กลุ่มที่ 1. ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ สมาชิกกลุ่มที่ 1 1. รหัส 6523009 นภาพร เพ็งสอน 2. รหัส 6523007 ฐิติยา เจนจิโรจพิพัฒน์ 3. รหัส 6523013 เรือตรีหญิง ลลิตา ศรณรงค์ 4. รหัส 6523015 สุพรรณี จิตนารี 5. รหัส 6523016 สุภิญญา โพธิ์เส็ง จัดท าโครงการตามยุทธศาสตร์จ านวน 2 โครงการ โครงการที่1. โครงการ เริ่มไว ปลอดภัย ยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะที่ดี และยั่งยืนจนถึงวัยผู้สูงอายุ 2. เพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้ก้าวทันโลกยุคใหม่ 3. เพื่อสร้างจิตส านึกให้คนในสังคมตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ 4. เพื่อประกันรายได้ของประชาชนเมื่อก้าวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุในอนาคต กิจกรรมโครงการ 1. สร้างจิตส านึกการร่วมมือกันในชุมชน เน้นการส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีต่อผู้สูงอายุ 2. สร้างความตระหนักให้ประชาชนเห็นถึงความส าคัญของการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ 3. จัดให้ความรู้ ค าแนะน า การดูแลสุขภาพทุกช่วงวัยอย่างเหมาะสม เน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้เมื่อก้าวสู่วัยผู้สูงอายุ 4. จัดบริการเชิงรุก โดยการตรวจเช็คสุขภาพประจ าปีตั้งแต่วัยผู้ใหญ่ เพื่อเตรียมความพร้อมชีวิตและการ สร้างเสริมสุขภาวะที่ดีตั้งแต่ปัจจุบันจนถึงอนาคต 5. จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้ทางด้านสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุ การปรับตัวทางด้านสังคมและจิตใจ รวมถึงการประเมินความพร้อมเมื่อก้าวสู่วัยผู้สูงอายุ 6. สนับสนุนด้านการศึกษาเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีทุกช่วงวัย โดยการเพิ่มทักษะการรู้เท่าทันและ การเข้าถึงเทคโนโลยีรวมถึงสื่อดิจิทัล ที่มีคุณภาพสามารถเชื่อถือได้
7. เน้นการให้ครอบครัว ชุมชน มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมในการดูแลผู้สูงอายุ 8. ส่งเสริมการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย การกิน และออกก าลังกายที่เหมาะสมในวัย ที่ก้าวสู่ผู้สูงอายุ 9. จัดการอบรมการให้ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนด้านการเงิน การเลือกในการลงทุนและการออมเพื่อ เตรียมพร้อมเมื่อถึงวัยผู้สูงอายุโดยเฉพาะการลงทุนที่สามารถได้เงินภาษีแทนได้ เช่น RMF , LTF หรือ ประกันแบบบ านาญ เมื่อได้เงินภาษีคืน ก็ให้น าเงินคืนภาษีมาลงทุนต่อเพื่อเพิ่มเติมความมั่งคั่งได้ 10. จัดท ากิจกรรมเพิ่มสมรรถนะคุณภาพชีวิต โดยสร้างกลุ่มหรือสมาคมเน้นการมีสัมพันธภาพและการมีส่วน ร่วมในสังคมของประชาชนที่ก้าวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ 11. ประสานงานในกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อสร้างอาชีพ และการมีรายได้ผู้สูงอายุรณรงค์เรื่องการขยาย อายุเกษียณ เพื่อเพิ่มรายได้และจ านวนคนวัยท างาน ซึ่งช่วยบรรเทาผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ 12. สนับสนุนให้บริษัทจ้างงานผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีงานท าและมีรายได้เพิ่มขึ้น ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลให้แก่บริษัทที่จ้างผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป 13. สนับสนุนให้มีการน าทักษะและประสบการณ์ของผู้สูงอายุมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อเพิ่มทักษะและ การจัดหางานให้เหมาะสมกับแรงงาน จะช่วยเพิ่มความสามารถในการหารายได้และยกระดับ ประสิทธิภาพของแรงงานในระยะยาว 14. จัดการฝึกอบรมแรงงานสูงอายุเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพที่หลากหลายมากขึ้น และมีการ คุ้มครองทางสังคมให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้
โครงการที่2. โครงการ สร้างครอบครัวเป็นสุข วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มอัตราการเกิด ลดสัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากรในอนาคต 2. เพื่อสนับสนุนด้านอนามัยเจริญพันธุ์รวมถึงสิทธิประโยน์ตั้งแต่การตั้งครรภ์จนถึงการเลี้ยงดูบุตร กิจกรรม 1. จัดการเสริมสร้างทัศนคติ ค่านิยมแก่คนรุ่นใหม่ในการสร้างครอบครัวและมีบุตรในวัยอันควร 2. จัดระบบบริการการตรวจสุขภาพก่อนแต่งงานและจัดให้ค าแนะน าการวางแผนก่อนตั้งครรภ์รวมถึงการ รักษาผู้มีบุตรยาก 3. สนับสนุนกิจกรรมส าหรับคนโสดในวัยผู้ใหญ่ได้มาพบปะ พูดคุย เปิดใจในการสร้างสัมพันธภาพ รวมถึง การใช้สื่อดิจิทัลในการสร้างสัมพันธภาพ 4. สนับสนุนการตรวจสุขภาพคู่รักก่อนแต่งงาน และตรวจคัดกรองภาวะมีบุตรยาก เพิ่มสิทธิประโยชน์ในการ รักษาภาวะมีบุตรยาก 5. จัดสรรชุดสิทธิประโยชน์ส าหรับสตรีตั้งครรภ์ โดยเพิ่มสวัสดิการตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอด เช่น การ ลดภาระงานขณะตั้งครรภ์, ขยายระยะเวลาในการลาคลอด, ค่าตอบแทนขณะลาคลอดรวมถึงคู่สมรส สามารถลาเลี้ยงดูบุตรได้ 6. จัดการให้เงินอุดหนุนในการเลี้ยงดูบุตร การช่วยเหลือให้พ่อแม่สามารถท างานและเลี้ยงดูบุตรได้โดยเพิ่ม สถานที่รับเลี้ยงเด็กที่มีคุณภาพ 7. จัดการส่งเสริม สนับสนุนวัฒนธรรมและความเสมอภาคทางเพศให้แก่ประชาชนเพื่อการเสริมสร้าง คุณลักษณะที่ดีในครอบครัว 8. ผลักดันให้รัฐบาลมีมาตรการลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับครอบครัวที่มีเด็ก อายุ 0 - 5 ปีเพื่อแก้ปัญหา ค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 9. ส่งเสริมการจัดตั้งสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย อายุต่ ากว่า 2 ปี เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระในการเลี้ยงดูเด็กอ่อน ก่อนวัยเรียนในเวลากลางวัน ที่พ่อแม่จะต้องออกไปท างานประกอบอาชีพ 10. จัดช่วยเหลือผู้ที่ประสบปัญหาภาวะมีบุตรยากให้เข้าถึงการรักษาในอายุที่น้อยลง เพิ่มโอกาสในการมีลูก มากขึ้น
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติแบ่งยุทธศาสตร์สุขภาพออกเป็น 5 ยุ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ว่าด้วยการส่งเสริม มาตรการ โครงการ 1. ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน การเจ็บป่วย และดูแลตนเอง เบื้องต้น 1. การเข้าถึงข้อมูล สารสนเทศในการ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันกันการเจ็บป่วย และดูแลตนเองเบื้องต้น 2. การส่งเสริม และป้องกันภาวะมวล กล้ามเนื้อลดลงในผู้สูงอายุ 3. สุขภาพดีสร้างเครือข่าย สังคม ดิจิตอล 4. นวัตกรรมเพื่อการเข้าถึงระบบบริการ ในผู้สูงอายุ - ผู้สูงอายุจ ทางผู้สูงอา ป้องกัน รวม - จัดกิจกรร การจัดอาห - สนับสนุน ป้องกันการ - จัดเวทีแล ผู้สูงอายุใน เข้าสู่เวทีระ 2. ส่งเสริมการรวมกลุ่มและ สร้างความเข้มแข็งขององค์กร ผู้สูงอายุ จัดตั้งสังคมสูงวัยออนไลน์ - จัดอบรมก connectio - ส่งเสริมให้ ที่ตนเองสน - พัฒนาชม เพิ่มขึ้น - จัดสมัชชา 3. ส่งเสริมด้านการท างาน และการหารายได้ของผู้สูงอายุ การส่งเสริมการหารายได้จากการเป็น Aging influencer ทางสังคมออนไลน์ - จัดอบรมก จาก tiktok
ทธศาสตร์ ประเด็นส าหรับการวิเคราะห์เพื่อจัดท าโครงการ มและพัฒนาผู้สูงอายุ(6 มาตรการ) กิจกรรม จะต้องได้รับการประเมินภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุอย่างครอบคลุม (CGA) และ กลุ่มอาการ ายุ (geriatric syndrome) ทุกราย เพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพ รวมถึงการส่งเสริมและ มถึงพัฒนานวัตกรรมการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพส าหรับผู้สูงอายุ รมการส่งเสริมและป้องกันการเกิดภาวะมวลกล้ามเนื้อลดลง การประเมินมวลกล้ามเนื้อ หาร วิธีการออกก าลังกายชนิดแรงต้านและยืดหยุ่นที่เหมาะสม นการจัดตั้งแพลตฟอร์มออนไลน์ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในการส่งเสริมสุขภาพ รเจ็บป่วยและการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ ลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุในระดับชุมชน จัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน การดูแลสุขภาพ สนับสนุนให้เกิดการขยายองค์ความรู้ที่ได้จากการท ากิจกรรมยกระดับ ะดับประเทศและนานาชาติผ่านทางแพลตฟอร์มดิจิตอลเพื่อความยั่งยืนและเข้าถึงง่าย การใช้สื่อออนไลน์และแอพพลิเคชั่นในรูปแบบต่าง ๆ จัดกิจกรรมแบบเป็นกลุ่มเพื่อสร้าง on ใหม่ๆให้กับผู้สุงอายุและเรียนรู้ร่วมกัน ห้มีการจัดท าลานกิจกรรมแต่ละชุมชนเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการเลือกเข้ากลุ่มท ากิจกิจกรรม นใจแบบเป็นกลุ่มโดยได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน มรมและโรงเรียนผู้สูงอายุในการเสริมสร้างศักยภาพและคุณค่าในตนเองให้มีความเข้มแข็ง าผู้สูงอายุของแต่ละจังหวัดเพื่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายใหม่ขึ้น การเป็น influencer และ content creator วิธีน าเสนอและการเปิดช่องทางหารายได้ k facebook shopee และ Lazada ได้เองที่บ้าน
มาตรการ โครงการ - แลกเปลี่ย แลกเปลี่ยน - จัดท าสห หน่วยงานท้ - ร่วมมือกับ การเข้าถึงข 4. สนับสนุนผู้สูงอายุที่มี ศักยภาพ ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมทางภูมิ ปัญญา - แลกเปลี่ย บ้านและติด - จัดตั้งโรงเ - จัดกลุ่มท เสริมแรงจูง 5. ส่งเสริมสนับสนุนสื่อทุก ป ระเภทให้มี รายก ารเพื่ อ ผู้สูงอ ายุและสนับสนุนให้ ผู้สูงอ ายุได้ รับค วาม รู้และ สามารถเข้าถึงข่าวสารและสื่อ 1. สูงวัยสนใจข่าวสาร 2. สื่อกลางบ้าน สารการเมือง - ก าหนดใ ระยะเวลาอ - จัดการให้ การแลกเป เครือข่ายสู่ร 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัยและ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม Healthy smart home for older adult - สร้างโมเด และขยายผ - จัดหาองค์ เหมาะสมกั กับผู้สูงอายุ
กิจกรรม ยนประสบการณ์เกี่ยวกับการด้านการเงิน การสร้าง active และpassive income มา นรู้เกี่ยวกับการหารายได้เพื่อสร้างแรงจูงใจและน าไปประยุกต์ใช้ตามความสนใจ หกรณ์เพื่อผู้สูงอายุ โดยให้ผู้สูงอายุมีส่วนในการบริหารจัดการภายในสหกรณ์และมี ท้องถิ่น/ รัฐ ให้การสนับสนุนการด าเนินงาน บองค์กรของภาครัฐและเอกชนให้ด าเนินการอบรมอาชีพในชุมชนเพิ่มขึ้นเพื่อให้เกิด ของผู้สูงอายุส าหรับผู้สูงอายุที่สนใจหารายได้ ยน สร้างแรงจูงใจ สร้างแกนน าผู้สูงอายุ โดยผู้สูงอายุกลุ่มที่ติดสังคมดูแลกลุ่มผู้สูงอายุติด ดเตียงเพื่อเพิ่มคุณค่าในตนเองและพัฒนาจิตใจ เรียนประสบการณ์ชีวิต ในการเรียนรู้วิถีใหม่ทั้งด้านการใช้ชีวิตและเทคโนโลยี ากิจกรรมภูมิปัญญาให้เกิด 1 ชมรม 1 ผลิตภัณฑ์และงานประกวดนวัตกรรมเพื่อสร้าง งใจและศักยภาพของผู้สูงอายุ ห้สถานีโทรทัศน์มีการน าเสนอรายการเพื่อผู้สูงอายุ อย่างน้อย 1 รายการต่อสถานีโดยมี ออกอากาศอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละไม่ต ่ากว่า 30 นาที ้ข่าวสารสุขภาพรูปแบบเสียงตามสายและวิทยุส าหรับผู้สูงอายุในชุมชน จัดสร้างเครือข่าย ปลี่ยนเรียนรู้ข่าวสารร่วมกันระหว่างศูนย์ข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ และพัฒนาเชื่อมโยง ระดับอ าเภอ จังหวัด และ ประเทศ ดลที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะส าหรับผู้สูงอายุภายใต้วิถีไทย เพื่อเป็นต้นแบบ ผลของโมเดลไปยังพื้นที่ข้างเคียง ค์กรภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนในการสนับสนุนการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมให้ ับผู้สูงอายุโดยเน้นการใช้เทคโนโลยีในการอ านวยความสะดวกที่เหมาะสมและปลอดภัย ยุ
รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 4 1. รหัส 6523004 นางสาวจิราวรรณ วิทยานุกรณ์ 2. รหัส 6523006 นางสาวชนินทร เกลี้ยงดา 3. รหัส 6523011 นางสาวบุณยาพร กลิ่นเพ็ชร์ 4. รหัส 6523014 นางสาวสมปราถนา วิจิตระกะ
1 Home Exam นโยบายและแผนสุขภาพของประเทศกับพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป พยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ รศ.ดร.ปิยะธิดา นาคะเกษียร 3. ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุประกอบด้วย 4 มาตรการ โดยแต่ละมาตรการมี โครงการ/กิจกรรม และตัวชี้วัดที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ดังนี้ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด 1. มาตรการคุ้มครองด้านรายได้ 1.1 ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุทุกคนได้รับสวัสดิการด้านรายได้พื้นฐานที่ รัฐจัดให้ ผู้สูงอายุที่ได้รับรายได้ที่รัฐจัดให้เป็นรายเดือน ร้อย ละ 90 1.2 ส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนในชุมชนสำหรับผู้สูงอายุ ชุมชนมีกองทุนที่มีวัตถุประสงค์ครอบคลุมกลุ่ม ผู้สูงอายุ ร้อยละ 50 2. มาตรการหลักประกันด้านสุขภาพ 2.1 พัฒนาและส่งเสริมระบบประกันสุขภาพที่มีคุณภาพเพื่อ ผู้สูงอายุทุกคน ผู้สูงอายุใช้ระบบประกันสุขภาพในการเจ็บป่วยครั้ง สุดท้ายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2.2 ส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางสุขภาพและการตรวจสุขภาพ ประจำปีอย่างทั่วถึง ผู้สูงอายุได้รับการประเมินคัดกรองสุขภาพ ร้อยละ 80 2.3 ให้วัคซีนที่จำเป็นตามมาตรฐาน การป้องกันและส่งเสริม สุขภาพแก่ผู้ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุได้รับวัคซีนที่จำเป็นจากสถานบริการ สุขภาพของรัฐ ร้อยละ 80 2.4 รัฐต้องให้อุปกรณ์ช่วยในการดำรงชีวิตประจำวันตามที่ จำเป็น เช่น แว่นตา ไม้เท้า รถเข็น ฟันเทียมแก่ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุได้เดินไม่ได้และได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือ ร้อยละ 50 3. มาตรการด้านครอบครัว ผู้ดูแล และการคุ้มครอง 3.1 ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้อยู่กับครอบครัวให้นานที่สุด โดยการ ส่งเสริมค่านิยมในการอยู่ร่วมกับผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุอยู่กับครอบครัวอย่างน้อย ร้อยละ 80 3.2 ส่งเสริมสมาชิกในครอบครัวและผู้ดูแลให้มีศักยภาพในการ ดูแลผู้สูงอายุ โดยการให้ความรู้และข้อมูลแก่สมาชิกในครอบครัว และผู้ดูแลเกี่ยวกับการบริการต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรอบรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ 80 4. มาตรการระบบบริการและเครือข่ายการเกื้อหนุน 4.1 ปรับปรุงบริการสาธารณะทุกระบบให้สามารถอำนวยความ สะดวกแก่ผู้สูงอายุในการดำรงชีวิตและติดต่อสัมพันธ์กับสังคม และกลุ่มบุคคล ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อระบบบริการสาธารณะ ทุกระบบ ร้อยละ 70
2 โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด 4.1.1 ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุทราบถึงอัตราค่า โดยสารของระบบขนส่งสาธารณะ และระบบขนส่งมวลชนต่างๆ ที่ลดหย่อนให้แก่ผู้สูงอายุ 4.1.2 ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงบริการระบบขนส่งสาธารณะ ทุกประเภทให้ผู้สูงอายุเข้าถึง และใช้ได้อย่างสะดวกเหมาะสมกับ ผู้สูงอายุตลอดระยะเวลาให้บริการโดยมีการประกาศเกียรติคุณ แก่หน่วยงานบริการที่มีผลงานดีเด่น 4.1.3 ส่งเสริมให้ภาครัฐและภาคเอกชนที่รับผิดชอบสถานที่ สาธารณะปฏิบัติตามมาตรฐานสถานที่สาธารณะสำหรับผู้สูงอายุ 4.1.4 จัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่ใช้ได้จริงในที่สาธารณะแก่ ผู้สูงอายุ เช่น ถนน ทางเดินสาธารณะในเขตชุมชน สะดวก เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุและผู้พิการ 4.1.5 จัดให้มีสวนสาธารณะและพื้นที่ออกกำลังกายที่เพียงพอ และเหมาะสมปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ 4.2 จัดตั้งและพัฒนาบริการทางสุขภาพและทางสังคม รวมทั้ง ระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวในชุมชนที่สามารถเข้าถึง ผู้สูงอายุมากที่สุด โดยเน้นบริการถึงบ้านและมีการสอด ประสานกันระหว่างบริการทางสุขภาพและทางสังคม โดย ครอบคลุมบริการดังต่อไปนี้ 4.2.1 สนับสนุนการดูแลระยะยาว 4.2.2 ระบบประคับประคอง 4.2.3 ดูแลโรคเรื้อรังที่สำคัญ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหลอดเลือดในสมอง 4.2.4 อาสาสมัครในชุมชน 4.2.5 สนับสนุนให้ผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถในการดูแล ผู้สูงอายุ ทุกตำบลมีบริการสำหรับผู้สูงอายุ ดังรายละเอียด ย่อยต่อไปนี้ ร้อยละ 70 4.3 ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรทางศาสนา องค์กรเอกชน และองค์กรสาธารณะประโยชน์มีส่วนร่วมในการ ดูแลสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุโดยกระบวนการประชาคม หน่วยงานภาครัฐมีการจัดงบประมาณหรือจัด กิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุ ร้อยละ 95 4.4 เกื้อหนุนให้เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดบริการด้านสุขภาพและสังคมให้แก่ผู้สูงอายุที่สามารถซื้อ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีการออกมาตรการ เกื้อหนุนสำหรับผู้สูงอายุร้อยละ 90
3 โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด บริการได้ โดยมีการดูแลและกำกับมาตรฐานและค่าบริการที่เป็น ธรรมร่วมด้วย 4.5 รัฐบาลมีระบบและแผนเพื่อการให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุ เมื่อเกิดภัยพิบัติ หน่วยงานภาครัฐมีแผนปฏิบัติการและงบประมาณ สำหรับให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบภัยพิบัติ 4.6 ส่งเสริมให้โรงพยาบาลของรัฐ และเอกชนมีบริการแพทย์ ทางเลือก โรงพยาบาลของรัฐ และเอกชนมีบริการแพทย์ ทางเลือก ร้อยละ 70 4.7 จัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุในโรงพยาบาลของรัฐที่มีจำนวนเตียง ตั้งแต่ 120 เตียงขึ้นไป โรงพยาบาลรัฐที่มีจำนวนเตียงตั้งแต่120 เตียงขึ้น ไป มีคลินิกผู้สูงอายุ ร้อยละ 95 สมาชิกกลุ่ม 1. รหัส 6523003 นางสาวกิจติยาภรณ์ ซาวหล้า 2. รหัส 6523008 นางสาวธัญพิมล บุญมาก 3. รหัส 6523010 นางสาวนิภาวรรณ ดีปรีชา 4. รหัส 6523017 ดร.สุรีพร ชุมแดง 5. รหัส 6523018 นางสาวอารีรัตน์ นิลไทย
กลุ่ม 3 6523001 กรกนก นาเครือ, 6523002 ร.ท.หญิง กรกนก ม่วงศิลป์, 6523005 ชนม์นิภา พิมโคตร, 6523012 น.ต.หญิง มัทนา อุดมสินค้า ยุทธศาสตร์ที่4 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณาการระดับชาติ และการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ มาตรการ ตัวชี้วัด กิจกรรม 1.มาตรการการบริหารเพื่อการพัฒนางานด้าน ผู้สูงอายุอย่างบูรณาการระดับชาติ - คณะกรรมการ ผู้สูงอายุแห่งชาติมีการผลักดัน นโยบายด้านผู้สูงอายุลงสู่การปฏิบัติทุก หน่วยงาน - คณะกรรมการการส่งเสริมการจัดสวัสดิการ สังคมจังหวัด จัดให้อนุกรรมการส่งเสริมการจัด สวัสดิการสังคมด้านผู้สูงอายุจังหวัดเป็น เครือข่ายการบริหารและพัฒนาผู้สูงอายุใน ระดับท้องถิ่นทุกจังหวัด -พัฒนาศักยภาพเครือข่ายในระดับจังหวัดและ ท้องถิ่น -ทุกหน่วยงานหลักที่ด าเนินงานด้าน ผู้สูงอายุมีรายงานความก้าวหน้าของการ ท างานต่อที่ประชุมคณกรรมการผู้สูงอายุ แห่งชาติ1 ครั้ง/ปี -โครงการที่รายงานผลด าเนินการต้องมี ความส าเร็จตามตัวชี้วัดอย่างน้อย70% -อนุกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการ สังคมด้านผู้สูงอายุจังหวัดส่งรายงานการ ด าเนินงานผู้สูงอายุ 1ครั้ง/ปี -ผู้สูงอายุในท้องถิ่นต้องได้รับการ ตรวจสอบสิทธิสวัสดิการ และได้รับการ จัดสรรสวัสดิการที่เหมาะสมไม่น้อยกว่า 50%ของจ านวนประชากรในท้องถิ่นนั้นๆ -มีกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของ เครือข่ายในระดับจังหวัด และในท้องถิ่น ทุกจังหวัดปีละ 1 ครั้ง -ทุกหน่วยงานที่ดูแลผู้สูงอายุ ส่ง แผนการด าเนินงานและผลการ ด าเนินงานประจ าปีด้านผู้สูงอายุ -จัดท าโครงการและจัดสรร งบประมาณในการด าเนินงานด้าน ผู้สูงอายุกับทุกภาคส่วน -นโยบายสนับสนุนขวัญก าลังใจโดย หากโครงการไหนที่หน่วยงานท าเพื่อ ผู้สูงอายุแล้วส าเร็จ จะได้รับรางวัลการ ประเมินดีเด่น และเพิ่มงบประมาณ เพื่อด าเนินโครงการต่อ -มีการจัดสรรงบประมาณให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดท า โครงการโดยเฉพาะการเตรียมความ พร้อมเพื่อวัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ -ตั้งคณะกรรมการเพื่อตรวจสอบ สวัสดิการผู้สูงอายุว่าในท้องถิ่น มีผู้ ขาด/ไม่ได้รับสวัสดิการที่ควรได้รับ หรือไม่ และประสานงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับสิทธิ ประโยชน์ -มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนา ศักยภาพกับเครือข่าย -ให้ท้องถิ่นจัดอบรมสัมนาด้านผู้สูงอายุ โดยทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อในท้อง ถิ่มมาร่วมกัน
-คณกรรม ผู้สูงอายุแห่งชาติวางแผนให้มีการ ติดตามประเมินผลแผนผู้สูงอายุ ปรับแผน และ ลงสู้การปฏิบัติ -มีการปรับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติทุก 5 ปี -จัดงานประชุม เพื่ออภิปรายผลการ ด าเนินงานด้านผู้สุงอายุตามแผน ประจ าปีงบประมาณ และรับฟังความ คิดเห็นและข้อเสนอแนะของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อน ามาปรับปรุงนแผน มาตรการ ตัวชี้วัด กิจกรรม 2.มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา บุคลากรด้านผู้สูงอายุ -ส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมบุคลากรทางการ แพทย์ ให้มีความเชี่ยวชาญด้านผู้สูงอายุอย่างพี ยงพอและมีมาตรฐาน -ส่งเสริมให้ผู้ดูแลได้รับการอบรมด้านผู้สูงอายุ -คณะกรรมการ ผู้สูงอายุแห่งชาติมีการก าหนด แผนการผลิตบุคลากรด้านผู้สูงอายุอย่าง เหมาะสมเพียงพอต่อความต้องการ มีการ ด าเนินงานติดตามอย่างต่อเนื่อง -ในสถานพยาบาลให้มีบุคลากรทาง การแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านผู้สูงอายุ อย่างน้อย1คน -ก าหนดให้ในชุมชนมีอัตราส่วนผู้ดูแล ที่ ผ่านการอบรมด้านผู้สูงอายุ 1:5 -ก าหนดแผนการผลิตฝึกอบรมทุก 5 ปี อย่างต่อเนื่อง -จัดสรรงบประมาณเพื่อโครงการอบรม บุคลากรทางการแพทย์ -รณรงค์ให้หน่วยงานต่างๆที่มีส่วน เกี่ยวข้อง จัดท าหลักสูตรเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านผู้สูงอายุ -คณะกรรมการ ผู้สูงอายุแห่งชาติมีการ ก าหนดแผนการผลิตบุคลากรด้าน ผู้สูงอายุทุก 5 ปีและมีการติดตามผล อย่างต่อเนื่อง -ให้กระทรวงต่างๆที่เกี่ยวข้องสั่งการให้ หน่วยย่อยมีการวางแผนการส่ง บุคลากรไปฝึกอบรม -ติดตามประเมินผลการด าเนินงานด้าน บุคลากร