาการเพื่อใหเกิดผลตอการ ๑.นักศึกษาแพทยสามารถนําความรูภาคทฤษฎีสูการ ๕.๕.๒.๓.๒๐)
พัฒนานกั ศึกษา ชุมชน หรอื สังคม ปฏิบัติ และเรียนรูการเขาถึงผูปวยในชุมชน การ
แกปญหาเฉพาะหนา
๒.ชุมชนไดประโยชนในเร่ือง คุณภาพชีวิต คนใน
ชมุ ชนดีขน้ึ
๓.สังคมจะเกิดการแบงปน ชวยเหลือกัน และ
แลกเปลีย่ นประสบการณก ันมากขน้ึ

๓. โครงการบริการวิชาการแกสังคมในขอ โครงการบริการชุมชน จรัลสนิทวงศฝงซาย บริการ รายงานการประชุม ผนู าํ
๑ อยางนอย ตองมีโครงการที่บริการแบบ วิชาการท่ีทางคณะจัดทํา เปนโครงการบรกิ ารแบบให ชุมชน
ใหเปลา เปลา (เอกสารหมายเลข F๕ ๘ -
๕.๕.๒.๓.๒๐)
๔. ประเมินความสําเร็จตามตัวบงชี้ของ โครงการอยูระหวางการดําเนินการ ซึ่งรายงาน รายงานการประชมุ
แผนและโครงการบริการวิชาการแกสังคม ความกาวหนา ใหก รรมการบริหารคณะทราบ กรรมการบรหิ ารคณะF๕๘-
ในขอ ๑ และนําเสนอกรรมการประจํา ๔.๔.๑.๑.๒
คณะ เพื่อพจิ ารณา
๕. นําผลการประเมินตามขอ ๔ มา มีแผนการดําเนินการปรับปรุงการปฏิบัติการณ ทุก รายงานการประชมุ สรปุ
ปรับปรุงแผนหรือพัฒนาการใหบริการ ข้นั ตอน เมือ่ ออกลงพ้นื ท่ี โครงการการสาํ รวจชุมชน
วิชาการสังคม วันท่ี ๒๗ กรกฏาคม ๒๕๕๙
เอกสารหมายเลข F๕๘-
๕.๕.๒.๓.๒๐
๖. คณะมีสวนรวมในการบริการวิชาการ คณะแพทยไดเขารวมบริการวิชาการแกสังคมระดับ เอกสารเชิญอาจารยบรรยาย
แกส งั คมในระดับสถาบัน สถาบัน โดยคณะ มีอาจารยผูทรงคุณวุฒิเปนจํานวน ตามสถาบนั ตางๆ เอกสาร
มาก ที่ไดรับเชิญจากสถาบันตางๆในการบริการ หมายเลข๕๘-๒.๒.๒.๖.๖
วชิ าการ

เกณฑการประเมิน คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
คะแนน ๑ มีการดําเนินการ มีการดําเนนิ การ มกี ารดาํ เนินการ มีการดําเนินการ

มกี ารดําเนินการ ๒ ขอ ๓-๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ
๑ ขอ

ผลการประเมนิ ตนเองในปน ้ี ผลการดาํ เนินการ คะแนนประเมนิ ตนเอง การบรรลเุ ปาหมาย
เปา หมาย ๔ ขอ ๓ บรรลุ


ผลการประเมินของคณะกรรมการในปน *้ี
เปา หมาย ผลการดาํ เนินการ คะแนนประเมนิ จากคณะกรรมการ การบรรลุเปา หมาย
๕ ๔ ขอ ๓ บรรลุ
* เพ่มิ ตารางน้เี มือ่ ปรบั เลม หลังการประเมิน

๔๕

จุดเดน/จุดทคี่ วรพฒั นา และแนวทางเสริม/แนวทางในการปรับปรุง แนวทางเสริมจดุ เดน
จุดเดน

มีอาจารยอาวุโสทมี่ ีประสบการณส ูงดานการเปนวทิ ยากร ขอเสนอแนะในการปรบั ปรุง
แกสงั คม

จุดที่ควรพัฒนา
- มีโครงการบริการวิชาการแกสังคมหลากหลาย แตยังขาดการ
ติดตามประเมินผลอยางตอเน่ือง คณะวิชาควรทําใหชัดเจนมาก
ข้ึน
- เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีฐานชุมชนท่ีเขาไปรวมพัฒนาอยูแลว
คณะวิชาควรใชโอกาสนี้ในการเขาไปรวมกิจกรรมการพัฒนาใน
ชุมชนน้ันๆ อยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดการบูรณาการดานตางๆ
และเกิดผลลพั ธทเ่ี ปนประโยชนตอ ชุมชนมากข้นึ

วธิ ีปฏิบัติที่ดี / นวตั กรรม

๔๖

องคป ระกอบท่ี ๔
การทาํ นบุ าํ รุงศิลปะและวฒั นธรรม

ระบบและกลไก
คณะตระหนักถึงความสําคญั ของการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม จึงไดมีการกําหนดนโยบายและแผนงานเกี่ยวกับ

การทํานุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรมไวกับพันธกิจของคณะ รวมทั้งสนบั สนุนใหคณาจารย/บุคลากรและนกั ศึกษาไดมีสวนรวมใน
กิจกรรมตา งๆที่เกี่ยวขอ งกบั การทํานุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรม นอกจากน้มี หาวทิ ยาลยั ไดสรางระบบและกลไกในการดาํ เนนิ การ
ดานนี้ใหเกิดประสิทธิภาพ มุงสรางจิตสํานึกในการอนุรักษท้ังวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมนานาชาติเพื่อเตรียมความพรอมใน
การเขา สสู งั คมพหวุ ัฒนธรรม

การประเมินผลตามองคป ระกอบ เกณฑใ นการประเมนิ ผล
ตัวบง ช้ี ประเมนิ
๑ ๒๓๔ ๕ ตนเอง
๔.๑) ระบบและกลไกการทาํ นุบํารงุ มีการ มีการ มกี าร มกี าร
ศลิ ปะและวฒั นธรรม ดาํ เนนิ งาน ดาํ เนนิ งาน ดําเนนิ งาน ดาํ เนนิ งาน มกี าร ๔
๑ ขอ ๒ ขอ ๓-๔ ขอ ๕ ขอ ดาํ เนนิ งาน (๕ขอ )
๖-๗ ขอ
ผลการประเมินองคประกอบที่ ๔ ๔
๔/๑

ตวั บงช้ีท่ี ๔.๑
ระบบและกลไกการทาํ นุบํารงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม

เกณฑมาตรฐานและขอ มลู หลกั ฐานประกอบการประเมนิ ขอ มลู หลกั ฐาน
เกณฑมาตรฐาน ผลการดาํ เนนิ งาน
๑. กําหนดผูรับผิดชอบในการ คณะมอบหมายใหฝ ายกิจการนกั ศกึ ษา รับผิดชอบ -แตงต้ังกรรมการทํานุบํารุงศิลป
ทาํ นบุ าํ รงุ ศิลปะและวัฒนธรรม และวัฒนธรรม(เอกสารหมายเลข
F ๕๘-๔.๔.๑.๑.๑๔
๒. จัดทําแผนดานทํานุบํารุง -มแี ผนการทาํ นุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรมและ -ขอ มูลเชิงประจกั ษต างๆ เอกสาร
ศิ ล ป ะแ ล ะ วัฒ น ธรรม แล ะ ดาํ เนนิ การตามระบบทก่ี าํ หนด หมายเลข F๕๘-๔.๔.๑.๒.๑๕
กําหนดตัวบงช้ีวัดความสําเร็จ
ต าม วัต ถุ ป ระ ส งค ข อ งแ ผ น
รวมท้งั จดั สรรงบประมาณเพอื่ ให
สามารถดาํ เนนิ การไดต ามแผน
๓ . กํ ากั บ ติ ด ต าม ให มี ก าร มีคณบดีทําหนาที่กํากับดูแล และติดตามการ ผลการประเมินกิจกรรม เอกสาร
ดําเนินงานตามแผนดานทํานุ ดาํ เนินการตามการประกันคุณภาพของคณะ โดยมี หมายเลข F๕๘-๔.๔.๑.๓.๑๖
บาํ รุงศิลปะและวฒั นธรรม การายงานทุกเดือน
รายงานการประชุม
กรรมการบริหารคณะ เอกสาร
หมายเลข
F๕๘-๔.๔.๑.๑.๒
๔. ประเมินผลความสําเร็จตาม -คณะมีการประเมินการดําเนินการแตละโครงการ -ผลการประเมินกิจกรรม เอกสาร
ตัวบงช้ีที่วัดความสําเร็จตาม เพือวัดความพึงพอใจ ความรูที่ไดจากการทํานุ หมายเลข F๕๘-๔.๔.๑.๓.๑๖
วัตถุประสงคของแผนดานทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม และ การใชเวลาใหเกิด

๔๗

เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนนิ งาน ขอมลู หลกั ฐาน
บํารงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม ประโยชน รวมทั้งการไดทํากิจกรรมรวมกันของน
ศพ.ทุกชั้นป กลอมเกลาใหเกิดทัศนคติที่ดีตอการ
เขารว มกจิ กรรม
๕. นาํ ผลการประเมินไปปรบั ปรุง -นําผลการประเมินกิจกรรมในปท่ีแลวมาปรับปรุง -ผลการประเมินกิจกรรม เอกสาร
แผนหรือกิจกรรมดานทํานุบํารุง การดาํ เนินการในปนี้ และปตอ ไป หมายเลข F๕๘-๔.๔.๑.๓.๑๖
ศลิ ปะและวัฒนธรรม

๖. เผยแพรกิจกรรมหรือการ -มกี ารเสนอในขา วของมหาวทิ ยาลัย -เอกสารประชาสัมพันธ และเว็บ
บริการดานทํานุบํารุงศิลปะและ -เผยแพร website คณะอยา งตอ เนื่อง ไซดคณะแพทย(เอกสารหมายเลข
วัฒนธรรมตอสาธารณชน F๕๘-๔.๔.๑.๖.๑๗)
-Website
๗. กําหนดหรือสรางมาตรฐาน - ยงั ไมมี เน่ืองจากรูปแบบการดาํ เนนิ การ :www.medsiamu.com
ดานศิลปะและวัฒนธรรมซ่ึงเปน ปรบั เปลยี่ นตามความเหมาะสมของเวลาท้งั
-

ที่ยอมรบั ในระดบั ชาติ อาจารยและนกั ศึกษา จงึ ยังหาแบบอยา งทดี่ ไี มไ ด

เกณฑการประเมนิ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
คะแนน ๑ มกี ารดําเนนิ การ มกี ารดําเนนิ การ มกี ารดําเนนิ การ มีการดําเนนิ การ

มีการดําเนนิ การ ๒ ขอ ๓-๔ ขอ ๕ ขอ ๖-๗ ขอ
๑ ขอ

ผลการประเมินตนเองในปนี้ ผลการดําเนินการ คะแนนประเมนิ ตนเอง การบรรลเุ ปาหมาย
เปา หมาย ๔ขอ ๔ บรรลุ


ผลการประเมินของคณะกรรมการในปน *ี้ การบรรลุเปาหมาย
เปาหมาย ผลการดาํ เนนิ การ คะแนนประเมนิ ตนเอง
๕ ๔ขอ ๔ บรรลุ
*เพิม่ ตารางนี้เมอ่ื ปรับเลม หลังการประเมนิ
จดุ เดน/จดุ ทค่ี วรพัฒนา และแนวทางเสรมิ /แนวทางในการปรับปรงุ
จดุ เดน แนวทางเสริมจุดเดน

จุดท่ีควรพฒั นา ขอเสนอแนะในการปรบั ปรงุ
ควรประเมินและนาํ ผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ ใหช ัดเจนมากขนึ้

วธิ ปี ฏิบตั ทิ ดี่ ี / นวัตกรรม

๔๘


Click to View FlipBook Version