The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yonniyom.jel, 2022-09-12 22:22:05

PA 1 2565

ilovepdf_merged

แบบข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA)

สาหรบั ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย

ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2565

ระหวา่ งวนั ท่ี 1 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ที่ 30 เดือน กนั ยายน พ.ศ.2565

วPA

นางสาวกฤษณวรรณ ยนตน์ ิยม
ตาแหน่งครผู ชู้ ่วย

โรงเรียนบา้ นทบั ผงึ้

สงั กดั สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเขต 2
สงั กดั สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน

กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

วPA

โรงเรียนบ้านทบั ผงึ้

สงั กดั สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษุโขทยั เขต 2
สงั กดั สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร



คำนำ

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) จัดทำขึน้ เพอ่ื นำเสนอข้อตกลงในการพัฒนางานสำหรับ
ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหว่างวนั ที่ 1
ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565 ท่ไี ดเ้ สนอตอ่ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา เพื่อแสดง
เจตจำนงวา่ ภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลพั ธ์การเรียนร้ขู องผู้เรียน เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะ
คุณลกั ษณะประจำวิชา คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์และสมรรถนะท่ีสำคญั ตามหลักสูตรให้สงู ข้นึ
โดยสะทอ้ นให้เห็นถึงระดบั การปฏบิ ัติที่คาดหวังของตำแหน่งและวิทยฐานะทีด่ ำรงอยู่ และสอดคลอ้ งกบั
เป้าหมายและบริบทสถานศกึ ษา นโยบายของสว่ นราชการและกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยผู้อำนวยการ
สถานศึกษาได้เหน็ ชอบใหเ้ ป็นขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่

สว่ นท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
สว่ นที่ 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานทีเ่ ป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธก์ ารเรียนร้ขู องผ้เู รยี น

ซ่งึ ขอ้ มลู ทไี่ ด้นำเสนอนี้ ข้าพเจา้ จะนำไปพัฒนาผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ของผเู้ รียน โรงเรยี นบา้ นทบั ผ้งึ
สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสโุ ขทัยเขต 2 ให้เกดิ ประสิทธภิ าพตอ่ ไป

นางสาวกฤษณวรรณ ยนตน์ ิยม
ตำแหน่ง ครูผูช้ ่วย
โรงเรียนบา้ นทับผ้ึง

สารบัญ ข
เรอื่ ง
หนา้
คำนำ
สารบัญ ก
ผจู้ ดั ทำขอ้ ตกลง ข
1
ข้อมูลท่วั ไป 1
หอ้ งเรียนท่จี ัดการเรยี นรู้ 1
ส่วนท่ี 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง่ 1
1. ภาระงาน 1
2. งานท่ีจะปฏบิ ัติตามมาตรฐานตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย 2
2
ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ 4
ด้านการสง่ เสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ 5
ด้านการพฒั นาตนเองและวชิ าชพี 7
สว่ นที่ 2 ข้อตกลงในการพฒั นางานท่เี ป็นประเด็นทา้ ทาย 7
ประเด็นทา้ ทาย 7
สภาพปัญหาของผู้เรยี นและการจัดการเรียนรู้ 8
วธิ กี ารดำเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล 8
ผลลัพธก์ ารพัฒนาท่ีคาดหวัง 9
ความเหน็ ของผู้อำนวยการสถานศึกษา
ภาคผนวก ง
การสรุปแบบข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) จ
แบบประเมินขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) ซ
แนวทางการศกึ ษาช่วั โมงในการสอน

1

แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA)
สำหรับขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย
โรงเรยี นบ้านทบั ผึง้ สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุโขทัย เขต 2

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวันท่ี 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ท่ี 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565

ผจู้ ดั ทำขอ้ ตกลง
ชอื่ นางสาวกฤษณวรรณ นามสกุล ยนต์นิยม ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย
สถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทับผ้งึ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุโขทยั เขต 2
รบั เงินเดือนในอันดับ ครผู ู้ชว่ ย อตั ราเงินเดอื น 15,800 บาท
ประเภทหอ้ งเรียนท่จี ดั การเรียนรู้

◻ ห้องเรยี นวชิ าสามญั หรอื วิชาพืน้ ฐาน

☑ หอ้ งเรยี นปฐมวยั

◻ หอ้ งเรียนการศึกษาพิเศษ

◻ หอ้ งเรียนสายวชิ าชีพ

◻ ห้องเรยี นการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศยั

ขา้ พเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพฒั นางาน ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย ซ่งึ เปน็ ตำแหน่ง
ท่ดี ำรงอยู่ในปัจจบุ ันกบั ผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดงั ต่อไปน้ี

ส่วนท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง

1. ภาระงาน จะมีภาระงานเปน็ ไปตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด

1.1 ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16:40 ชั่วโมง/สัปดาห์ดงั นี้

- กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ จำนวน 1:40 ชวั่ โมง/สัปดาห์

- กิจกรรมสรา้ งสรรค์ จำนวน 3:20 ชว่ั โมง/สัปดาห์

- กจิ กรรมเสรี/เล่นตามมุม จำนวน 3:20 ชวั่ โมง/สัปดาห์

- กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ จำนวน 2:30 ช่วั โมง/สัปดาห์

- กิจกรรมกลางแจง้ จำนวน 3:20 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

- กิจกรรมเกมการศึกษา จำนวน 3:20 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ จำนวน 4 ช่ัวโมง/สัปดาห์

- การจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

- การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

- การสร้างและพฒั นาสอ่ื การสอน จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

- กจิ กรรมโฮมรูมและตรวจสุขภาพนกั เรยี น จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.3 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ จำนวน 18 ชวั่ โมง/ภาคเรียน

- โครงการพฒั นาการจัดการศึกษาปฐมวัย จำนวน 6 ช่วั โมง

- พฒั นางานสขุ อนามยั ของนักเรียน จำนวน 6 ชั่วโมง

- ศึกษาอบรมสัมมนาของบุคลากรในโรงเรยี น จำนวน 6 ช่ัวโมง

2

2. งานทจ่ี ะปฏิบตั ิตามมาตรฐานตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชว้ี ดั (Indicators)

ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัติ ทจ่ี ะดำเนินการพฒั นา (Outcomes) ทจ่ี ะเกิดข้นึ กับผเู้ รียน
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตาม ท่ีแสดงใหเ้ หน็ ถึงการ
ขอ้ ตกลง เปลย่ี นแปลงไปในทาง
การประเมิน

ทค่ี าดหวงั ให้เกิดขึ้น ที่ดขี ้ึนหรือมกี ารพัฒนา

กับผ้เู รียน มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธิ์

สูงขน้ึ

1. ดา้ นการจดั การเรียนรู้ 1. พัฒนาหลักสตู ร และการ 1. ผเู้ รยี นสามารถ 1.นกั เรียนเรียนรอ้ ยละ 70

ลกั ษณะงานท่เี สนอให้ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ อธบิ ายเรอ่ื งทเ่ี รียนรู้ มีผลการพฒั นาคณุ ภาพ

ครอบคลุมถงึ การสร้างและ - จัดทำหลกั สูตรปฐมวัย โดยมีการ ได้ เปน็ ไปตามคา่ เปา้ หมายท่ี

หรอื พฒั นาหลักสตู ร การ วเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้และ สถานศึกษากำหนด

ออกแบบการจดั การเรียนรู้ ตัวช้ีวัด โครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เลือกหนว่ ยการเรยี นรูท้ เ่ี หมาะสมกบั

การสรา้ งและหรือพัฒนาส่ือ บรบิ ทของสถานศึกษา

นวตั กรรม เทคโนโลยี และ ผเู้ รียน ทอ้ งถ่นิ และสามารถนำไป

แหลง่ เรียนรู้ การวัดและ ปฏิบัตจิ ริงได้ ในรูปแบบแผนการจดั

ประเมนิ ผลการจัดการ ประสบการณ์การเรยี นรู้

เรยี นรู้ การศึกษา วเิ คราะห์ 2. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 2. ผ้เู รียนไดร้ ับการ 2. นกั เรียนร้อยละ 70 ได้รบั

สังเคราะห์ เพอ่ื แกป้ ญั หา ตามแนวทาง Active Learning เน้น จดั กิจกรรมตาม การสง่ เสรมิ ทกั ษะการคิด

หรอื พฒั นาการเรียนรู้ การ ใหน้ กั เรียนเรียนรโู้ ดยการปฏิบตั ิจริง วตั ถปุ ระสงค์และสอ่ื กล้าตดั สนิ ใจ ผา่ นเกม

จดั บรรยากาศทีส่ ่งเสริมและ ใชส้ ื่อใกลต้ ัวอยา่ งหลากหลาย โดย ท่ีหลากหลาย การศึกษาและการจำลอง

พัฒนาผ้เู รยี น และการ การมสี ว่ นร่วมกบั ผูป้ กครองท่ีบ้าน สถานการณ์

อบรมและพัฒนา แบบใช้เกมการศึกษาและการจำลอง

คณุ ลักษณะที่ดีของผู้เรียน สถานการณ์ ระดับชั้นอนุบาลปที ี่ 2

และ 3 โรงเรียนบ้านทบั ผึง้

3. ดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการ 3. ผเู้ รียนได้รบั การ 3. นักเรยี นรอ้ ยละ 70 มีผล

ระดับปฐมวัยทต่ี อบสนองนโยบาย พฒั นาทัง้ 4 ดา้ น ประเมนิ พฒั นาการอยู่ใน

และจุดเน้นที่สง่ ผลต่อพฒั นาการ ระดบั ดที ุกดา้ น

ทงั้ 4 ดา้ นของนักเรยี น

3

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตวั ชี้วัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจ่ี ะดำเนินการพฒั นา (Outcomes) ที่จะเกิดขน้ึ กับผูเ้ รยี น
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงใหเ้ ห็นถึงการ
ทค่ี าดหวังให้เกิดข้ึน เปลย่ี นแปลงไปในทาง
การประเมิน ท่ดี ีขึ้นหรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) กับผ้เู รยี น มากข้ึนหรือผลสมั ฤทธิ์
(โปรดระบ)ุ สงู ขน้ึ (โปรดระบุ)
4. การสรา้ งส่อื การสอนตามหนว่ ย
การเรยี นรใู้ นรปู แบบ onsite ใน
การจัดการเรียนการสอน
5. การวดั และประเมนิ ผลการ
จัดการเรียนรใู้ ชก้ ารประเมนิ ที่
หลากหลาย เหมาะสม และ
สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชว้ี ัด โดยการประเมินตาม
สภาพจรงิ การตรวจประเมนิ ผล
งาน, สอบถาม สัมภาษณ์, สรา้ ง
แบบทดสอบเกมการศึกษาสำหรับ
เด็กปฐมวัย การใชก้ ลา้ มเน้ือมือ
6. การจัดบรรยากาศในการเรียนรู้
แบบ Onsite โดยให้นักเรยี น
เรยี นรู้ในการลงมือปฏิบตั จิ ริง มี
ทักษะชีวิตและทักษะการทำงาน
และเป็นการสรา้ งสุขนสิ ยั ให้
นักเรียนเรยี นมคี วามกตญั ญูมี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มที่ดี
งาม และมีความมนั่ ใจในการ
พฒั นาตนเอง

* ในกรณีท่ีมีการแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา่ 2019
และสง่ ผลตอ่ การปรับเป็นรปู แบบ
การจดั กจิ กรรมการเรยี นในแบบ
OnHand, Online และ
OnDemand
1. ดำเนนิ การสร้างสือ่ พัฒนาคลปิ
การสอนตามหน่วยการเรียนรู้ใน
รูปแบบออนไลนโ์ ดยใชก้ ารเรียนรู้

4

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่จี ะดำเนนิ การพฒั นา (Outcomes) ท่จี ะเกิดข้นึ กบั ผ้เู รยี น
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ทคี่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ขึ้น เปล่ยี นแปลงไปในทาง
การประเมิน ทดี่ ขี นึ้ หรอื มีการพัฒนา
(โปรดระบุ) กบั ผู้เรยี น มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธ์ิ
(โปรดระบ)ุ สูงขึน้ (โปรดระบ)ุ
แบบ OnHand, Online และ
OnDemand ผ่านแอฟพลิเคชั่น
ตา่ งๆ เพื่อใช้ในการจดั การเรยี น
การสอนในชว่ งสถานการณ์การ
ระบาดดว้ ยโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า
2019
2. การวัดและประเมินผลการ
จัดการเรียนรโู้ ดยพัฒนาเคร่ืองมอื
ประเมินผลทห่ี ลากหลาย
เหมาะสม และสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั โดย
การประเมินตามสภาพจรงิ เช่น
ตรวจประเมินผลงาน, สอบถาม
สมั ภาษณ์, และประเมนิ ผลโดยใช้
เทคโนโลยี สร้างแบบทดสอบเกม
การศึกษาสำหรบั เด็กปฐมวัย
3. การจดั บรรยากาศในการเรียนรู้
แบบ Online โดยการสร้าง
สถานการณ์ทบี่ า้ นใหน้ ักเรยี นได้
ปฏิบัตจิ ริง มีทกั ษะชวี ิตและทักษะ
การทำงานและเปน็ การบม่ นิสัยให้
นกั เรียนเรียนมีความกตัญญูมี
คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี
งาม และมีความมนั่ ใจในการ
พฒั นาตนเองเตม็ ตามศักยภาพ

5

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวชวี้ ัด (Indicators)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ท่จี ะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดขนึ้ กับผเู้ รียน
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามขอ้ ตกลง ทีแ่ สดงใหเ้ ห็นถึงการ
2. ด้านการส่งเสริมและ
สนับสนุน การประเมิน ท่ีคาดหวังให้เกดิ ข้ึน เปลีย่ นแปลงไปในทาง
ลักษณะงานท่ีเสนอให้
ครอบคลุมถงึ การจดั ทำ (โปรดระบุ) กับผเู้ รียน ที่ดีข้ึนหรอื มีการพฒั นา
ขอ้ มลู สารสนเทศของผู้เรียน
และรายวิชา การดำเนินการ (โปรดระบ)ุ มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธิ์
ตามระบบดูแลช่วยเหลอื
ผ้เู รยี น การปฏิบตั งิ าน สงู ขึ้น (โปรดระบุ)
วชิ าการ และงานอน่ื ๆ ของ
สถานศกึ ษา และการ 1. รายงานกจิ กรรมการติดตาม 1.ผเู้ รียนมขี อ้ มลู 1. .ผเู้ รยี นร้อยละ 100 มกี าร
ประสานความร่วมมือกับ
ผูป้ กครอง และหรือสถาน นักเรยี นตามระบบดแู ลช่วยเหลือ สารสนเทศทางการ นำข้อมลู ทจี่ ัดเกบ็ เป็นระบบ
ประกอบการ
นกั เรียนเพื่อช่วยเหลอื ผูเ้ รียน เรยี นในการพัฒนาการ มาใช้ในการจัดการเรียนการ

ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ครบทุกด้านและข้อมลู สอนได้

ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019 สารสนเทศเก่ียวกับ

ดว้ ยวธิ กี าร “เย่ยี มบ้าน100%” ครอบครวั ที่ถกู ต้องเป็น

ระบบ สามารถนำ

ขอ้ มลู มาใช้ได้ทันที

2. การติดตามการจดั การเรยี นการ 2. ผู้ปกครองนักเรียน 2. ผเู้ รียนและผปู้ กครองร้อย

สอนและการแจง้ ข่าวสาร ผา่ น สามารถติดต่อ ละ 100 สามารถแลกเปล่ยี น

แอปพลิเคชน่ั LINE หรือช่อง ประสานงานผา่ นครู เรียนรู้ผา่ นชอ่ งทางการ

ทางการตดิ ต่ออ่ืน ๆ และจัดทำ ประจำชนั้ ไดท้ นั ท่วงที ส่ือสารต่างๆ เช่น โทรศพั ท์

จดหมายข่าวในระดับชน้ั ปฐมวัย โดยเหมาะสมกับความ LINE และ FACEBOOK ได้

เพือ่ แจง้ ขา่ วสารสรา้ งความร่วมมอื จำเป็นของฐานะ ตลอดเวลา

กบั ผ้ปู กครองในการพฒั นา ครอบครัวแต่ละ

นักเรยี น ครอบครวั สามารถ

เลือกช่องทางการ

สือ่ สารกบั ครปู ระจำช้นั

ได้

3. จดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศของ 3. ผู้ปกครองนักเรยี น 3. ผ้เู รยี นและผปู้ กครองร้อย

นักเรยี นเรียนเป็นรายบคุ คลรวมถงึ สามารถติดตามผลการ ละ 70 สามารถติดตามผล
การติดตามผลการเรียนผา่ นระบบ เรียนของนักเรยี นผา่ น การเรยี นผ่านระบบออนไลน์
ออนไลน์ ระบบออนไลน์ได้ ได้ตลอดเวลา

6

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตวั ช้ีวัด (Indicators)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ท่ีจะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ทจี่ ะเกิดข้ึนกบั ผู้เรียน
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ
ทค่ี าดหวังให้เกิดขน้ึ เปล่ียนแปลงไปในทาง
การประเมิน

(โปรดระบ)ุ กบั ผเู้ รยี น ทีด่ ีข้ึนหรือมกี ารพฒั นา

(โปรดระบ)ุ มากข้นึ หรือผลสัมฤทธ์ิ

สูงขน้ึ (โปรดระบุ)

3. ดา้ นการพัฒนาตนเอง 1.การพัฒนาตนเองอย่างเปน็ 1.ผู้เรยี นมคี วามพึง ผเู้ รยี นมคี วามพึงพอใจใน

และวชิ าชีพ ระบบและต่อเนื่อง พอใจในการไดร้ บั การ การจดั การเรียนการรูข้ องครู

ลกั ษณะงานทเ่ี สนอให้ - เขา้ รว่ มการประชมุ /อบรม/ บรกิ ารดา้ นความรู้และ โดยรวม ผ่านกิจกรรม “การ
ครอบคลุมถึง การพฒั นา สัมมนา ในสว่ นที่เกีย่ วข้องกบั ดา้ นอนื่ ๆ ในรปู แบบที่ ประเมินคุณภาพการจัดการ
ตนเองอยา่ งเป็นระบบและ ภาระหนา้ ทแี่ ละความรับผิดชอบ ทันสมยั ขนึ้ เรยี นการสอนของครูตาม
ตอ่ เนอ่ื ง การมสี ว่ นรว่ มใน และรายงานผลการประชุม/ 2.ผเู้ รยี นมีความพงึ ความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ าร
การแลกเปลี่ยนเรยี นรูท้ าง อบรม/สมั มนา อยา่ งเป็น พอใจในการได้รบั และผูน้ เิ ทศ” อยูใ่ นระดับ
วชิ าชพี เพื่อพัฒนาการ ระบบ และเผยแพร่ความรูท้ ี่ได้ บรรยากาศและ มากข้นึ ไป
จัดการเรียนรู้ และการนำ จากการประชุม/อบรม/สมั มนา ไป ประสบการณ์ใหมๆ่ ที่
ความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ ยังครทู ี่มสี ว่ นเก่ยี วข้อง เกดิ ข้นึ จากกิจกรรม
ทไ่ี ด้จากการพฒั นาตนเอง 2.การมสี ่วนร่วมในการแลกเปลีย่ น นเิ ทศการสอน
และวิชาชีพมาใชใ้ นการ เรียนรทู้ างวชิ าชีพเพ่ือพฒั นาการ 3.ผ้เู รียนมคี วามพึง
พัฒนาการจดั การเรียนรู้ การ จดั การเรียนรู้ พอใจในการได้รับการ
พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น และ 3. การนำความรู้ความสามารถ จดั ประสบการณก์ าร
การพฒั นานวตั กรรมการ ทักษะท่ีไดจ้ ากการพฒั นาตนเอง เรยี นร้ใู หม่ๆ ดว้ ย
จดั การเรียนรู้ และวชิ าชพี มาใช้ในการพัฒนาการ นวัตกรรมทคี่ รสู รา้ งขนึ้
จดั การเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ

ผเู้ รยี น และการพฒั นานวัตกรรม

การจัดการเรียนรู้

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพฒั นางานตามแบบ PA 1.ให้เปน็ ไปตามบรบิ ทและสภาพการ

จัดการเรยี นรขู้ องแตล่ ะสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหวา่ งผูอ้ ำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการ
ครูผจู้ ดั ทำข้อตกลง

2. งาน (Tasks) ท่เี สนอเปน็ ข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผดิ ชอบหลกั ที่
ส่งผลโดยตรงตอ่ ผลลพั ธ์การเรียนร้ขู องผเู้ รยี น และใหน้ ำเสนอรายวิชาหลกั ท่ที ำการสอน โดยเสนอในภาพรวม
ของการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

3. การพฒั นางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกบั ผลลัพธ์การเรยี นรู้ของผู้เรยี น
(Outcomes) และตัวช้วี ดั (Indicators) ที่เปน็ รูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมนิ ผลการ

7

พัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมินจากการปฏบิ ัติงานจรงิ สภาพการจดั การเรยี นรูใ้ น
บรบิ ทของแตล่ ะสถานศึกษา และผลลพั ธ์การเรียนรขู้ องผู้เรียนทเ่ี กดิ จากการพฒั นางานตามข้อตกลงเป็นสำคัญ
โดยไมเ่ น้นการประเมินจากเอกสาร

สว่ นที่ 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานที่เปน็ ประเดน็ ทา้ ทายในการพฒั นาผลลพั ธก์ ารเรยี นรูข้ อง
ผ้เู รียน

ประเด็นที่ทา้ ทายในการพัฒนาผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ของผ้เู รียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึง่ ปจั จุบันดำรง
ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย ต้องแสดงใหเ้ หน็ ถึงระดบั การปฏิบัติท่ีคาดหวงั คอื การปรับประยกุ ต์ การจัดการเรียนรแู้ ละ
การพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผู้เรยี น ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงไปในทางท่ดี ีขนึ้ หรอื มกี ารพัฒนามากขึ้น (ทั้งน้ี
ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เหน็ ถงึ ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สงู กว่าได้)

ประเด็นทา้ ทาย เร่ือง “การจัดประสบการณก์ ารเรียนร้โู ดยใช้เกมการศึกษาร่วมกับการจำลอง
สถานการณ์เปน็ ฐาน ในรปู แบบ Active Learning ระดับชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 และ 3 โรงเรยี นบ้านทบั ผง้ึ ”
เปน็ การจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามแนวทาง active learning เน้นให้นกั เรียนเรยี นรโู้ ดยการปฏบิ ัตจิ ริงจาก
สถานการณ์ท่กี ำหนดขึน้ ในแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้ประกอบกับการใชส้ ่อื ที่หลากหลาย เนน้ สอ่ื หาง่าย ใกลต้ วั
โดยการมสี ว่ นร่วมของผปู้ กครองเพ่ือใหน้ ักเรียนเกดิ ทักษะทางสมองอันส่งผลต่อพฒั นาการท้ัง 4 ด้านของเด็ก
ปฐมวยั

1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคณุ ภาพการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น
เนือ่ งด้วยผูจ้ ดั ทำข้อตกลงได้รับผิดชอบการจดั การเรียนการสอนในระดบั ชนั้ อนุบาลปที ่ี 2 และ 3 ได้
เลง็ เหน็ ถงึ สภาพปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้น นน่ั คอื หอ้ งเรยี นมคี วามตึงเครยี ดสำหรับการเรียนในบางสถานการณ์ ซึ่งส่งถึง
การพัฒนาศกั ยภาพด้านการคิดของสมองและด้านจิตใจไมเ่ ป็นไปตามพฒั นาการของเด็ก ดังนน้ั การปรับเปลี่ยน
หอ้ งเรียนจากการเรยี นทัว่ ไป เปลี่ยนเป็นรปู แบบการเรยี นควบคูไ่ ปกับการเล่น จะส่งผลให้เด็กเกดิ ความสนุก
ควบคไู่ ปกบั การเรยี นและมีความสุขไปกบั การเรยี น ส่งิ เหล่านี้เป็นสว่ นสำคญั ทีท่ ำให้เด็กเกิดการเรียนรไู้ ด้ดีและ
มปี ระสิทธภิ าพ อกี ทั้งยังเลง็ เหน็ ในเร่อื งของการพัฒนาดา้ นทกั ษะการคดิ การตัดสินใจทีเ่ ป็นสงิ่ สำคญั ตอ่ ตวั เด็ก
เพราะเดก็ ในวัยนี้ควรถูกปลกู ฝงั ให้มีทกั ษะกระบวนการกล้าคดิ กล้าตดั สินใจ มีกระบวนการในสมองในการ
เชอ่ื มโยงประสบการณเ์ ดิมและประสบการณ์ใหมผ่ า่ นกระบวนการลงมือปฏบิ ตั จิ ริงในเกมการศกึ ษาและ
สถานการณจ์ ำลอง ตามในรูปแบบ Learning by doing แบบ Active Learning อีกทั้งยงั สามารถพฒั นาดา้ น
อนื่ ๆ เชน่ ด้านความรับผิดชอบ(ความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีตนเอง , ความรบั ผดิ ชอบต่อของใช้ในหอ้ ง ตาม
โครงการแบ่งกันใชร้ ว่ มใจกนั เกบ็ , ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม) ดา้ นการมีวนิ ยั (การมีระเบียบวินัยทั้งในหอ้ งเรยี น
และนอกห้องเรียน) และด้านความสขุ ตามอตั ลักษณ์ของโรงเรียนบา้ นทับผงึ้ ไดอ้ ีกด้วย ดังน้นั การปลกู ฝงั่ เด็ก
ปฐมวัยในดา้ นความสุข การฝกึ การเช่อื มโยงประสบการณ์ ทัศนคติทีด่ ีตอ่ การเรยี นและการกล้าคดิ การตดั สนิ ใจ
จงึ มคี วามสำคัญอยา่ งย่ิงเพราะในช่วงปฐมวัยเปน็ ชว่ ง สำคญั ของการสรา้ งรากฐานของชวี ิต การอบรม เล้ียงดใู น
ระยะต้นของชีวติ ควรมีพนื้ ฐาน ในการใหค้ วามรัก ความสขุ และความอบอุ่นเปน็ สำคญั และเมื่อเด็กโตข้ึนเขา
จำเปน็ ท่จี ะต้องไดร้ บั สง่ิ แวดล้อมทจี่ ะสร้างเสริมพฒั นาการของเขาให้กว้างขวางออกไปซึ่งสภาพท่แี วดล้อมเด็ก
และทัศนคตขิ องพ่อแม่ จะเข้ามามอี ิทธพิ ลต่อเดก็ โดยเฉพาะแบบแผนของครอบครัวและวิธีการอบรมเลยี้ งดู
รวมทงั้ พฤติกรรมที่พ่อแม่ปฏิบตั ิต่อเด็กมีส่วนเกย่ี วข้อง กับพฒั นาการของเด็กโดยตรงท้ังสิ้นและมีงานวจิ ยั ว่า
เดก็ ในชว่ งวัย 3-6 ปี จะเป็นชว่ งเวลาทองของชวี ติ ในการพัฒนาทักษะให้กับเดก็ เพราะสมองจะมกี ารพฒั นา

8

ทกั ษะการทำงานทางสมอง ไดด้ ีท่ีสุด หากพน้ จากช่วงเวลานีไ้ ปถึงวัยเรยี น วัยรุน่ หรอื วยั ผู้ใหญ่ตอนตน้ แมจ้ ะ
ยงั พัฒนาได้ แตก่ ็จะไม่ได้ดีเท่ากบั ชว่ งปฐมวัย

2. วิธกี ารดำเนินการให้บรรลุผล
“การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรโู้ ดยใช้เกมการศกึ ษารว่ มกับการจำลองสถานการณ์เป็นฐาน ใน
รปู แบบ Active Learning ระดับชั้นอนุบาลปที ี่ 2 และ 3 โรงเรยี นบ้านทับผึง้ ” เปน็ การจดั กิจกรรมการ
เรียนรู้ตามแนวทาง Learning by doing แบบ active learning เน้นใหน้ กั เรียนเรยี นรโู้ ดยการปฏิบตั ิจรงิ จาก
สถานการณ์และเกมการศกึ ษาท่กี ำหนดข้ึนในแต่ละหน่วยการเรยี นรปู้ ระกอบกับการใช้ส่ือที่หลากหลาย เนน้
ส่ือหาง่าย ใกล้ตวั โดยการมีสว่ นร่วมชองผ้ปู กครองทบี่ ้านเพื่อใหน้ กั เรยี นเกดิ ทักษะทางสมองอันส่งผลต่อ
พัฒนาการทง้ั 4 ด้านของเด็กปฐมวยั

3. ผลลัพธ์การพัฒนาท่คี าดหวัง

3.1 เชงิ ปรมิ าณ

- นักเรียนช้นั อนุบาลปีที่ 2 และ 3 รอ้ ยละ 70 ได้รับการสง่ เสรมิ ทกั ษะการคิด กล้าตัดสินใจ
ผา่ นเกมการศกึ ษาและการจำลองสถานการณ์

3.2 เชิงคณุ ภาพ

- นักเรียนชัน้ อนุบาลปที ี่ที่ 2 และ 3 มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย, ด้านอารมณ์- จิตใจ, ดา้ น
สงั คม

ดา้ นสติปัญญา อยู่ในระดับดี
- มใี ช้สือ่ เกมในรปู แบบ Active Learning และใช้สถานการณจ์ ำลอง ประกอบส่ือท่ี
หลากหลายทง้ั ในห้องเรียนและนอกหอ้ งเรยี นในระดบั ชั้นอนบุ าลปที ี่ 2 และ 3 โรงเรยี นบ้านทบั ผง้ึ ซง่ึ
เป็นส่อื ที่สามารถใช้สอนได้ทง้ั แบบ Onsite และ Online

ลงชอ่ื ........................................................................
(..................................................)
ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย
ผจู้ ัดทำขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน
1 / ตลุ าคม / 2564

9

ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศกึ ษา
( ) เห็นชอบใหเ้ ป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไมเ่ ห็นชอบใหเ้ ปน็ ข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมขี ้อเสนอแนะเพือ่ นำไปแก้ไข และเสนอ

เพือ่ พิจารณาอีกคร้งั ดงั น้ี
............................................................................................................................. ...................................

............................................................................................... ...............................................................................
.................................................................................................................................... ..........................................

ลงชอ่ื .....................................................
(นายสยาม รตั นเพชร.)

ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านทับผึ้ง
1 / พฤศจิกายน / 2564



ภาคผนวก



การสรปุ แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA)

ขอ้ มลู ผู้จดั ทำ สว่ นที่ 1ขอ้ ตกลงในการพัฒนา ส่วนที่ 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นา
งานตามมาตรฐานตำแหน่ง งานท่เี ป็นประเดน็ ทา้ ทาย
➢ ช่ือ นางสาวกฤษณวรรณ
ยนต์นยิ ม ภาระงาน : - ประเด็นทา้ ทาย :
“การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้
➢ ตำแหน่งครผู ชู้ ว่ ย - ช่วั โมงตามการสอน 16:40 โดยใช้เกมการศกึ ษารว่ มกับการ
➢ โรงเรียนบา้ นทบั ผ้ึง ช่ัวโมง/สัปดาห์ จำลองสถานการณเ์ ป็นฐาน ใน
➢ ประเภทหอ้ งเรยี นทจี่ ดั การ รปู แบบ Active Learning
- งานส่งเสรมิ และสนับสนุนการ ระดบั ชนั้ อนบุ าลปีที่ 2 และ 3
เรียนรู้ จดั การเรียนรู้ 4 ช่วั โมง/สปั ดาห์ โรงเรยี นบา้ นทับผ้ึง”

- งานตอบสนองนโยบายและ สภาพปญั หาการจดั การเรยี นรู้
จุดเน้น 18 ช่ัวโมง/สัปดาห์ และคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผเู้ รียน
การพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ
งานปฏิบตั ิตามมาตรฐานตำแหนง่ กลา้ แสดงออก, ความสขุ และ
ครูผู้ช่วย : ทัศนคติที่ดตี อ่ การเรียน , การลงมอื
ปฏิบัตจิ รงิ Learning by doing
- ด้านการจัดการเรยี นรู้ แบบ Active Learning

ในสถานการณป์ กติ เรยี นแบบ วิธีการดำเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล :
onsite จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามแนวทาง
Learning by doing แบบ active
ในกรณีท่ีมกี ารแพรร่ ะบาดของ learning เนน้ ใหน้ ักเรยี นเรยี นรโู้ ดย
โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา่ 2019 และ การปฏบิ ัตจิ รงิ จากสถานการณ์และ
ส่งผลตอ่ การปรับเป็นรปู แบบการจัด เกมการศึกษาท่ีกำหนดข้ึนในแต่ละ
กิจกรรมการเรียนเปล่ียนเป็น หนว่ ยการเรียนรู้
OnHand, Online และ
OnDemand

- ดา้ นการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ

- ด้านการพฒั นาตนเองและ
วชิ าชพี



แบบประเมินข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรบั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย
โรงเรยี นบ้านทบั ผงึ้ สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุโขทยั เขต 2

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวันที่ 1 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2565

➢ ข้อมูลผู้ประเมิน
ชื่อ นางสาวกฤษณวรรณ นามสกลุ ยนตน์ ิยม ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย
สถานศึกษา โรงเรียนบา้ นทับผง้ึ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทยั เขต 2
รับเงินเดือนในอนั ดบั ครผู ชู้ ่วย อัตราเงนิ เดอื น 15,800 บาท

ให้ทำเครื่องหมาย ✓ ในช่องที่ตรงกบั ผลการประเมิน หรอื ใหค้ ะแนนตามระดบั คณุ ภาพ

ส่วนท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง่ (60 คะแนน)
1) ภาระงาน  เปน็ ไปตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด  ไม่เปน็ ไปตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด
2) การปฏบิ ัติงานและผลการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู

ลกั ษณะงานทีป่ ฏบิ ัตติ ามมาตรฐานตำแหนง่ 1 ผลการประเมิน 4
ระดบั การปฏิบัตทิ ่ีคาดหวัง ปฏบิ ตั ิได้
ตำ่ กว่าระดบั ฯ 23 ปฏิบตั ไิ ด้ หมาย
ปรบั ประยกุ ต์(Apply & Adapt) ทีค่ าดหวังมาก ปฏบิ ตั ไิ ด้ ปฏิบตั ิได้ สงู กวา่ ระดบั ฯ
ต่ำกวา่ ระดบั ฯ ตามระดบั ฯ ทคี่ าดหวัง เหตุ
1. ดา้ นการจดั การเรียนรู้ ท่คี าดหวงั ทค่ี าดหวงั
1.1 สรา้ งและหรอื พัฒนาหลกั สูตร

⧫ มีการจัดทำรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วดั หรอื ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสูตรเพ่ือให้
ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะและการเรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ โดยมีการ
ปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และ
ท้องถิ่น

1.2 ออกแบบการจดั การเรยี นรู้
⧫ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ

ประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่สำคัญ ตาม
หลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา ผ้เู รียน และทอ้ งถ่ิน

1. ดา้ นการจัดการเรยี นรู้
1.3 จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

⧫ มีการอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และส่งเสริมผู้เรียนได้
พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และทำงานร่วมกัน โดยมีการปรับ
ประยกุ ต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผ้เู รียน

1.4 สร้างและหรอื พฒั นาส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยแี ละแหล่งเรยี นรู้



ลักษณะงานท่ปี ฏิบัติตามมาตรฐานตำแหนง่ 1 ผลการประเมนิ 4
ระดบั การปฏบิ ัติท่ีคาดหวัง ปฏิบตั ไิ ด้
ตำ่ กว่าระดับฯ 23 ปฏิบตั ไิ ด้ หมาย
ปรับประยุกต์(Apply & Adapt) ทคี่ าดหวังมาก ปฏบิ ตั ไิ ด้ ปฏบิ ตั ิได้ สงู กว่าระดบั ฯ
ต่ำกว่าระดับฯ ตามระดบั ฯ ท่คี าดหวงั เหตุ
⧫มีการสรา้ งและหรือพัฒนาสือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยีและ ทีค่ าดหวงั ทีค่ าดหวงั
แหลง่ เรยี นร้สู อดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยมีการปรบั ประยุกต์ให้
สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนมีทักษะการ
คิด ความกล้าแสดงออกอย่างมีความสุข

1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้
⧫มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย

เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนพัฒนาการ
เรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง

1.6 ศกึ ษา วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ เพอ่ื แก้ปัญหา
หรอื พฒั นาการเรียนรู้

⧫มีการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พฒั นาการเรยี นรู้ทส่ี ่งผลตอ่ คุณภาพผูเ้ รยี น

1.7 จดั บรรยากาศทส่ี ่งเสรมิ และพฒั นาผู้เรียน
⧫มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิด

กระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และ
นวตั กรรม ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี

1.8 อบรมและพฒั นาคณุ ลกั ษณะทีด่ ีของผู้เรียน
⧫มกี ารอบรมบม่ นิสยั ให้ผ้เู รยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอัน

พึงประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยทีด่ งี าม

2. ดา้ นการสง่ เสรมิ และสนับสนุนการจดั การเรยี นรู้
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผ้เู รียนและรายวชิ า

⧫มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวชิ าเพ่ือใช้ในการ
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน

2.2 ดำเนนิ การตามระบบดแู ลช่วยเหลือผ้เู รียน
⧫มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล และประสาน

ความรว่ มมือกับผมู้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง เพ่ือพัฒนา และแกป้ ญั หาผ้เู รียน

2.3 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถาน
ประกอบการ

3. ด้านการพฒั นาตนเองและวิชาชพี

3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้
ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพ่อื การศึกษา
สมรรถนะวิชาชพี ครูและความรอบรใู้ นเนื้อหาวชิ าและวิธกี ารสอน



ลกั ษณะงานทปี่ ฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตำแหน่ง 1 ผลการประเมิน 4
ระดบั การปฏบิ ัตทิ ี่คาดหวัง ปฏบิ ตั ไิ ด้
ต่ำกวา่ ระดบั ฯ 23 ปฏบิ ตั ิได้ หมาย
ปรับประยุกต์(Apply & Adapt) ที่คาดหวงั มาก ปฏบิ ตั ิได้ ปฏบิ ตั ิได้ สูงกว่าระดบั ฯ
ตำ่ กวา่ ระดับฯ ตามระดบั ฯ ที่คาดหวัง เหตุ
3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการ ที่คาดหวัง ที่คาดหวัง
จัดการเรียนรู้

3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและ
วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
และการพฒั นานวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้



แนวทางการศึกษาชั่วโมงในการสอน


Click to View FlipBook Version